แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ ริมคลองสวย น้ำคลองใสไหลริน ถิ่นบ้านโตระ

ชุมชน บ้านโตระหมู่ ๘,๙,๑๓ ตำบลตำนาน

รหัสโครงการ 55-01913 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0910

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน ตุลาคม 2555 ถึงเดือน มีนาคม 2556

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุม เวทีสร้างความเข้าใจ/เรียนรู้ข้อมูล/ค้นหาคณะทำงานในการดำเนินงานตามโครงการ

วันที่ 3 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  1. จัดประชุมเพื่อสร้างความเข้าให้กับตัวแทนหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 หมู่ที่ 9 และหมู่ที่ 13 หมู่บ้านละ 20 คน รวมเป็น 60 คน
  2. ค้นหาคณะทำงานจำนวน 15 คนเพื่อเป็นตัวแทนในการขยายผลของโครงการ
  3. ให้ความรู้ ความเข้าใจในรายละเอียดของโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เชิงปริมาณ มีตัวแทนของหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 20 คน รายละเอียดดังนี้ 1. หมู่ที่ 8 นำโดย นายพิเชษฐ์ จันทร์ใหม่ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 4 คน สมาชิก อบต. 2 คน แกนนำชุมชน 4 คน มีผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน ผู้นำกลุ่ม 4 คน 2. หมู่ที่ 9 นำโดย นายณรงค์ บุญฤทธิ์ กำนันตำบลตำนาน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 3 คน สมาชิก อบต. 2 คน แกนนำชุมชน 4 คน มีผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน ผู้นำกลุ่ม 4 คน ปราชญ์ชาวบ้าน 1 คน 3. หมู่ที่ 13 นำโดย นายทวี เกื้อเส้ง ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 3 คน สมาชิก อบต. 2 คน แกนนำชุมชน 2 คน มีผู้ทรงคุณวุฒิ 9 คน ผู้นำกลุ่ม 3 คน
มีคณะทำงาน 15 คน นำโดย
-นายมนูญ เกื้อมิตร ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดตำนาน
-นางสุจิตรา อินทรสมบัติ ครูโรงเรียนวัดตำนาน -นางพิกุล ศรีแก้ว ครูโรงเรียนวัดตำนาน -นางอัมภา ปราบหนุน ครูโรงเรียนวัดตำนาน -พระคุณเจ้า 3 รูป -กรรมการสถานศึกษา 5 คน -สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลตำนาน 3 คน เชิงคุณภาพ 1. ตัวแทนของหมู่บ้านมีความเข้าใจในรายละเอียดของโครงการ 2. มีคณะทำงานที่เป็นตัวแทนในการขยายผลของโครงบการต่อไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. จัดประชุมเพื่อสร้างความเข้าให้กับตัวแทนหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 หมู่ที่ 9 และหมู่ที่ 13 หมู่บ้านละ 20 คน รวมเป็น 60 คน
  2. ค้นหาคณะทำงานจำนวน 15 คนเพื่อเป็นตัวแทนในการขยายผลของโครงการ
  3. ให้ความรู้ ความเข้าใจในรายละเอียดของโครงการ

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. จัดประชุมเพื่อสร้างความเข้าให้กับตัวแทนหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 หมู่ที่ 9 และหมู่ที่ 13 หมู่บ้านละ 20 คน รวมเป็น 60 คน
  2. ค้นหาคณะทำงานจำนวน 15 คนเพื่อเป็นตัวแทนในการขยายผลของโครงการ
  3. ให้ความรู้ ความเข้าใจในรายละเอียดของโครงการ

 

0 0

2. ร่วมประชุมโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ โซนภาคใต้ตอนบน

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13.00 น. น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อรับฟังการบรรยายจากวิทยากรเพื่อสร้างความเข้าใจในการรายงานกิจกรรมต่อพี่เลี้ยงและการจัดทำเอกสารทางด้านการเงิน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เชิงปริมาณ ผู้รับผิดชอบจำนวน 3 คน
โดยมี
1. หัวหน้าโครงการ 2. เจ้าหน้าที่การเงินโครงการ 3. ผู้จัดทำโครงการ เข้าร่วมรับฟังคำแนะนำการจัดทำโครงการ เชิงคุณภาพ 1. ผู้รับผิดชอบโครงการมีความเข้าใจในขั้นตอนการรายงานกิจกรรม 2. เจ้าหน้าที่การเงินโครงการเกิดความเข้าใจในการจัดทำเอกสารทางด้านการเงิน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

มีผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 3 คน เข้าร่วมประชุมรับฟังการบรรยายจากวิทยากรเพื่อสร้างความเข้าใจในการรายงานกิจกรรมต่อพี่เลี้ยงและการจัดทำเอกสารทางด้านการเงิน

กิจกรรมที่ทำจริง

มีผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 3 คน เข้าร่วมประชุมรับฟังการบรรยายจากวิทยากรเพื่อสร้างความเข้าใจในการรายงานกิจกรรมต่อพี่เลี้ยงและการจัดทำเอกสารทางด้านการเงิน

 

0 0

3. จัดประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจรายละเอียดของโครงการเพื่อเป็นตัวแทนขยายผลไปยังกลุ่มอื่นในหมู่บ้าน

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

จัดประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจรายละเอียดของโครงการให้กับตัวแทนครัวเรือนที่อาศัยอยู่ติดลำคลองครัวเรือนละ 1 คน จำนวน 57 ครัวเรือน รวมเป็น 57 คน และคณะทำงานจำนวน 3 คนเพื่อเป็นตัวแทนขยายผลไปยังกลุ่มอื่น ๆ ในหมู่บ้าน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เชิงปริมาณ 1. ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ 8 9 และหมู่ 13 จำนวน 57 ครัวเรือน ครัวเรือนละ 1 คน 2. คณะทำงานจำนวน 3 คน เชิงคุณภาพ 1. ตัวแทนครัวเรือนเกิดความเข้าใจในรายละเอียดและข้อตกลงของโครงการดังนี้ -ไม่ทิ้งขยะและสิ่งปฏิกูลลงในลำคลอง -ช่วยกันดูแลรักษาต้นไม้บริเวณริมลำคลอง -ปลูกพืชผักสวนครัวริมลำคลอง อย่างน้อย 1 แปลง -ปลูกไม้ดอก ไม้ประดับบริเวณริมลำคลอง -ช่วยกันอนุรักษ์พันธ์ปลา 2. ตัวแทน 1 คน สามารถนำรายละเอียดและข้อตกลงของโครงการไปขยายผลไปยังครัวเรือนอื่นอีก 1 ครัวเรือน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจรายละเอียดของโครงการให้กับตัวแทนครัวเรือนที่อาศัยอยู่ติดลำคลองครัวเรือนละ 1 คน จำนวน 57 ครัวเรือน รวมเป็น 57 คน และคณะทำงานจำนวน 3 คนเพื่อเป็นตัวแทนขยายผลไปยังกลุ่มอื่น ๆ ในหมู่บ้าน

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจรายละเอียดของโครงการให้กับตัวแทนครัวเรือนที่อาศัยอยู่ติดลำคลองครัวเรือนละ 1 คน จำนวน 57 ครัวเรือน รวมเป็น 57 คน และคณะทำงานจำนวน 3 คนเพื่อเป็นตัวแทนขยายผลไปยังกลุ่มอื่น ๆ ในหมู่บ้าน

 

0 0

4. จัดประชุมชี้สร้างความเข้าใจวีธีการในการตรวจสอบคุณภาพของน้ำให้กับนักเรียน จำนวน

วันที่ 1 ธันวาคม 2555 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

จัดประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจในการตรวจสอบคุณภาพน้ำให้แก่นักเรียนชั้น ป.3-ป.6 จำนวน 60 คนและมีคณะทำงาน 5 คน โดยกำหนดจุดที่นักเรียนเก็บตัวอย่างน้ำจำนวน 4 จุด และแบ่งกลุ่มนักเรียนจำนวน 6 กล่ม กลุ่มละ 10 คน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เชิงปริมาณ 1. นักเรียนชั้น ป.3-ป.6 จำนวน 60 คน 2. คณะทำงานจำนวน 5 คน นำโดย -ประธานสภานักเรียน 1 คน -รองประธานสภาพนักเรียน 4 คน เชิงคุณภาพ 1.นักเรียนทราบสภาพค่าออกซิเจนในน้ำ 2.บันทึกผลเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของค่าออกซิเจน 3.นักเรียนสามารถนำวิธีการเก็บคุณภาพน้ำไปยังครัวเรือนของตนเองต่อไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจในการตรวจสอบคุณภาพน้ำให้แก่นักเรียนชั้น ป.3-ป.6 จำนวน 60 คนและมีคณะทำงาน 5 คน โดยกำหนดจุดที่นักเรียนเก็บตัวอย่างน้ำจำนวน 4 จุด และแบ่งกลุ่มนักเรียนจำนวน 6 กล่ม กลุ่มละ 10 คน

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจในการตรวจสอบคุณภาพน้ำให้แก่นักเรียนชั้น ป.3-ป.6 จำนวน 60 คนและมีคณะทำงาน 5 คน โดยกำหนดจุดที่นักเรียนเก็บตัวอย่างน้ำจำนวน 4 จุด และแบ่งกลุ่มนักเรียนจำนวน 6 กล่ม กลุ่มละ 10 คน

 

0 0

5. จัดประชุมการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องการอนุรักษ์ลำคลอง

วันที่ 22 ธันวาคม 2555 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

จัดประชุมเพื่อจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นผู้เข้าร่วมประชุม ทั้งสิ้นจำนวน 55 คน โดยมีครูโรงเรียนวัดตำนานจำนวน 7 คนนักเรียนจำนวน 20 คน ปราชญ์ชาวบ้าน 10 คน สมาชิกอบต. 10 คน คณะทำงาน 5 คน วิทยากรจำนวน 3 คน  รวบรวมข้อมูลต่าง  ๆ เช่น ประวัติลำคลอง พื้นที่ทางภูมิศาสตร

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 55 คน โดยมี 1. ครูโรงเรียนวัดตำนาน จำนวน 7 คน 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 20 คน 3. ปราชญ์ชาวบ้านจำนวน 10 คน 4. สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลตำนาน จำนวน 10 คน 5. คณะทำงานจำนวน 5 คน โดยมีประธานสภานักเรียนจำนวน 1 และรองประธานสภานักเรียนจำนวน 4 คน 6. วิทยากรจำนวน 3 คน เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องการอนุรักษ์ลำคลอง 2. นักเรียนเกิดความตระหนักและเห็นคุณค่าของแม่น้ำลำคลอง 3. นักเรียนมีความรับผิดชอบในการแบ่งกลุ่มเพื่อค้นหาข้อมูลในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องการอนุรักษ์ลำคลอง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดประชุมเพื่อจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นผู้เข้าร่วมประชุม ทั้งสิ้นจำนวน 55 คน โดยมีครูโรงเรียนวัดตำนานจำนวน 7 คนนักเรียนจำนวน 20 คน ปราชญ์ชาวบ้าน 10 คน สมาชิกอบต. 10 คน คณะทำงาน 5 คน วิทยากรจำนวน 3 คน  รวบรวมข้อมูลต่าง  ๆ เช่น ประวัติลำคลอง พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ ขนาดความกว้าง ยาว พื้นที่การใช้บริการ ข้อมูลการอาศัยของสัตว์น้ำ และข้อมูลพันธ์ไม้ริมคลอง

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดประชุมเพื่อจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นผู้เข้าร่วมประชุม ทั้งสิ้นจำนวน 55 คน โดยมีครูโรงเรียนวัดตำนานจำนวน 7 คนนักเรียนจำนวน 20 คน ปราชญ์ชาวบ้าน 10 คน สมาชิกอบต. 10 คน คณะทำงาน 5 คน วิทยากรจำนวน 3 คน  รวบรวมข้อมูลต่าง  ๆ เช่น ประวัติลำคลอง พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ ขนาดความกว้าง ยาว พื้นที่การใช้บริการ ข้อมูลการอาศัยของสัตว์น้ำ และข้อมูลพันธ์ไม้ริมคลอง

 

0 0

6. ติดตามระหว่างการดำเนินงาน โดย สจรส.มอ. ครั้งที่ 1

วันที่ 17 มกราคม 2556 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 2 คนเข้ารับฟังคำชี้แจงและคำแนะนำจากพี่เลี้ยงโครงการในการจัดทำเอกสารทางด้านการเงินและการรายงานกิจกรรมแต่ละกิจกรรม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เชิงปริมาณ 1. ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 2 คน เข้าร่วมประชุมรับฟังคำชี้แจง เชิงคุณภาพ 1. มีความเข้าใจในขั้นตอนและรายละเอียดของการจัดทำเอกสาร รายงาน ส.1 และรายงาน ง.1 ได้ชัดเจนมากขึ้น 2. เข้าใจขั้นตอนการจัดรายงานกิจกรรมต่าง ๆ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 2 คนเข้ารับฟังคำชี้แจงและคำแนะนำจากพี่เลี้ยงโครงการในการจัดทำเอกสารทางด้านการเงินและการรายงานกิจกรรมแต่ละกิจกรรม

กิจกรรมที่ทำจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 2 คนเข้ารับฟังคำชี้แจงและคำแนะนำจากพี่เลี้ยงโครงการในการจัดทำเอกสารทางด้านการเงินและการรายงานกิจกรรมแต่ละกิจกรรม

 

0 0

7. ติดตามโครงการโดยพี่เลี้ยง

วันที่ 3 มีนาคม 2556 เวลา 10:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  1. ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 3 คนเข้ารับฟังคำชี้แจงและการตรวจสอบเอกสารทางด้านการเงินจากพี่เลี้ยงโครงการ
  2. รับฟังคำแนะนำในการจัดทำเอกสาร ส.1 และ ง.1

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เชิงปริมาณ 1. ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 3 คน โดยมี -หัวหน้าโครงการ -เจ้าหน้าที่การเงินโครงการ -ผู้จัดทำโครงการ เข้าร่วมรับฟังคำชี้แจงจากพี่เลี้ยงโครงการ เชิงคุณภาพ 1. ผู้รับผิดชอบโครงการเกิดความเข้าใจในการจัดทำเอกสารทางด้านการเงิน
2. สามารถเข้าใจในขั้นตอนของการรายงานกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้วและเข้าใจถึงรายงาน ส.1 และรายงาน ง.1

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 3 คนเข้ารับฟังคำชี้แจงและการตรวจสอบเอกสารทางด้านการเงินจากพี่เลี้ยงโครงการ
  2. รับฟังคำแนะนำในการจัดทำเอกสาร ส.1 และ ง.1

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 3 คนเข้ารับฟังคำชี้แจงและการตรวจสอบเอกสารทางด้านการเงินจากพี่เลี้ยงโครงการ
  2. รับฟังคำแนะนำในการจัดทำเอกสาร ส.1 และ ง.1

 

0 0

8. จัดประชุม เตรียมการการลงแขกปลูกต้นไม้

วันที่ 3 มีนาคม 2556 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  1. จัดประชุมเพื่อเตรียมการลงแขกปลูกต้นไม้โดยมีคณะกรรมหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 ,9และหมู่ที่ 13 หมู่บ้านละ 20 คนเป็นจำนวน 60 คน
  2. เพื่อปรึกษาในเรื่องการจัดทำภูมิทัศน์บริเวณริมลำคลอง

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เชิงปริมาณ 1. คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 ,9 และหมู่ที่ 13 จำนวน หมู่บ้านละ 20 คน โดยมี
1. หมู่ที่ 8 นำโดย นายพิเชษฐ์ จันทร์ใหม่ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านจำนวน 4 คน สมาชิก อบต. 2 คน
แกนนำชุมชน 4 คน ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน ผู้นำกลุ่ม 4 คน 2. หมู่ที่ 9 นำโดย นายณรงค์ บุญฤทธิ์ กำนันตำบลตำนาน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านจำนวน 3 คน สมาชิก อบต. 4 คน แกนนำชุมชนจำนวน 2 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน ผู้นำกลุ่ม 4 คน ปราชญ์ชาวบ้าน 1 คน 3. หมู่ที่ 13 นำโดยนายทวี เกื้อเส้ง ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านจำนวน 3 คน สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลจำนวน 2 คน แกนนำชุมชน 2 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ 9 คน ผู้นำกลุ่ม 3 คน เชิงคุณภาพ 1. คณะกรรมการหมู่บ้านเกิดความตระหนักถึงความสำคัญของการปลูกต้นไม้ 2. มีการแบ่งกลุ่มกันเพื่อจัดหาพันธ์ไม้ 3. เกิดการวางแผนร่วมกันในการปรับภูมิทัศน์บริเวณลำคลอง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. จัดประชุมเพื่อเตรียมการลงแขกปลูกต้นไม้โดยมีคณะกรรมหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 ,9และหมู่ที่ 13 หมู่บ้านละ 20 คนเป็นจำนวน 60 คน
  2. เพื่อปรึกษาในเรื่องการจัดทำภูมิทัศน์บริเวณริมลำคลอง

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. จัดประชุมเพื่อเตรียมการลงแขกปลูกต้นไม้โดยมีคณะกรรมหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 ,9และหมู่ที่ 13 หมู่บ้านละ 20 คนเป็นจำนวน 60 คน
  2. เพื่อปรึกษาในเรื่องการจัดทำภูมิทัศน์บริเวณริมลำคลอง

 

0 0

9. เข้ารับการติดตามการดำเนินงานงวดที่ 1 โดย สจรส.

วันที่ 5 มีนาคม 2556 เวลา 09:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  1. ผู้รับผิดชอบโครงการเข้ารับการตรวจสอบเอกสารทางด้านการเงิน
  2. รายงานกิจกรรมให้ครบถ้วนสมบูรณ์

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. เข้าใจขั้นตอนของการรายงานกิจกรรมที่ถูกต้องและสมบูรณ์
  2. เกิดความเข้าใจในการจัดทำ และจัดเก็บเอกสารทางด้านการเงิน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ผู้รับผิดชอบโครงการเข้ารับการตรวจสอบเอกสารทางด้านการเงิน
  2. รายงานกิจกรรมให้ครบถ้วนสมบูรณ์

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ผู้รับผิดชอบโครงการเข้ารับการตรวจสอบเอกสารทางด้านการเงิน
  2. รายงานกิจกรรมให้ครบถ้วนสมบูรณ์

 

0 0

10. เปิดสะพานคลองลำหลิง

วันที่ 15 มีนาคม 2556 เวลา 07:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อให้ผู้ทำเกษตรกรรมได้ใช้ประโยชน์ในการเดินทางไปทำเกษตรกรรม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เกษตรกรได้ใช้ประโยชน์จากการมีสะพานข้ามคลอง และใช้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

กิจกรรมเปิดสะพานคลองลำหลิง เพื่อความสะดวกของผู้ทำเกษตรกรรม

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดประเพณีทำบุญเลี้ยงพระ และร่วมกันปล่อยปลา

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 28 10                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 203,080.00 38,640.00                  
คุณภาพกิจกรรม 40 30                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

เนื่องจากสภาพปัญหาฝนฟ้า อากาศ ทำให้การดำเนินกิจกรรมในปฏิทินอาจจะต้องเลื่อนไปบ้าง  แต่กิจกรรมที่ดำเนินการก็ยังคงเดิมตามที่เสนอไว้ในโครงการ

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นายมนูญ เกื้อมิตร
ผู้รับผิดชอบโครงการ