directions_run

โครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ด้วยการฟื้นฟูและอนุรักษ์ห้วยหนุนปาน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ด้วยการฟื้นฟูและอนุรักษ์ห้วยหนุนปาน ”

หมู่ที่ 10 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
wichai meechoo

ชื่อโครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ด้วยการฟื้นฟูและอนุรักษ์ห้วยหนุนปาน

ที่อยู่ หมู่ที่ 10 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 55-00993 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0752

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2556 ถึง 31 กรกฎาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ด้วยการฟื้นฟูและอนุรักษ์ห้วยหนุนปาน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 10 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ด้วยการฟื้นฟูและอนุรักษ์ห้วยหนุนปาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ด้วยการฟื้นฟูและอนุรักษ์ห้วยหนุนปาน " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 10 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 55-00993 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2556 - 31 กรกฎาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 187,550.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างเครือข่ายและสร้างกระบวนการในการพัฒนาองค์กร ความรู้ และการเรียนรู้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติสายคลองห้วยหนุนปานโดยองค์กรชุมชนและประชาชนมีส่วนร่วม
  2. เพื่อสร้างความตระหนักในเรื่องความมั่นคงทางอาหารและมีคุณค่าต่อสุขภาพ
  3. สร้างกลไกชุมชน ในการจัดการและอนุรักษ์คลองห้วยหนุนปาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศการดำเนินการตามโครงการ โดย สจรส

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2555 เวลา 12:30-21.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำความเข้าใจการบันทึกข้อมูลดครงการผ่านเวบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำความเข้าใจการบันทึกข้อมูลดครงการผ่านเวบ

     

    0 0

    2. สร้างเครือข่ายทูตน้อยแห่งสายน้ำ 40 คน

    วันที่ 14 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการไปยังโรงเรียนในพื้นที่และรับสมัครเยาวชนเพื่อเข้าร่วมเป็นอาสาสมัครทูตสายน้ำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการโดยใช้รถกระจายเสียงเห่ไปยังโรงเรียน และมีเยาวชนให้ความสนใจสมัครเข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของท้องถิ่นเป็นจำนวนมาก

     

    0 0

    3. เวทีเสวนาสร้างความเข้าใจ

    วันที่ 28 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดเวทีเสวนาระหว่างคณะทำงาน ผู้แทนส่วราชการ  ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนที่ใช้ประโยชน์ห้วยหนุนปาน เพื่อให้ตระหนักถึงปัญหาความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมและสร้างภาพฝันร่วมกันในการที่จะฟื้นฟูห้วยหนุนปานด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้แทนส่วนราชการ  ผู้แทนส่วนท้องถิ่น เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ เข้าร่วมจำนวน 77 คน

     

    0 0

    4. ประชุมวางแผนเก็บข้อมูล

    วันที่ 12 ธันวาคม 2555 เวลา 10.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนกำหนดประเด็นที่น่าสนใจในพื้นที่ และออกแบบเก็บข้อมูล มอบหมายผู้เก็บข้อมูล ผู้วิเคราะห์ข้อมูล ผู้สรุปข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุมวางแผนในการเก็บข้อมูลจำนวน 18 คน

     

    0 0

    5. เวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชน

    วันที่ 17 มกราคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานนำข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมตามกรอบคิดที่ได้ออกแบบไว้ มาวิเคราะห์ร่วมกันและจัดทำเป็นแผนภาพสภาพปัญหาความเสื่อมโทรมของห้วยหนุนปาน และปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการห้วยหนุนปานให้ดีขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีคณะทำงานเข้าร่วม 14 คน และได้ข้อมูลแผนภาพปัญหาทรัพยากรธรรมชาติห้วยหนุนปาน ที่ใช้ชี้แจงให้ประชาชนในพื้นที่ได้ทราบ และเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้น

     

    0 0

    6. กิจกรรมรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธื

    วันที่ 23 มกราคม 2556 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดกิจกรรมแสดงหนังตะลุงในเวทีประชุมและเสวนาต่าง ๆในพื้นที่และแสดงมโนราห์ที่สะท้อนปัญหาและคุณค่าห้วยหนุนปานในงานประเพณีในท้องถิ่นเช่นงานลอยกระทงและงานปีใหม่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีสื่อรณงค์ผ่านการแสดงหนังตะลุงและมโนราห์อย่างละ 1 ชุด และประชาชนมากกว่า 80 คนได้รับทราบข้อมูลสถานะการณ์ความเสื่อมโทรมของห้วยหนุนปานผ่านสื่อพื้นบ้าน

     

    0 0

    7. เวที่ระดมความคิดเห็นค้นหาวิธีจัดการคลอง

    วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการเชิญคณะทำงาน ปราชญ์ท้องถิ่น  ตัวแทนทูตสายน้ำ และประชาชนในพื้นรที่มาร่วมกันแสดงความคิดเห็นในการจัดการอนุรักษ์และจะฟื้นฟูห้วยหนุนปานให้มีสภาพดีขึ้นได้อย่างไร  ซึ่งที่ประชุมเห็นร่วมกันว่าจะต้องใช้การปรับสภาพภูมิทัศน์ก่อน โดยจะต้องร่วมกับท้องถิ่นในการปรับสภาพแวดล้อม เพราะจะใช้แต่กำลังคนคงลำบากเนื่องจากน้ำลึก แต่อย่างไรก็ตามท้องถิ่นที่จะเข้ามาร่วมต้องร่วมโดยไม่กระทบกับงบประมาณของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมเสวนาจำนวน 58 คน และได้แนวทางในการจัดการห้วยหนุนปานให้มีสภาพแวดล้อมดีขึ้นโดยจะต้องร่วมมือกับท้องถิ่นและภาคประชาชนเป็นสำคัญ

     

    0 0

    8. ปรับภูมิทัศน์ ฟื้นฟูระบบนิเวศน์

    วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการลงแขกปรับภูมิทัศน์ห้วยหนุนปานในพื้นที่ที่กำลังคนสามารถดำเนินการได้ และการใช้เครื่องจักรที่ได้รับการสนุนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดโดยไม่มีค่าใช้จ่ายมาช่วยในการปรับสภาพห้วยหนุนปานในพื้นที่ที่กำลังคนไม่สามารถตำเนินการได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สภาพแวดล้อมรอบห้วยหนุนปานได้รับการปรับปรุงให้สวยงามและสามารถใช้เป็นพื้นที่สาธารณะเพื่อส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชนได้เป็นอย่างดี

     

    0 0

    9. เวทีกำหนดกฎกติกาชุมชน

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการหารือร่วมกัยระหว่างคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการกำหนดกรอบกติกาการดูแลห้วยหนุนปานซึ่งได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สะอาดสวยงามแล้ว
    ควรมีกติกาชุมชนหรือกิจกรรมใดบ้างที่สามารถจัดในพื้นที่แล้วคนในชุมชนให้ความสำคัญต่อกติกาเหล่านี้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้กรอบกติกาการใช้ประดญชน์ห้วยหนุนปาน และแนวทางการจัดตั้งกองทุนอนุรักษ์ห้วยหนุนปาน

     

    0 0

    10. เวทีพัฒนาทีมอาสาสมัครระวังสายน้ำ

    วันที่ 6 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้และแบ่งบทบาทหน้าที่และตารางเวรในการเฝ้าระวังสายน้ำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ตามเป้าหมายที่กำหนด 50 คน

     

    0 0

    11. เวทีประชาคม

    วันที่ 10 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เป็นการเปิดเวทีนำร่างข้อเสนอต่อการอนุรักษ์ห้วยหนุนปานซึ่งคณะทำงานและแกนนำได้ร่วมกันยกร่างมาให้ที่ประชุมของประชาชนในหมู่ที่ 2 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 8 และหมู่ที่ 10 พิจารณา ซึ่งทั้ง 4 หมู่บ้านนี้มีส่วนใช้ประโยชน์ในห้วยหนุนปานร่วมกัน ซึ่งผลจากการระดมความคิดเห็นในเวทีประชาชนส่วนใหญ่ยอมรับและให้ความสำคัญกับข้อกำหนดดังกล่าว แต่ก็มีบางส่วนที่เห็นว่าข้อกำหนดบางข้ออาจต้องปรับคำให้ดูไม่เป็นเชิงบังคับจนเกินไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลที่เกิดขึ้นเกินกว่าที่คาดหมาย มีผู้เข้าร่วมจำนวน 213 คน

     

    0 0

    12. เวทียื่นข้อเสนอเชิงนโยบายต่อ อปท.

    วันที่ 15 พฤษภาคม 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลเขาย่าเพื่อยื่นกติกาชุมชนที่ประชาชนในพื้นที่ได้ร่วมประชาพิจารณ์แล้วให้ท้องถิ่นพิจารณาและขอความร่วมมือในการเป็นกลไกหนึ่งในการขับเคลื่อนกติกาชุมชน รวมถึงผลักดันสู่ข้อบัญญัติของท้องถิ่นต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมจำนวน 185 คนซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายเล็กน้อย แต่ความหลากหลายของตัวแทนผู้เข้าร่วมนั้นเป็นไปตามเป้าหมาย

     

    0 0

    13. ถอดบทเรียนจากโครงการ

    วันที่ 26 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานได้มีการสรุปบทเรียนการทำงานและจัดทำเป็นเอกสารรายงานผลการดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานเข้าร่วม 15 คน

     

    15 15

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างเครือข่ายและสร้างกระบวนการในการพัฒนาองค์กร ความรู้ และการเรียนรู้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติสายคลองห้วยหนุนปานโดยองค์กรชุมชนและประชาชนมีส่วนร่วม
    ตัวชี้วัด : 1.มีองค์ความรู้ภาพรวมการจัดการแหล่ง น้ำโดยองค์กรชุมชน 2 จำนวนครั้งของกิจกรรมทางสังคมที่เกิดขึ้นจากการมีส่วนร่วมกันของคนในชุมชนในการอนุรักษ์แหล่งน้ำไม่น้อยกว่าเดือนละ 1 ครั้ง

     

    2 เพื่อสร้างความตระหนักในเรื่องความมั่นคงทางอาหารและมีคุณค่าต่อสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : กฎ ระเบียบ ข้อตกลง หรือแนวปฏิบัติที่ชุมชนกำหนดร่วมกันในการอนุรักษ์คลองห้วยหนุนปาน

     

    3 สร้างกลไกชุมชน ในการจัดการและอนุรักษ์คลองห้วยหนุนปาน
    ตัวชี้วัด : 1.เกิดกลไกศุกร์ศาลาที่เป็นที่รวมของผู้นำชุมชนในการปรึกษาหารือเพื่อแก้ปัญหาชุมชน 2.เกิดกติกาชุมชนที่เป็นที่ยอมรับและสามารถนำไปปรับใช้ได้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างเครือข่ายและสร้างกระบวนการในการพัฒนาองค์กร  ความรู้  และการเรียนรู้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติสายคลองห้วยหนุนปานโดยองค์กรชุมชนและประชาชนมีส่วนร่วม (2) เพื่อสร้างความตระหนักในเรื่องความมั่นคงทางอาหารและมีคุณค่าต่อสุขภาพ (3) สร้างกลไกชุมชน ในการจัดการและอนุรักษ์คลองห้วยหนุนปาน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ด้วยการฟื้นฟูและอนุรักษ์ห้วยหนุนปาน

    รหัสโครงการ 55-00993 รหัสสัญญา 55-00-0752 ระยะเวลาโครงการ 1 สิงหาคม 2556 - 31 กรกฎาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    จาการทำงานมีการจัดกระบวนการทำงานใหม่เพิ่มเติมจากสามเหลี่ยมเขยื่อนภูเขา คือนอกเหนือจากมีภาครัฐ ภาคความรู้ ภาคประชาชน แล้ววันนี้มีการเพิ่มภาคส่วน ท้องถิ่นและท้องที่เพิ่มขึ้น ทำให้กระบวนการทำงานมีความใกล้ชิดกับชุมชนมากยิ่งขึ้น

    • รายงานการประชุมคณะทำงานและทีมกลไกใหม่

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    กลุ่มใหม่ที่เกิดขึ้นในชุมชนจากการดำเนินโครงการนี้คือเกิดกลุ่มอาสาสมัครอนุรักษ์ห้วยหนุนปาน ที่มาจากประชาชนที่อาศัยอยู่โดยรอบห้วยหนุนปานจากหมู่ที่ 2 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 8 และหมู่ที่ 10 นอกจากนี้ยังมีนักเรียนจาก 2 โรงเรียนซึ่งอยู่ใกล้เคียงห้วยหนุนปานคือ โรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด และโรงเรียนบ้านไทรทอง มีสมาชิกเข้าร่วมในเบื้องต้นประมาณ 40 คน

    • รายชื่อสมาชิกกลุ่มอาสาสมัครอนุรักษ์ห้วยหนุนปาน
    • ภาพกิจกรรมต่างๆ ที่กลุ่มดำเนินการในพื้นที่

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    หลังจากการดำเนินโครงการสิ่งที่เป็นคุณค่าเดิมของชุมชนคือการใช้วิถีชีวิตที่พึ่งพิงกับฐานทรัพยากรก็เริ่มหวนกลับมา จากปกติที่ไม่เคยสนใจพืชผักพื้นบ้านริมห้วยหนุนปาน ไม่สนใจการจับปลาที่ผิดวิธี ถือว่าธุระไม่ใช่  แต่เมื่อคณะทำงานได้ร่วมกับภาคีที่เกี่ยวข้องร่วมกันพัฒนาห้วยหนุนปานให้ดีขึ้น คนในหมู่ที่ 5 หมู่ที่ 8 หมู่ที่ 10 และหมู่ที่ 2 ที่อยู่โดยรอบห้วยหนุนปานก็กลับมาใช้วิถีชีวิตเดิมของตัวเอง แทนที่จะออกไปตลาดเพื่อซื้อผักมาจากตลาดทุกวัน ก็ใช้พืชผักที่ขึ้นอยู่ริมห้วยมาทำอาหาร  เมื่อมีใครมาจับปลาที่ผิดวิธีก้มีการตักเตือน

    • ภาพการใช้ประโยชน์จากผักพื้นบ้านริมห้วยหนุนปาน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    มีการพัฒนาพื้นที่ทางกายภาพที่เห็นเด่นชัด เป็นรูปธรรม คือการพัฒนาห้วยหนุนปาน จากพื้นที่ห้วยรก้ร้างให้กลายเป็นแหล่งน้ำหลักของชุมชน โดยกระบวนการพัฒนานั้นเกิดขึ้นจากทั้งกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนที่ได้ร่วมกันลงแขกปรับปรุงพัฒนาสภาพแวดล้อมของห้วยหนุนปาน นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาที่มาจากภาคีร่วมภาครัฐ เช่น องค์การบริหารส่วนจังหวัดสนับสนุนงบประมาณและเครื่องจักรในการขุดลอก  สถานพินิจเด็กและเยาวชนจังหวัดพัทลุง สนับสนุนกิจกรรมให้กลุ่มเด็กที่อยู่ระหว่างการคุมประพฤติได้ทำประโยชน์ให้ชุมชนโดยการร่วมพัฒนาห้วยหนุนปาน  ซึ่งจากกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนนี้เองทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่ชัดเจนของห้วยหนุนปาน

    • ภาพสภาพแวดล้อมทางกายภาพของห้วยหนุนปานก่อนและหลังการดำเนินโครงการ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    เมื่อมีการพฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพของห้วยหนุนปานให้มีความสะอาดร่มรื่นแล้ว คณะทำงาน ผู้นำชุมชน และประชาชนในพื้นที่ยังได้ร่วมกันคิดต่อที่จะพัฒนาพื้นที่ตรงนี้ให้เป็นพื้นที่ที่เอื้อต่อสุขภาพ เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจของคนในชุมชน จึงได้ร่วมกันสมทบทุนในการจัดสร้างศาลากลางน้ำ ขึ้นโดยคนในชุมชนทั้ง 4 หมู่บ้านเข้ามาร่วม

    • ภาพกิจกรรมการสมทบทุนและจัดสร้างศาลากลางน้ำ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    มีการจัดทำกติตาร่วมของชุมชนในการดูแลห้วยหนุนปาน โดยเริ่มจากการที่ผู้ใหญ่บ้านทั้ง 4 หมู่บ้านที่อยู่โดยรอบห้วยหนุนปานมาประชุมหารือร่วมกับคณะทำงานเพื่อร่างกติกาชุมชนขึ้นมา  จากนั้นจึงนำร่างดังกล่าวมาประชุมร่วมกับชาวบ้านในทุกหมู่บ้านผ่านเวทีประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน  จากนั้นจึงเปิดเวทีในการรับฟังความคิดเห็นรอบสุดท้ายก่อนนำกติกาดังกล่าวประกาศให้ประชาชนทั่วไปได้รับทราบและถือปฏิบัติ มีการกำหนดมาตรการลงโทษ มีมาตรการปรับผู้ที่ผ่าฝืน

    • กติกาชุมชนในการอนุรักษืห้วยหนุนปาน
    • ภาพกิจกรรมการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับการกำหนดกติกาชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    มีมาตรการทางสังคมนอกเหนือจากกติกาชุมชนที่ประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน และมาตรการลงโทษผู้ไม่ปฏิบัติตามกติกาแล้ว ยังมีมาตรการทางสังคมในการดูแลห้วยหนุนปาน โดยหากมีคนใดหรือกลุ่มใดไปดื่มเหล้าหรือสิ่งเสพติดในบริเวณห้วยหนุนปาน ร้านค้าสวัสดิการชุมชนจะไม่จำหน่ายสินค้าให้  หรือหากมีใครที่จับปลาโดยผิดวิธีก็จะมีการประกาศชื่อผ่านหอกระจายข่าวว่าคนกลุ่มนี้ทำให้ห้วยหนุนปานเสียหาย ทำให้ผู้ที่ถูกประกาศชื่อเกิดความละอายและลด ละ เลิก พฤติกรรม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    การดำเนินโครงการอนุรักษ์ห้วยหนุนปานมีการจัดกลไกเพื่อประสานงานทั้งภายในชุมชนและภายนอกชุมชน ภายในชุมชนนั้นเป็นการเชื่อมประสานผู้นำชุมชนจากทั้ง 4 หมู่บ้านมาทำงานร่วมกัน จากเดิมที่ต่างคนต่างทำ วันนี้ใช้พื้นที่สาธารณะห้วยหนุนปานเป็นตัวเชื่อมผู้ใหญ่บ้านจากทั้ง 4 หมู่บ้านมาทำงานร่วมกัน ส่วนภายนอกชุมชนนั้นมีการเชื่อมโยงการทำงานกับองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง  สถานพินิจ และเครือข่ายนักจัดรายการวิทยุจังหวัดพัทลุง ในการร่วมพัฒนาพื้นที่ ร่วมรณรงค์ประชาสัมพันธ์

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    คณะทำงานได้เรียนรู้กระบวนการทำงานที่เป็นระบบจากการพัฒนาศักยภาพของ สสส. ร่วมกับ สจรส. มอ. ทำให้คณะทำงานมีการใช้ข้อมูลพื้นฐานจากชุมชนมาวิเคราะห์ปัญหา มีการวางแผน และดำเนินการตามแผน และจากการที่คณะทำงานได้เรียนรู้การทำงานอย่างเป็นระบบนี้เอง ได้มีการถ่ายทอดไปยังคนในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ ทั้งในรูปแบบการการให้ความรู้และจากการสังเกตุพฤติกรรมของคณะทำงานของประชาชน แล้วเริ่มนำไปปรับใช้ในการดำรงชีวิต

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    เมื่อห้วยหนุนปานได้รับการพัฒนาให้มีสภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น ผู้นำชุมชนทั้ง 4 ชุมชนได้ร่วมกันคิดต่อที่จะพัฒนาพท้นที่ให้เป็นแหล่งพักผ่อนหน่อนใจ จึงกำหนดให้มีการระดมทุนเพื่อจัดสร้างศาลากลางน้ำ โดยให้ประชาชนในชุมชนทั้ง 4 หมู่บ้านได้เข้ามามีส่วนร่วมในการระดมทุน จนวันนี้ศาลาระดมทุนได้มากกว่า 50,000 บาท และได้นำมาจัดสร้างศาลากลางน้ำ เพื่อใช้เป็นสถานที่จัดกิจกรรมต่าง ๆของชุมชนต่อไปในอนาคต

    • ภาพถ่ายกิจกรรมระดมทุน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    การดำเนินการใดๆ ของคณะทำงานและผู้นำชุมชนนั้น ก่อนจะดำเนินการกิจกรรมมีการประชุมและใช้ข้อมูลที่มีการเก็บรวบรวมมาประกอบการตัดสินใจ เช่นก่อนมีการพัฒนาห้วยหนุนปานก็มีการสำรวจก่อนว่าสภาพปัจจุบันเป็นอย่างไร  มีภาคีองค์กรใดบ้างที่จะเข้ามาช่วย  มีการทำเวทีคืนข้อมูลให้ชุมชนก่อนตัดสินใจ  หรือกระบวนการในการกำหนดกติกาชุมชนก็มีการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนก่อนที่จะมีการตัดสินใจออกกติกาชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    วันนี้คนโหล๊ะเร็ดทั้ง 4 หมู่บ้านให้การยอมรับการทำงานของคณะทำงาน มากขึ้นและมีความรู้สึกหวงแหนห้วยหนุนปาน มีการเข้าทำกิจกรรมต่าง ๆในพื้นที่ หากวันนี้มีใครเข้าไปในพื้นที่ก็จะได้รับการคัดค้านหรือเข้าไปมีส่วนร่วมในฐานะเจ้าของพื้นที่

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

    ความร่วมมือใเครือข่ายนสายคลอง
    มีกาเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในคลอง มีศาลากลางน้ำ ไว้ที่ทำกิจกรรมร่วมทั้ง 4 หมู่ การใช้ประโยชน์จากพื้นที่ริมตลิ่ง

     

     

    โครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ด้วยการฟื้นฟูและอนุรักษ์ห้วยหนุนปาน จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 55-00993

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( wichai meechoo )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด