แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โตดนุ้ยรักษ์ถิ่น - เล - ป่า

รหัสโครงการ 55-01814 รหัสสัญญา 55-00-1057 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
  • เยาวชนเกาะโดตถึงแม้เป็นเด็กชาวเกาะแต่ถูกเลี้ยงด้วยระบบพ่อแม่สมัยใหม่ไปโรงเรียนในช่วงเวลากลางวัน เสาร์อาทิตย์ดูทีวีและขี่จักรยานเล่นไม่ค่อยมีการช่วยพ่อแม่ทำงานดังนั้นจึงไม่มีความรู้เชิงลึกในเรื่องทรัพยากรป่าชายเลน เมื่อได้มีการสำรวจป่าชายชายเลนทำให้เด็กๆมีองค์ความรู้เชิงลึกในเรื่องป่าชายเลนมากขึ้น เช่น ชื่อพันธุ์ไม้พื้นถิ่นและชื่อสามัญของพันธุ์ไม้ป่าชายเลน พันธุ์สัตว์ทะเล นก งู
  • รายงานการสำรวจป่าชายเลน
  • รายงานที่เด็กๆมาเล่าผลการสำรวจให้ผู้ใหญ่ฟังที่มัสยิด
  • พัฒนาเป็นคู่มือป่าชายเลนของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
  • โรงเพาะชำกล้าไม้โกงกาง  ปกติโกงกางปลูกได้ 2 วิธีคือ การปลูกด้วยฝักและการนำฝักไปเพาะชำเป็นต้นกล้า ซึ่งวิธีหลังจะแน่นอนกว่าในเรื่องการติดต้นกล้า แต่จะยุ่งยากกว่า  แต่กลไกการทำโรงเพาะชำเป็นกลวิธีในการที่ผู้ต้องการตัดไม้โกงกางจะต้องมาเบิกต้นกล้าไปปลูกทดแทน  อีกทั้งกระบวนการเก็บฝัก การเพาะชำเป็นการปลูกจิตสำนึกให้เด็กและผู้ใหญ่มีจิตอาสา จิตอนุรักษ์ไปด้วยพร้อมกัน
  • บ่ออนุบาลปูไข่  เดิมธนาคารปูไข่ที่เคยดำเนินการใช้บ่อธรรมชาติคือการกั้นอวนที่ริมชายฝั่งแต่โครงการนี้ กรรมการคิดที่จะทำบ่ออนุบาลด้วยถังกวนปูน เพื่อควบคุมปูไข่จนกว่าจะสลัดไข่และจับคืนให้กับสมาชิกที่มาปล่อยปูไข่ไว้จากนั้นจึงนำลูกปูไข่ไปปล่อยลงทะเล
  • ภาพเรือนเพาะชำกล้าไม้/กิจกรรมเพาะชำ
  • ภาพบ่ออนุบาลปูไข่/กิจกรรมปล่อยปูไข่ลงบ่อ
  • ตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้การเพาะชำกล้าโกงกาง ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ไม่ต้องขอกล้าพันธุ์จากหน่วยป่าชายเลน
  • ตั้งเป็นศุนย์เรียนรู้ธนาคารปูไข่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
  • เกิดกระบวนการทำงานร่วมกัน ระหว่างกลุ่มต่างๆของชุมชน ได้แก่  เด็กเยาวชน กลุ่มธนาคารปูไข่ แม่บ้าน ผู็นำศาสนา จากเดิมที่ต่างคนต่างอยู่ต่างทำภาระกิจของตน
  • จากเวทีที่พี่เลี้ยงลงไปถอดบทเรียน ชาวบ้านสูงอายุคนนึงบอกว่า "พอทำโครงการนี้ทำให้เราได้ประชุมกันบ่อย ได้คุยกันบ่อย รู้สึกว่าได้ใกล้ชิดกันมากขึ้น มีปัญหาก็เอามาคุยกัน อย่างเรื่องการปล่อยแพะไปกินต้นไม้ชาวบ้าน ก็มาวางข้อตกลงกัน"
  • ต่อยอดเป็นสภาชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
  • เกิดวิธีการทำงาใหม่ของกลุ่มธนาคารปูไข่ จากที่เคยจัดตั้งมาแล้ว  1 ครั้ง คราวนี้มีวิธีการทำงานใหม่ ได้แก่ กลไกการประชุมทุกเดือน การรวบรวมข้อมูลปูไข่  การลงแรงร่วมกันทำงาน
  • รายงานประชุมกลุ่ม ข้อมูลปูไข่
  • ต่อยอดวิธีการทำงานไปยังกลุ่มอื่นๆ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
  • ศุูนย์เรียนรู้ โรงเพาะชำกล้าไม้
  • ศูนย์เรียนรู้ กลุ่มธนาคารปูไข่
  • โรงเพาะชำกล้าไม้
  • บ่ออนุบาลธนาคารปูไข่
  • เชิญหมู่บ้านอื่นมาศึกษาดูงาน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
  • การจัดการป่าชายเลน โดยมีทั้งการป้องกัน อนุรักษ์ พัฒนา และฟื้นฟู
  • การจัดการขยะริมชายฝั่ง และในครัวเรือน
  • กิจกรรมสำรวจ/ศึกษาป่าชายเลน ปลูกป่า เพาะชำกล้าไม้
  • กิจกรรมเก็บขยะริมทะเล ในหมู่บ้าน รณรงค์  ให้องค์ความรู้การจัดการขยะ และธนาคารขยะ
  • ต่อยอดเป็นศูนย์เรียนรู้ในพื้นที่เกาะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
  • ครอบครัวอบอุ่นขึ้นเมื่อพ่อ แม่ ลูก ปู่ย่า ตายายได้มาทำกิจกรรมร่วมกัน สิ่งที่ผู้ใหญ่ในชุมชนชอบมากคือ การที่เด็กๆมาเล่ากิจกรรมที่เด็กๆได้ไปทำมาในเวทีหลังการละหมาดวันศุกร์
  • รายงาน/ภาพกิจกรรมของโครงการ
  • ชาวเกาะที่มีตามทะเบียนประชกร 300 คน แต่อยู่ที่เกาะประมาณแค่ 100 คน เมื่อมีกิจกรรมดีๆที่คน 100 คนเห็นว่าเกิดครอบครัวอบอุ่น จึงมีแนวคิดร่วมกันในการจัดวันครอบครัวอบอุ่น โดยชักชวนให้ชาวบ้านที่ไปทำงานบนฝั่งกลับมาทำกิจกรรมร่วมกัน เช่น วันฮารีรายา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
  • กลุ่มธนาคารปูไข่ การทำแนวเขตจับปู การทำกติกาจับปู ทำให้จับปูไข่ได้มากขึ้น รายได้มากขึ้น
  • รายงาน/ภาพกิจกรรมของโครางการ
  • ต่อยอดเป็นศูนย์เรียนรู้ธนาคารปูไข่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
  • กติกาหมู่บ้านในการจับ/จัดการขยายพันธุ์ปูไข่
  • ระเบียบข้อบังคับธนาคารปูไข่
  • การกำกับดูแลข้อบังคับ มาตรการทางสังคมให้เกิดความต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
  • กติกาหมู่บ้านในการอนุรักษ์ป่าชายเลน
  • มาตรการทางสังคมเรื่องการอนุารักษ์ป่าชายเลน
  • การกำกับดูแลข้อบังคับ มาตรการทางสังคมให้เกิดความต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
  • มีการประสานงานหลักๆ  3 ส่วนได้แก่ ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำศาสนา และกลุ่มแม่บ้าน โดยมีเด็กๆเข้ามาร่วมกิจกรรมทุกครั้ง
  • รายงานกิจกรรม/ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
  • ระหว่างการทำกิจกรรมโครงการที่มีการประชุมกลุ่มแกนนำโครงการเริ่มมีการนำปัญหาอื่นๆของชุมชนมาปรึกษากัน เช่น ปัญหาการปล่อยแพะไปกัดกินพืชผลเพื่อนบ้านนำไปสู่กติกาของหมู่บ้าน  ปัญหาขยะเศษเปลือกหอยที่ติดมากับอวนนำไปสู่การจัดเวทีหาทางออกแต่ยังไม่สิ้นสุดกระบวนการ
  • กิจกรรมโครงการมีการทำงานบนแนวคิด PDCA เรื่องธนาคารปูไข่ โดยเริ่มจากปัญหาของกลุ่มที่เคยล้มเหลวสู่การกำหนดกระบวนการทำงานใหม่อย่างรัดกุม  มีการเก็บข้อมูลปูไข่ที่จับได้เพื่อปเปรียบเทียบผลงาน ซึ่งอยู่ในกระบวนการอยู่ยังไม่สามารถประเมินผลได้
  • รายงานถอดบทเรียนของพี่เลี้ยง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
  • กลุ่มแม่บ้านมีการขอทุนจากแหล่งอื่นมาเสริมกิจกรรมธนาคารขยะ
  • รายงานกิจกรรมลดการทิ้งขยะลงทะเล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
  • การสำรวจป่าต่อเนื่องทุกเดือน
  • เก็บขยะต่อเนื่องทุกเดือน
  • เก็บข้อมูลปูที่จับได้ทุกวัน
  • รายงานกิจกรรมโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
  • การจัดการความรู้เรื่องป่าชายเลนจากรุ่นพ่อแม่ปู่ย่าสู่รุ่นลูกรุ่นหลาน
  • การจัดการความรู้เรื่องวงจรชีวิตปูม้าไข่นอกกระดอง
  • รายงานกิจกรรมโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
  • การใช้ข้อมูลปูที่จับได้ สู่การปรับกติกาให้สมาชิกนำปูไข่มาส่งธนาคารให้เพิ่มมากขึ้นในรอบ 15 วัน
  • ข้อบังคับธนาคารปูไข่

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
  • ภูมิใจที่สามารถดึงการมีส่วนร่วมจากกลุ่มหลักๆให้มาทำงานร่วมกัน
  • รายงานกิจกรรมถอดบทเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
  • การร่วมคิด ปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับธนาคารปูไข้ โดยไม่นำปูไข่ไปขายทั้งหมดต้องเก็บไปให้ธนาคารส่วนหนึ่งอย่างสม่ำเสมอ และไม่ใช้เครื่องมือที่ห้ามจับปู
  • รายงานกิจกรรมโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
  • การใช้ภูมิปัญญาเรื่องวงจรชีวิตปูไข่มากำหนดระเบียบข้อบังคับธนาคารปูไข่
  • ข้อบังคับธนาคารปูไข่

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

ธนาคารปู