directions_run

โครงการร่องรอยศิลปะของชุมชน ขับเคลื่อนชุมชนให้น่าอยู่

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการร่องรอยศิลปะของชุมชน ขับเคลื่อนชุมชนให้น่าอยู่ ”

บ้านมั่นคงบ้านทุ่งพัฒนา หมู่ที่ 5 ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล

หัวหน้าโครงการ
นางก่อเดียะ นิ้วหลี

ชื่อโครงการ โครงการร่องรอยศิลปะของชุมชน ขับเคลื่อนชุมชนให้น่าอยู่

ที่อยู่ บ้านมั่นคงบ้านทุ่งพัฒนา หมู่ที่ 5 ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 55-01836 เลขที่ข้อตกลง 55-00-1054

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่องรอยศิลปะของชุมชน ขับเคลื่อนชุมชนให้น่าอยู่ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านมั่นคงบ้านทุ่งพัฒนา หมู่ที่ 5 ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่องรอยศิลปะของชุมชน ขับเคลื่อนชุมชนให้น่าอยู่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่องรอยศิลปะของชุมชน ขับเคลื่อนชุมชนให้น่าอยู่ " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านมั่นคงบ้านทุ่งพัฒนา หมู่ที่ 5 ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล รหัสโครงการ 55-01836 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 168,900.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. -เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมดูแลและอนุรักษ์ ศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้านอย่างยั่งยืน
  2. -เพื่อพัฒนาและยกระดับศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน (ปัญจะสิละ) ให้เป็นหลักสูตรคู่บ้านสืบทอดแก่คนรุ่นหลังสืบไป
  3. -เพื่อให้เป็นศูนย์รวมของการสร้างสุขสร้างความสามัคคีของชุมชนโดยผ่านศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน ( ปัญจะสิละ)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศน์

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมทำความเข้าใจการบริหารดำเนินงานโครงการและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างโครงการต่าง ๆ ที่เข้าร่วมการปฐมนิเทศ
    • การบรรยายเกี่ียวกับการบริหารดำเนินงานโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตัวแทนโครงการมีความเข้ารู้ความเข้าใจในเรื่องการดำเนินการโครงการ และการจัดทำรายงาน

     

    0 0

    2. ปฐมนิเทศน์

    วันที่ 4 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ฝึกปฏิบัติการบันทึกกิจกรรมภายใต้โครงการ (การลงรายละเอียดโครงการ การลงปฏิทินกิจกรรม เป็นต้น) บนเว็บเพจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถทำการบันทึกกิจกรรมของโครงการบนเว็บเพจได้ด้วยตนเองในระดับเบื้องต้น

     

    0 0

    3. ประชุมทำความเข้าใจกับคณะทำงาน (20 คน) ครั้งที่ 1

    วันที่ 18 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • มีการชี้แจงโครงการโดยให้ นางก่อเดียะ  นิ้วหลีผู้รับผิดชอบโครงการ เป็นคนชี้แจง
    • มีการแบ่งกลุ่มผู้รับผิดชอบงานแต่ละฝ่ายเพื่อไปสืบค้นประวัติของปัญจะสิละเพื่อนำมาถ่ายทอดให้กับเยาวชนรุ่นหลังให้มีองค์ความรู้สืบทอดศิลปะวัฒนธรรมปัญจะสิละที่เป็นศิลปะพื้นบ้าน คู่บ้านทุ่งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดประชุมวันที่  18 พฤศจิกายน  2555 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน  26  คน ประกอบด้วย ผู้ใหญ่บ้าน  ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน  ส.อบต. โต๊ะอิหม่าม  อสม.หมู่บ้าน ครูโรงเรียนบ้านทุ่งสภากาชาดอุปถัมภ์  2550  เยาวชน  ผู้เข้าร่วมประชุมมีความเข้าใจวัตถุประสงค์โครงการ และมีการแบ่งกลุ่มคณะทำงานไปเก็บรวบรวมข้อมูลและค้นหาประวัติปัญจะสิละ มีการแบ่งงานหน้ารับผิดชอบ  มี  4 ฝ่าย ดังนี้ 1.ฝ่ายจัดหาอุปกรณ์  มีหน้าที่ในการจัดหาอุปกรณ์ในการละเลนปัญจะสิละ  2. ฝ่ายฝึกสอน  มีหน้าที่ในการฝึกสอน  3.มีหน้าที่ในการจัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายในโครงการ 4. ฝ่ายประสานงาน

     

    0 0

    4. ประชุมทำความเข้าใจกับคณะทำงาน (20 คน) ครั้งที่ 2

    วันที่ 23 ธันวาคม 2555 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานได้ข้อมูลในเรื่อง วัสดุอุปกรณ์ในการละเล่นปัญจะสิละ  เช่น  ฆ้อง  ปี่  โทน  รำมะนา  และเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย โดยได้ให้ฝ่ายรับผิดชอบด้านการฝึกสอน ชี้แจงเยาวชนถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมประชุมคณะทำงาน  จำนวน  28 คน ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนประเด็น ที่ได้ลงไปเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้มาบางส่วน และร่วมกันกำหนดวันในการจัดกิจกรรมเวทีสังเคราะห์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญจะสิละ

     

    0 0

    5. ทำป้ายไวนิลโครงการและป้ายเขตปลอดบุหรี่

    วันที่ 5 มกราคม 2556 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดป้ายไวนิลโครงการและป้ายประชาสัมพันธ์เขตปลอดบุหรี่ในพื้นที่จัดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เป็นการประชาสัมพันธ์โครงการ และรณรงค์การงดสูบบุหรี่ ทุกคนได้เห็นป้ายอย่างชัดเจนเข้าใจง่าย รูปแบบชัดเจน

     

    0 0

    6. เวทีสังเคราะห์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องปัญจะสิละ

    วันที่ 9 มกราคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เป็นการประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลและสังเคราะห์ ข้อมูลเกี่ยวกับปัญจะสิละ โดยมีผู้เข้าร่วมจาก คณะครูปัญจักสิละ  ผู้นำชุมชน  แกนนำเยาวชน  ครู  ผู้นำศาสนา อสม. รพ.สต. จำนวน 30 คน ได้มีการซักถามครูปัญจะสิละ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อสม.ครูโรงเรียรบ้านทุ่งสภากาชาดอุปถัมภ์2550 แกนนำเยาวชน ประชาชนผู้สนใจ ได้ซักถามถึงข้อดี ความสำคัญ จุดเด่น และได้ซักถามสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลถึงแนวคิดเรื่องปัญจะสิละ ข้อเสนอแนะในการรักษาวัฒนธรรมพื้นบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมวันที่  9-10 มกราคม  2556  มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30  คน ได้มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนข้อมูลเรืองปัญจะสิละ  และได้มีการรวบรวมข้อมูล จุดเด่น  ข้อดี  ความสำคัญ  ของปัญจะสิละ  แนวคิด  ข้อเสนอแนะ ข้อดี คือได้รู้จักศิลปะการป้องกันตัวเอง  ฝึกการมีสมาธิ  เป็นการออกกำลังกาย  ดึงดูดเรียกร้องคนในหมู่บ้านเข้าร่วมกิจกรรมร่วมกันมีความสามัคคี

     

    0 0

    7. เวทีสังเคราะห์และและเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องปัญจะสิละ

    วันที่ 10 มกราคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จับพูดคุญสนทนา และเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างคณะครู  ปัญจะสิละ  ครู รร. ผญบ. ผู้นำศาสนา  ส.อบต. เยาวชน และประชาชนในพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน  30  คน  เกิดความร่วมมือระหว่างครูปัญจะสิละ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา รพ.สต. และต้องการให้ปัญจะสิลัต ของหมู่ที่  5  เป็นแหล่งเรียนรู้ แก่เยาวชน  และผู้ที่สนใจในหมู่บ้านและหมู่บ้านใกล้เคียง

     

    0 0

    8. พัฒนาเป็นหลักสูตรชุมชน

    วันที่ 15 มกราคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เป็นการพัฒนาองค์ความรู้เพื่อให้เกิดหลักสูตรชุมชน ในเรื่องปัญจะสิละ โดยนำข้อมูลจากการสังเคราะห์นำมาสรุปเเพื่อปรับปรุงให้เป็นหลักสูตรที่เหมาะสมกับสภาวะการณ์ในชุมชน และมีหน่วยงานไม่ว่าจะเป็น โรงเรียน โรงเรียน กศน. ผู้นำชุมชน  อสม.  ผู้นำศาสนา มาช่วยกัน ปรับเพื่อให้เป็นข้อมูลที่สมบูรณ์ และที่สำคัญโรงเรียนบ้านทุ่งได้รับหลักการและนำไปใช้ฝึกเด็กนักเรียนในโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดประชุมวันที่  15  มกราคม  2556  มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 20  คน  มีผู้คิดหลักสูตร ครูปัญจะสิละ  ครูโรงเรียนบ้านทุ่งสภากาชาดอุปถัมภ์  ส.อบต.  อสม.  แกนนำเยาวชน  แกนนำกลุ่มจากสมาชิกหมู่ที่  5  แกนนำสมาชิก หมู่ที่  13  ได้มาร่วมกันสังเคระห์สรุปข้อมูลที่ได้สังเคราะห์นำมาปรับปรุงใช้จนได้เกิดเป็นข้อมูลชุมชน และโรงเรียนบ้านทุ่งได้นำเรื่องของปัญจะสิละไปฝึกสอนในโรงเรียน  ได้หลักสูตรท้องถิ่นปัญจะสิละ  บ้านทุ่ง หมู่ที่  5 ตำบลละงู  อำเภอละงู  จังหวัดสตูล  เพื่อต้องการสอนให้เยาวชน  คนรุ่นใหม่  และผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อจะได้เรียนรู้ตามหลักสูตร  และให้เยาวชนได้เป็นผู้สืบทอดรักษากีฬาพื้นบ้านปัญจะสิละสืบเนื่องต่อไป

     

    20 20

    9. แสดงกีฬาปัญจะสิละ

    วันที่ 19 มกราคม 2556 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะครูปัญจะสิละ  ได้มีการแสดง การละเล่นกีฬาพื้นบ้าน ซึ่งมีผู้สนใจและเข้าชม การแสดงกิจกรรม ดังนี้  1. องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล  2.องค์การบริหารส่วนตำบลละงู  3.องค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ 3. องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุด 4.องค์การบริหารส่วนตำบลแหลมสน 5.องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง 6.เทศบาลตำบลกำแพง 7.นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว  โรงพยาบาลละงู  สาธารณสุขอำเภอละงู    การไฟฟ้าอำเภอละงู  การประปาส่วนภูมิภาค อำเภอละงู  และคณะครู นักเรียนในโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมชมกีฬาปัญจะสิลัต 500  คนเศษ เริ่มกิจกรรม  เวลา  13.00  น.  มีการเปิดงาน  โดยนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล  และมีการแสดงโชว์  โดยคณะครูปัญจะสิละ  หมู่ที่  5  ต.ละงู  อ.ละงู  จ.สตูล  ได้มีการแข่งเรือหัวโทง จากจังหวัดตรัง  จังหวัดสตูล  จังหวัดสงขลา  จังหวัดพัทลุง  และมีการแข่งขันตกปลา โดยมีผู้ร่วมแข่งขัน  จาก  จังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส  จังหวัดสตูล  จังหวัดสงขลา  จังหวัดพัทลุง

     

    200 500

    10. สนับสนุนพัฒนาแกนนำเยาวชนรุ่นใหม่

    วันที่ 16 มีนาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะครูปัญจะสิละ  และแกนนำเยาวชนทีมีความสนใจฝึกอบรมโครงการปัญจิสิละ พร้อมปฏิบัติจริง  ซึ่งมีผู้สนใจและเข้าชม การแสดงกิจกรรม ดังนี้  1. ผู้นำศาสนา  2.สภาองค์กรชุมชนตำบลละงู  3.ส.อบต.  4. ผู้ปกครองนักเรียน
    6.คณะครูโรงเรียนบ้านทุ่งสภากาชาดอุปถัมภ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้มีการอบรมปัญจะสีละ ณ โรงเรียนบ้านทุ่งสภากาชาดอุปถัมภ์ ตั้งแต่วันที่  16 - 20 มีนาคม  2556 มีผู้เข้าร่วมอบรม  30 คน  ซึงมีคณะครูผู้เข้าร่วมการฝึกสอน  จำนวน  8 คน 1.นายดนต์  ทองสีสัน  2. นายวาเหลด  หมื่นอาด  3.นายสาฝาก  นกเกษม 4.นายโดด  อาดจร 5. นายลิยะ  ทิ้งหลง 6.นายกอเดช  หมื่นอาด 7.นายเอบ  ชายเหตุ 8.นายเตบ  ในวันที่  16 เวลา 09.00-12.00 มีการฝึกอบรม ที่มาของกีฬาปัญจะสิละ  13.00-16.00 ให้ผู้เข้าร่วมอบรม รู้จักอุปกรณ์ปัญจะสิละ คือ ตะโพน  ฆ้อง  ฉิ่ง  ปี่  ในวันที่  17 มีนาคม  2556 เวลา  09.00-12.00 น มีการแนะนำในการเล่นอุปกรณ์เครื่องดนตรี  13.00-16.00 มีสอนการเล่นเครื่องดนตรี วันที่  ในวันที่  18 มีนาคม  2556 เวลา  09.00-12.00 น มีการสอน ท่ารำต่าง ๆ มีการแนะนำในการเล่นอุปกรณ์เครื่องดนตรี  13.00-16.00  และมีการสอนท่ารำต่อในวันที่  19 มีนาคม  2556 เวลา  09.00-12.00 น มีการแนะนำในการเล่นอุปกรณ์เครื่องดนตรี  13.00-16.00น. มีการสอนท่ารำเพื่อให้มีการฝึกจนเกิดความชำนาญ  ในวันที่  20มีนาคม  2556 มีการฝึกอบรมพร้อมปฏิบัติทำกิจกรรมถ่ายทอดรุ่นน้องในระบบโรงเรียน  เพื่อให้คนรุ่นใหม่  และผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมได้เป็นผู้สืบทอดรักษากีฬาพื้นบ้านปัญจะสิละสืบเนื่องต่อไปเพิ่มมากขึ้น

     

    30 40

    11. แสดงกีฬาปัญจะสิละ

    วันที่ 26 มีนาคม 2556 เวลา 09.00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะครูปัญจะสิละ  และแกนนำเยาวชนที่ผ่านการฝึกสอน ได้มีการแสดง การละเล่นกีฬาพื้นบ้าน ซึ่งมีผู้สนใจและเข้าชม การแสดงกิจกรรม ดังนี้  1. ผู้นำศาสนา  2.สภาองค์กรชุมชนตำบลละงู  3.องค์การบริหารส่วนตำบลละงู 3.ผู้ปกครองนักเรียน
    4.คณะครูโรงเรียนบ้านทุ่งสภากาชาดอุปถัมภ์ 5.คณะครูโรงเรียนในสังกัด ตำบลละงู  และคณะ นักเรียนในโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมชมกีฬาปัญจะสิลัต 200  คนเศษ เริ่มกิจกรรม  ที่โรงเรียนสภากาชาดอุปถัมภ์ มีการเปิดงาน  โดยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านท่งสภากาชาดอุปถัมภ์  มีการแสดงของนักเรียนโรงเรียนสภากาชาดอุปภัมภ์  และมีการแสดงกีฬาปัญจะสิละที่ผ่านการฝึกอบรม มาเล่นกีฬาปัญจะสิละด้วย  และมีการแข่งขันกีฬาภายในโรงเรียน  ซึีงมีผู้ปกครองและผู้เข้าร่วมในโรงเรียน เล่นกิจกรรมด้วย มีผู้อำนวยการโรงเรียน นายกอบต.เข้าร่วมการเล่นกีฬาปัญจะสิละ และมีผู้ปกครองได้มีการซักถามถึงทีี่มาของโครงการกีฬาปัญจะสิละ เพื่อที่จะให้ลูกหลานเข้าร่วมการฝึกสอนกีฬาปัญจะสิละ ด้วย

     

    100 200

    12. แสดงกีฬาปัญจะสิละสู่สาธารณะชน

    วันที่ 22 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะครูปัญจะสิละ แกนนำที่ผ่านการอบรมเรียนรู้  ได้มีการแสดง การละเล่นกีฬาพื้นบ้าน ซึ่งมีผู้สนใจและเข้าชม การแสดงกิจกรรม ดังนี้  1. องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล  2.องค์การบริหารส่วนตำบลละงู  3.องค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ 3. องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุด 4.องค์การบริหารส่วนตำบลแหลมสน 5.องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง 6.เทศบาลตำบลกำแพง 7.นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว  โรงพยาบาลสตูล  สาธารณสุขอำเภอ    การไฟฟ้าอำเภอสตูล การประปาส่วนภูมิภาค อำเภอสตูล และคณะครู นักเรียนในโรงเรียนอนุบาลสตูล 8. เครือข่ายคุมครองผู้บริโภค 9. ประชาชน ในจังหวัดสตูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมชมกีฬาปัญจะสิลัต 550 คน  มีการเปิดงาน  โดยรองผู้ว่าราชการจังหวัดสตูล มีการแสดงของงกลุ่มมะนาวหวาน  ของจังหวัดปัตตานี  มีเวทีเสวนาของผู้นำในจังหวัดสตูล และผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำเสนอต่อท่านผู้ว่าราชการจังหวัดสตูล ของความต้องการ จำนวน  11  ประเด็นงาน  1 ใน 11 หัวข้อ คือด้านสุขภาวะ  เช่น เกษตรอินทรีย์  เป็นต้น และได้มีบางท่านได้มาติดต่อสอบถามเพื่อจะเล่นกีฬาปัญจะสิลัต

     

    200 550

    13. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่พื้นที่ภาคใต้

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ภาคใต้เพื่อให้โครงการได้มีการตรวจสอบการดำเนินงานทั้งการรายงานข้อมูลในเว้ปไซต์และการทำแบบประเมินคุณค่าของโครงการที่ดำเนินการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน ได้เข้าร่วมประชุมและได้มีการจัดทำรายงานข้อมูลในเว้ปไซต์คนใต้สร้างสุขและการทำข้อมูลแบบประเมินคุณค่าโครงการที่ดำเนินงานว่ามีองค์ความรู้อะไรบ้างที่เป็นจุดเด่น ซึ่งโครงการที่ดำเนินการอยู่สามารถสร้างกระบวนการเรียนรู้และสร้างจิตสำนึกให้กับเยาวชนในพื้นที่ในเรื่องของการอนุรักษ์ทรัพยากรในชุมชน

     

    3 2

    14. ประชุมทำความเข้าใจ ครั้งที่ 3

    วันที่ 23 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • มีการชี้แจงโครงการโดยนางก่อเดียะ  นิ้วหลีผู้รับผิดชอบโครงการเป็นคนชี้แจง
    • มีการแบ่งกลุ่มความรับผิดชอบแต่ละฝ่าย   1 ฝ่ายประชาสัมพันธ์   2 ฝ่ายประสานงาน
        3 ฝ่ายจัดกิจกรรม

    • เพื่อการประชาสัมพันธ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดประชุมวันที่  23 ธันวาคม  2556  มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน  26  คน  ประกอบด้วย  ผู้ใหญ่บ้าน  ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน  อสม.  ส.อบต.โต๊ะอิหม่าม ผู้ใหญ่บ้านได้ประสานไปยัง องค์การบริหารส่วนตำบลละงู  ช่วยประชาสัมพันธ์

     

    25 26

    15. นำเสนอผลงานการดำเนินงานต่อสาธารณะตลาดศิลปะพื้นบ้าน

    วันที่ 29 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะครูปัญจิสิละ  และแกนนำเยาวชนที่ผ่านการฝึกอบรมได้มีการแสดงกีฬาปัญจะสิละ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมชม  150  คน  เริ่มกิจกรรรมที่โครงการบ้านมั่นคง  เปิดงานโดยนายกองค์การบริหารส่วนตำบลละงู  มีการแสดงกีฬาปัญจะสิละของเยาวชนที่ผ่านการอบรมมาเล่นกีฬาปัญจะสิละด้วย  มีครูโรงเรียนทุ่งสภากาชาดอุปถัมบ้านภ์  มาเข้าร่วมกิจกรรม พร้อมนักเรียน โรงเรียนเข้าร่วมกิจกรรม  และมีนักศึกษาจาสถาบันราชภัฎสงขลาเข้าร่วมกิจกรรม

     

    150 150

    16. ประชุมทำความเข้าใจ ครั้งที่ 4

    วันที่ 5 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการชี้แจงโดยนางก่อเดียะ  นิ้วหลี ผุ้รับผิดชอบโครงการ มีการแบ่งกลุ่มความรับผิดชอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดประชุมวันที่  5 กันยายน  2556 

     

    25 25

    17. สนับสนุนห้องเรียนชุมชนเป็นศูนย์เรียนรู้ของชุมชน

    วันที่ 15 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะครูปัญจะสิละ  ได้รู้แนะนำการแสดงต่าง ๆ และได้พูดถึงความรู้สึกที่ได้ของการได้มีห้องเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมเปิดศูนย์เรียนรู้ของชุมชนโดยชุมชน  จำนวน  65  คน 

     

    60 65

    18. ประชุมสรุปงาน และเข้าร่วมงานสร้างสุขคนใต้

    วันที่ 28 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมสรุปงาน และเข้าร่วมงานสร้างสุขคนใต้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปงาน และเข้าร่วมงานสร้างสุขคนใต้

     

    10 10

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 -เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมดูแลและอนุรักษ์ ศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้านอย่างยั่งยืน
    ตัวชี้วัด : 1. ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจความเข้มแข็งและมีจิตสำนึกผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมโดยการอนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน

     

    2 -เพื่อพัฒนาและยกระดับศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน (ปัญจะสิละ) ให้เป็นหลักสูตรคู่บ้านสืบทอดแก่คนรุ่นหลังสืบไป
    ตัวชี้วัด : 1. มีแกนนำเยาวชน คนรุ่นใหม่ในโรงเรียนและในชุมชน 2. หลักสูตรศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน( ปัญจะสิละ)

     

    3 -เพื่อให้เป็นศูนย์รวมของการสร้างสุขสร้างความสามัคคีของชุมชนโดยผ่านศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน ( ปัญจะสิละ)
    ตัวชี้วัด : 1. มีศูนย์กลางของการถ่ายทอด ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน ( ปัญจะสิละ) 2. มีทีมทำงานที่มีใจอาสาที่จะอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน ( ปัญจะสิละ)

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) -เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมดูแลและอนุรักษ์ ศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้านอย่างยั่งยืน (2) -เพื่อพัฒนาและยกระดับศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน (ปัญจะสิละ) ให้เป็นหลักสูตรคู่บ้านสืบทอดแก่คนรุ่นหลังสืบไป (3) -เพื่อให้เป็นศูนย์รวมของการสร้างสุขสร้างความสามัคคีของชุมชนโดยผ่านศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน ( ปัญจะสิละ)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการร่องรอยศิลปะของชุมชน ขับเคลื่อนชุมชนให้น่าอยู่

    รหัสโครงการ 55-01836 รหัสสัญญา 55-00-1054 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    พัฒนาองค์ความรู้ให้เป็นหลักสูตรชุมชน ในเรื่องปัญจะสิละ

    หลักสูตรศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน( ปัญจะสิละ)

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    ชุมชนได้มีส่วนร่วมดูแลและอนุรักษ์ ศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้านอย่างยั่งยืน

    การทำงานร่วมกันระหว่างภาคีที่เกี่ยวข้องในชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    เกิดกลุ่มเยาวชน/แกนนำ ในการสืบสานถ่ายทอดวิถึการเรียนรู้ปัญจะสิละ

    กลุ่มเยาวชนหลักตอนนี้มี 12 คน (ที่สามารถออกงานในชุมชนได้แล้ว)

    การสร้างกลุ่มเเกนนำต่อเนื่องในเรื่องการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมปัญจะสิละ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    ทำให้กลุ่มเยาวชนในหมู่บ้านหันมาสนใจการออกกำลังกายโดยศิลปะปัญจะสิละ และสามารถดึงกลุ่มผู้ปกครองบางส่วนเข้าร่วมกิจกรรมได้ด้วย

    กลุ่มออกกำลังกายปัญจะสิละ หมู่ 5

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    กลุ่มเยาวชนหันมาออกกำลังกายมากขึ้น

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

    กลุ่มเยาวชนสามารถลดพฤติกรรมเสี่ยงโดยที่หันมาสนใจกิจกรรมผึกปัญจะสิละ แทนการออกนอกบ้านไปรวมกลุ่มเที่ยวเตร่ กันนอกหมู่บ้าน เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    กลุ่มผู้ชายและผู้หญิง หันมาออกกำลังกายร่วมกัน/มีคนต่างวัยมาออกกำลังกายร่วมกัน

    โรงเรียนบ้านทุ่งสภากาชาดอุปถัมภ์

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
    • เกิดพื้นทีสาธารณะในชุมชน โดยมีกลุ่มเยาวชนและกลุ่มผู้ใหญ่ ได้มีการรวมกลุ่มกันทำกิจกรรมปัญจะสิละ ณ ลานกิจกรรม โรงเรียนบ้านทุ่งสภากาชาดอุปถัมภ์ และบริเวณโครงการบ้านมั่นคง
    • ปัญจะสิละ เป็นกิจกรรมการออกกำลังกายที่ถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม และเป็น และเป็นที่ยอมรับของสังคม

    โรงเรียนบ้านทุ่งสภากาชาตอุปถัมภ์

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    มีการสร้างรายได้ให้กับกลุ่มเยาวชนที่เป็นสมาชิกกลุ่มปัญจะสิละ เพราะมีการออกงาน และทำการเเสดงตามงานประเพณีต่างๆ หรืองานในชุมชน เช่น งาน อสม.ของเทศบาลตำกำเเพง,งานผู้สูงอายุ อบต.ละงูฐงานสมัชชาคนสตูล,งานการศึกษาโรงเรียนสู่สาธารณะ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีการประสานงานเชื้อมโยง และทำงานร่วมกันระหว่างกลุ่มต่างๆในชุมชนเช่น กลุ่มสภาองค์กรชุมชนละงู ,องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,โรงเรียน, กลุ่มเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคจังหวัดสตูล

    การทำงานร่วมกันระหว่าง อปท.,กลุ่มสภาองค์กรชุมชน ,กลุ่มโรงเรียน และกลุ่มต่างๆในหมู่บ้าน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    เกิดการระดมทุนของกลุ่ม เช่น กลุ่มสภาองค์กรชุมชน และโรงเรียนบ้านทุ่งสภาการชาดอุปถัมภ์ ร่วมสนับสนุนทุนบางส่วน ในการดำเนินงาน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    นอกจากเกิดกลุ่มปัญจะสิละแล้ว จากการรวมกลุ่มนี้ ทำให้หมู่บ้านใกล้เคียงเช่น หมู่ 9 หมู่ 11 หมู่ 13 หันมาสนใจเข้ามาร่วมกิจรรมการออกกลังกายด้วย โดยเกิดเป็นกลุ่มออกกำลังกายรูปเเบบอื่นๆ เช่น การวิ่ง ร่วมกัน ในหมู่บ้าน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    เกิดการจัดการความรู้ขึ้นในเรื่อง หลักสูตรของการเรียนการสอนปัญจะสิละ โดยจะประยุกต์การจัดกระบวนการท่าร่ายรำของปัญจะสิละ ให้มีความทันสมัย น่าสนใจ และง่ายต่อความเข้าใจของคนที่จะมาเรียนมากยิ่งขึ้น

     

    พัฒนาให้มีห้องเรียนรู้เป็นศูนย์รวมของการสร้างสุขสร้างความสามัคคีของชุมชนโดยผ่านศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
    • ทักษะในการวิเคราะห์ปัญหา
    • สังเคราะห์เพื่อจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
    • วางแผน
    • ประสานงานบูรณาการณ์กับหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    กลุ่มคนส่วนใหญ่ในชุมชนรู้จัก กลุ่มปัญจะสิละ และเมื่อมีงานหรือกิจกรรมในหมู่บ้าน ก็จะให้กลุ่มปัญจะสิละที่เป็นกลุ่มเยาวชนไปแสดง ทำให้รู้สึกเกิดความภาคภูมิใจทั้งในตัวเยาวชนเอง และครูผู้สอน และผู้ก่อตั้งกลุ่ม เป็นชื่อเสียงต่อหมู่บ้าน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    ชาวบ้านมีการปฏิสัมพันธ์ และรวมกลุ่มกันมากขึ้นเพราะมีกิจกรรม เป็นตัวดึง เป็นศูนย์กลางในการทำงานร่วมกันได้ และเกิดการเห็นอกเห็นใจกัน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    เกิดความเอื้ออาทรกันระหว่างกลุ่มต่างๆในหมู่บ้าน เช่น กล่มครูโรงเรียน และชาวบ้าน หากมีปัญหาหรือขาดเหลืออะไร หรือสิ่งหนึ่งสิ่งใดก็คอยช่วยเหลือกันตลอด ทำให้เกิดความรักความสามัคคีในชุมชนมากขึ้น ลดความขัดแย้ง

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการร่องรอยศิลปะของชุมชน ขับเคลื่อนชุมชนให้น่าอยู่ จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 55-01836

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางก่อเดียะ นิ้วหลี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด