แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาสวัสดิการชุมชนจากกองทุนขยะ

รหัสโครงการ 55-01790 รหัสสัญญา 55-00-0988 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะเปียกที่ใช้เปลือกผลไม้เปรียว เช่น สัปรด เปลือกมะนาว หรือผลมะกรูด ทำการหมักใช้เวลา 3เดือน โดยน้ำหมักดังกล่าวสามารถนำมาเป็นส่วนผสมสร้างผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ใช้ในครัวเรือน เช่น ซักผ้า,ล้างจาน,ล้างห้องน้ำ ,ปุ๋ย ทำให้ช่วยลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ตลอดจนนำไปสู่การจัดการขยะเปียกและการมีสุขอนามัยที่ดี

-รายงานในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

-กลุ่มธนาคารขยะบ้านคลองข่า หมู่ที่ 1ต.นาทับ อ.จะนะ จ.สงขลา

สร้างผลิตภัณฑ์โดยเฉพาะน้ำยาล้างจานจำหน่ายในชุมชนในราคาถูก  เพื่อลดปัญหาขยะเปียกในครัวเรือน สร้างกลุ่มในรูปแบบกองทุนที่มีการคืนกำไรให้กับสมาชิก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

1.ลงพื้นที่รวบรวมข้อมูลสถานการณ์ขยะ จำนวน 130 ครัวเรือน  ครอบคลุม 2 หมู่บ้าน คือบ้านคลองข่า ม.1 และบ้านคลองสอง ม.14 ต.นาทับ อ.จะนะ จ.สงขลา

2.สังเคราะห์ข้อมูล  จัดทำเป็นสื่อเอกสารแผ่นพับเผยแพร่ความรู้ให้กับชุมชนได้รับรู้ปัญหาและสถานการณ์ขยะ

3.สื่อสารประชาสัมพันธ์เดินรณรงค์ในการจัดการขยะในพื้นที่โดยเด็กเยาวชนโรงเรียนตาดีกา

4.การใช้มิติทางศาสนาอิสลามแสดงธรรมในวันศุกร์ "ความสะอาดเป็นส่วนหนึ่งของความศรัทธา " ในวิถีของชุมชนมุสลิม
สร้างความตระหนักจากภายในจิตใจ ลด แยกขยะ

-ชุดแผ่นพับความรู้สถานการณ์ขยะชุมชน "นัดศุกร์"

-รายงานเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

-รายงานฉบับสมบรณ์ ส.3

อสม.,กลุ่มแม่บ้าน, ครู
,เป็นแกนนำในการขับเคลื่อนการจัดการขยะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

1.การประชุมอย่างต่อเนื่องในการสร้างแกนนำทั้งกลุ่มผู้หญิง อสม.ผู้นำศาสนา ,คณะครูโรงเรียนตาดีกา ในการขับเคลื่อนกิจกรรมและกระบวนการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ

2.ให้ความรู้ปลูกฝังการมีวินัยในการทิ้งขยะ ในกลุ่มเด็กเยาวชนโรงเรียนตาดีกาที่เป็นเด็กเล็ก ซึ่งจะเป็นแรงผลักดันไปสู่ความร่วมมือระหว่างเด็กและผู้ปกครองที่บ้าน

3.การจัดตั้งกลุ่มแกนนำธนาคารขยะบ้านคลองข่า ม.1 และบ้านคลองสอง ม.14 ต.นาทับ อ.จะนะ จ.สงขลา เพื่อเป็นกลไกขับเคลื่อนการจัดการขยะของชุมชน

4.การเดินรณรงค์การจัดการขยะโดยเด็กนักเรียนโรงเรียนตาดีกา  ในชุมชน เช่น การละหมาดวันศุกร์ ,หลักคำสอนในศาสนาอิสลาม"ความสะอาดเป็นส่วนหนึ่งของความศรัทธา "

-รายงานในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

-แผ่นพับความรู้เผยแพร่สถานการณ์ขยะของชุมชน นัดศุกร์

-รายงานฉบับสมบรูณ์ ส.3

การประชุมของหมู่บ้านจะมีวาระการพูดคุย การจัดการขยะในชุมชนทุกครั้งเพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นของคนในชุมชน เพื่อนำไปสู่การวางแผน และยุทธศาสตร์ของ อบต.ในพื้นที่ตำบลนาทับ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

1.นักเรียนโรงเรียนตาดีกา

2.กลุ่มกองทุนธนาคารขยะบ้านคลองข่า หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 14

กลุ่มกองทุนธนาคารขยะ บ้านคลองข่า หมู่ที่ 1 ต.นาทับ อ.จะนะ จ.สงขลา

สร้างศูนย์การเรียนรู้และติดตั้งเทคโนโลยีการจัดการขยะในชุมชน จำนวน 1 แห่ง ในการเผยแพร่ความรู้ให้กับคนในชุมชนและในพื้นที่ชุมชนใกล้เคียง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

1.ครัวเรือนมีความรู้ในการแยกขยะ และการจัดการขยะในพื้นที่ เช่น การเก็บขยะแห้งและการจัดการขยะเปียก

2.คนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการทิ้งขยะในพื้นที่ชุมชน เช่น ถนน โรงเรียน มัสยิด ตลาดนัด ฯ

-รายงานในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

ครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรมคัดแยกขยะ ครอบคลุมทุกครัวเรือน จำนวน 120 ครัวเรือน ของหมู่ที่ 1 บ้านคลองข่า

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ชุมชนมีการประชาสัมพันธ์การจัดการขยะผ่านหอกระจายเสียงของชุมชน และพูดแสดงธรรมในวันศุกร์

-การแสดงธรรมอุตบะฮ์ในทุกวันศุกร์

-รายงานในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

มีการประชาสัมพันธ์เสียงตามสายทุกเช้า และ ประชาสัมพันธ์แสดงธรรมทุกวันศุกร์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

1.การจัดการขยะแห้ง เช่น ขวดน้ำพลาสติก  เก็บรวมเพื่อขายให้กับร้านรับซื้อของเก่า ทำให้ครัวเรือนมีรายได้เพิ่มขึ้น และเกิดกองทุนขยะในชุมชน

-จุดรับฝากขยะ ของธนาคารขยะบ้านคลองข่า หมู่ที่ 14

-รายงานในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

ขยายเพิ่มที่เก็บขยะแห้งเป็น  2 จุด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

การจัดตั้งกลุ่มกองทุนขยะในชุมชนบ้านคลองข่า ที่เริ่มจากการรับฝากขยะประเภทขวดพลาสติก เพื่อลดขยะในชุมชน และการสร้างรายได้ให้กับชุมชน

-บันทึกรายรับจากการขายขยะและการบริจาคขยะในแต่ละครั้ง ของ กองทุนธนาคารขยะบ้านคลองข่า

เกิดกลุ่มธนาคารขยะ 2 แห่ง คือ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 14 บ้านคลองข่า ต.นาทับ อ.จะนะ จ.สงขลา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

1.การประชาสัมพันธ์ ลด แยกขยะ ทุกวันศุกร์

2.เวทีประชุมของหมู่บ้านคลองข่า หมู่ที่ 1

 

ดำเนินกิจกรรมการจัดการขยะอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นแรงกระตุ้นสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เกิดการร่วมมือกับกลุ่มการจัดการขยะฐานศูนย์ของชุมชนปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ในการเป็นพี่เลี้ยง  ให้คำแนะนำ

ใบลงทะเบียนเข้าร่วมอบรมการคัดแยกขยะและการศึกษาดูงานการจัดการขยะฐานศูนย์ของชุมชนปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

-ดำเนินกิจกรรมการจัดการขยะอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นแรงกระตุ้นสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

-สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในส่วนขององค์กรในพื้นที่ เช่น อบต. โรงเรียน,ชุมชน,ฯลฯ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

1.การใช้วิธีการลงพื้นที่สำรวจสถานณ์การณ์ขยะในชุมชน  เพื่อนำไปสู่การวางแผนการแก้สถานการณ์ปัญหาขยะของชุมชน

2.การใช้แผ่นพับความรู้ เป็นสื่อให้ชุมชนรับรู้ข้อมูลขยะในชุมชน

3.เดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์การลด แยกขยะ ตลาดนัดวันศุกร์ ของชุมชนบ้านคลองข่า ซึ่งเป็นตลาดชุมชนที่คนทั้งในชุมชนและนอกชุมชนเข่ามาใช้บริการ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความร่วมมือในการทิ้งขยะอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

-แผ่นพับข้อมูลการสำรวจขยะชุมชน

-ไวนิวส์รณรงค์การคัดแยกขยะ

-รายงานฉบับสมบรูณ์ ส.3

-รายงานเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

-สื่อไวนิวส์รณรงค์ ลด แยกขยะ ติดประกาศในพื้นที่ชุมชน เช่น มัสยิด โรงเรียน ตลาดนัดในชุมชน

-สร้างศูนย์การเรียนรู้และติดตั้งเทคโนโลยีการจัดการขยะในชุมชน จำนวน 1 แห่ง ในการเผยแพร่ความรู้ให้กับคนในชุมชนและในพื้นที่ชุมชนใกล้เคียง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

1.ทรัพยากร คน  เช่น นักเรียนโรงเรียนตาดีกา ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กเล็กที่มีอายุระหว่าง 8-12 ปี กลุ่ม อสม. ผู้นำศาสนา เป็นสื่อประชาสัมพันธ์การแยกขยะทั้งในครัวเรือน และชุมชน

-รายงานเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

-รายงานฉบับสมบรูณ์ ส.3

ดำเนินกิจกรรมการจัดการขยะอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นแรงกระตุ้นสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของแกนนำชุมชนนักเรียนโรงเรียนตาดีกา ,คณะครู ,แม่บ้าน ,เจ้าหน้าที่ สกว. ในการวางแผนการทำงานร่วมกัน

การประชุมวางแผนการทำงาน ของแกนนำชุมชน,เจ้าหน้าที่ สกว. ในการทำงานร่วมกัน

ดำเนินกิจกรรมการจัดการขยะอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นแรงกระตุ้นสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

การประชาสัมพันธ์เดินรณรงค์การลดขยะและการไม่ทิ้งขยะในพื้นที่ชุมชนผ่านเสียงตามสายและการแสดงธรรมในวันศุกร์

-ความสะอาดของชุมชน

-การมีวินัยในการทิ้งขยะ

-รายงานในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาขยะในชุมชน และให้แกนนำชุมชนสะท้อนสิ่งที่เห็นและการหาแนวทางออกร่วมกัน  จนนำไปสู่การตัดสินใจในการจัดการขยะ 2 ประเภท คือ ขยะแห้ง และขยะเปียก

-ความสะอาดของชุมชน

-การมีวินัยในการทิ้งขยะ

-รายงานในเว้ปไซร์คนใต้สร้างสุข

สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในส่วนขององค์กรในพื้นที่ เช่น อบต. โรงเรียน,ชุมชน,ฯลฯ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

การมีส่วมร่วมของคนในชุมชน ทั้งเด็ก แม่บ้าน แกนนำชุมชน  ฝ่ายปกครอง ในการช่วยกันทำกิจกรรม เช่น การเดินรณรงค์ลดการทิ้งขยะ การศึกษาดูงาน การอบรมฝึกคัดแยกขยะ  ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวทำให้คนในชุมชนเกิดความตระหนัก และมีความรู้ในการแยกขยะ

-รายงานในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

-ความสะอาดของชุมชน

-การมีวินัยในการทิ้งขยะ

ดำเนินกิจกรรมการจัดการขยะอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นแรงกระตุ้นสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

สำรวจปริมาณขยะในชุมชน ชุมชนเห็นชนิดของขยะที่มีอยู่ในชุมชน ร่วมแลกเปลี่ยนกับบบุคคลและกลุ่มเครือข่ายจากภายนอก เช่น สกว. เครือข่ายปริก เข้ามาให้ความรู้การจัดการขยะ

-รายงานในเว้ปไซร์ คนใต้สร้างสุข

-แผ่นพับ ความรู้ในการจัดการขยะ

-รายงาน ส.3

ดำเนินกิจกรรมการจัดการขยะอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นแรงกระตุ้นสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ