แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนท่าแขกน่าอยู่

รหัสโครงการ 55-01862 รหัสสัญญา 55-00-0920 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

เกิดการนำขยะต่างๆ นำมาแปรรูปเป็นปุ๋ยหมักเพื่อใช้ต่อในชุมชนหรือขายต่อเป็นรายได้เข้าชุมชน , วัด , โรงเรียน เพื่อนำมาพัฒนาชุมชน , วัด , โรงเรียน ต่อไป

การอบรมให้ความรู้เรื่องขยะและการคัดแยกขยะและรูปถ่ายประกอบ

ทำบ่อปุ๋ยหมักทีวัดชุมพรรังสรรค์และเป็นแหล่งเรียนรู้ใหม่ให้กับกลุ่มเยาวชนและกลุ่มผู้สูงอายุทำกิจกรรมร่วมกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

เมื่อคัดแยกขยะแล้วนำขยะที่รีไซร์เคลิร์แล้วนำกับมาทำปลาตะเพียนจากขวดน้ำ ,ทำโมบาย เพื่อประดับหน้าบ้านให้น่ามอง

หน้าบ้านคุณกรองแก้ว กุวัยการ

ส่งเสริมผลผลิตใหม่ให้เป็นต้นแบบในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ชิ้นงานใหม่จากขยะรีไรเคิลร์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

การจัดการขยะโดยใช้กลไกทางการเงิน(ให้เด็กและเยาวชนเก็บขยะมาขายได้ทุกข์ประเภท/ทุกวัน ที่ศูนย์รับซื้อขยะของชุมชน)

ศูนย์รับซื้อขยะชุมชน บ้านคุณราตรี  แผ้วสมุทร

ธนาคารขยะชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

การใช้ "คู่หูต่างวัย" ในการเฝ้าระวังขยะชุมชน (กลุ่มผู้สูงอายุจับมือกับกลุ่มเด็กและเยาวชนเฝ้าระวังเรื่องขยะของชุมชน โดยแบ่งพื้นที่รับผิดชอบเป็นโซนๆ ทำให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีของคนในชุมชน เด็กหันมาใส่ใจเพื่อนต่างวัยมากขึ้น)

กลุ่ม "คู่หูต่างวัย"

สนับสนุนให้เกิดกลุ่มเพื่อนสามวัย(ผู้สูงอายุ/วัยทำงาน/เด็กและเยาวชน)ที่เดินไปด้วยกันในการพัฒนาชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

กลุ่มการจัดการขยะในวัด(พระภิกษุสงฆ์,สามเณร)

พระสมุห์ชัยวัฒน์ อัตตทีโป วัดชุมพรสังรังสรรค์ โทร.081-6913642

วัดชุมพรรังสรรค์เป็นแหล่งเรียนรู้ใหม่ในเรื่องการจัดการขยะและการผลิตปุ๋ยชีวภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

เกษตรปลอดสารพิษและศูนย์รับซื้อขยะของชุมชน

1.ศูนย์รับซื้อขยะชุมชน(เกิดการสร้างงานสร้างอาชีพใหม่ในชุมชน : คุณราตรี แผ้วสมุทร อยู่บ้านเลขที่ 23/2 ม.5 ต.นาทุ่ง อ.เมือง จ.ชุมพร 86000 โทร.085-7820227 2.การเลี้ยงเป็ดแบบคนท่าแขก 3.การเกษตรอินทรีย์(ปลูกผักปลอดสาร/มะลิปลอดสารพิษ)

ชุมชนเกษตรอินทรีย์และธนาคารขยะชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

มีการปลูกพืชผักปลอดสารพิษในชุมชน(สำหรับรับประทานและเหลือขาย)

คุณถวิล  กกนาค อยู่บ้านเลขที่ 239 ม.5 ต.นาทุ่ง อ.เมือง จ.ชุมพร

มีการรวมกลุ่มเยาวชนและผู้สูงอายุให้ปลูกพืชผักปลอดสารพิษบริโภคเองและเหลือจากบริโภคนำไปขายต่อเพื่อสร้างรายได้ต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ประชาชนส่่วนมากบริโภคพืชผักที่ปลูกเองหรือซื้อจากชาวบ้านในชุมชนที่ปลูกเพื่อสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนอีกทาง และให้ความสำคัญการการเลือกซื้อสินค้าที่ปลอดภัยในการบริโภค

มีชาวบ้านบางกลุ่มปลูกพืชผักบริโภคเอง โดยคุณถวิล  กกนาค เป็นต้นแบบ

สร้าง อย.น้อยชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

วรวิทย์ พึ่งพระ เป็นผู้หนึ่งที่สูบบุหรี่ ตั้งวันที่พี่เลี้ยงเข้าไปช่วยวิเคราะห์สภาพปัญหาของชุมชน วันเปิดประชุมชี้แจงโครงการ ก็ยังนั่งสูบให้เห็น วรวิทย์บอกว่า คนในครอบครัวทำโครงการและพี่เลี้ยงก็เคยพูดว่าถ้ามีคนเลิกบุหรี่หรือสุราถือเป็นสุดยอด วรวิทย์เลยลองลด ละและเลิกได้ ในขณะที่ พนม บอกพี่เลี้ยงด้วยใบหน้ายิ้มแย้มว่าเลิกได้แล้วทั้งบุหรี่และเหล้า ทำให้มีเงินเหลือเก็บ

นายวรวิทย์  พึ่งพระ อยู่บ้านเลขที่ 305 หมู่ที่ 5 ตำบลนาทุ่ง อำเภอเมือง จังหวัดชุมพรและนายพนม  กลบหาด อยู่บ้านไม่มีเลขที่ หมู่เดียวกัน

ขยายผลโดยใช้วรวิทย์และพนมเป็นต้นแบบสู่การสร้างการมีส่วนร่วมในกลุ่มวัยที่ใกล้เคียงกัน เพื่อเป็นต้นแบบให้เด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ในการทำสิ่งดีๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

จากการจัดกิจกรรมต่างๆ ส่งผลจากคนที่ไม่เคยพูดคุยกันหันกลับมาพูดคุยเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแนวทางการทำกิจกรรมที่ดีต่อไปมากขึ้นจากเดิม

กลุ่มเยาวชนและกลุ่มผู้สูงอายุในชุมชน

จัดกิจกรรมเดินทางไหว้พระ 9 วัด ในชุมชนเพื่อสร้างความสามัคคีและความปองดองให้เกิดขึ้นในกลุ่มเยาวชนและกลุ่มผู้สูงอายุ( คู่หูต่างวัย ) มากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

1.มีชาวบ้านนำใบหญ้านางมาคั้่นน้ำและนำไปต้มมาดื่มแทนน้ำโดยช่วยลดน้ำตาลในเลือดเหมาะสำหรับคนเป็นโรคเบาหวาน ความดัน 2.นำบอระเพ็ดมาบดให้ละเอียดและผสมกับน้ำผึ้งและปั้นเป็นลูกกลอนรับประทานครั้งละ 3 เม็ด เพื่อลดไขมันทำให้ไม่อ้วนและไม่มีโรคตามมา

โดย คุณสุนีย์  ชูแก้ว อยู่บ้านเลขที่ 304 ม.5 ต.นาทุ่ง อ.เมือง จ.ชุมพร โทร.080-6954122

1.ขยายผลสู่ประชาชนในชุมชนในการดูแลตนเองมากยิ่งขึ้น
2.การปลูกพืชสมุนไพร 3.สวนสมุนไพรชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชนให้เรี่องการจัดการขยะ(ทำอย่างไรไม่ให้ขยะเพิ่มขึ้น และหรือเมื่อมีขยะทำอย่างให้หมดไป)ครอบครัวชุมนปลอดขยะ

รายงานการอบรมให้ความรู้/ภาพถ่าย

ชุมชนท่าแขกน่าอยู่ "ท่าแขกปลอดขยะ"

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

กลุ่มเพื่อนคู่หูช่วยกันเฝ้าระวังดูแลปัญหาขยะในละแวกที่ตนเองรับผิดชอบ

กลุ่มเพื่อนคู่หู

จัดชาวบ้านผู้มีจิตอาสาช่วยดูแลบริเวณต่างๆที่ความเสี่ยงต่อสุขภาพคนในชุมชนและช่วยทำให้จุดเสี่ยงนั้นหมดไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

ประชาชนในชุมชนทุกคนช่วยกันสอดส่งดูแลและตรวจสอบพฤติกรรมบุคคลแปลกหน้าและรถยนต์ , รถจักรยานยนต์ ที่เข้ามาในชุมชน ทุกคนทุกคัน เพื่อลดปัญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการลักขโมย หรือความปลอดภัยในการใช้ชีวิต ของทุกคนในชุมชนที่จะเกิดขึ้น

กลุ่มประชาชน,กลุ่มเยาวชน,กลุ่มผู้สูงอายุ ทุกคนในชุมชน

จัดกลุ่มประชาชนผู้มีจิตอาสาเป็นยามชุมชนช่วยดูแลชุมชนไม่ให้มีการลักขโมยหรืออันตรายต่างที่จะเกิดขึ้นในชุมชนต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

1.มีการสร้างอาชีพ จากการรับซื้อขยะต่างๆ มาแยกขายโดยสร้างรายได้ให้ตนเองและคนในชุมชน 2.มีการสร้างรายได้โดยเก็บขยะมาขายต่อสร้างได้ 3.กลุ่มประดิษฐของตกแต่งบ้านจากวัสดุเหลือใช้และจากขยะเกิดรายได้เสริม

  1. รับซื้อขยะโดยคุณราตรี แผ้วสมุทร อยู่บ้านเลขที่ 23/2 ม.5 ต.นาทุ่ง อ.เมือง จ.ชุมพร 86000 โทร. 085-7820227
  2. เก็บขยะมาขายต่อโดยเยาวชน เช่น   2.1 ด.ญ.รุ้งทอง บำรุงสุข นักเรียนชั้น ม.1 รร.เทศบาลบ้านท่าตะเภา
      2.2 ด.ญ.ชนัญชิดา พึ่งพระ นักเรียนชั้น ป.3 รร.เทศบาลบ้านท่าตะเภา   2.3 ด.ช.ศุภนัฐ  พุ่มพวง นักเรียนชั้น ป.3 รร.เทศบาลบ้านท่าตะเภา

มีองค์กรการรับชื้อขยะไปแปรรูปในด้านต่างๆ มากขึ้น เช่น นำไปขาย ,นำไปประดิษฐ์สิ่งของ,นำไปทำปุ๋ย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

ทำแบบสอบถามเพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจเรื่องการคัดแยกขยะให้กับคนในชุมชน

กลุ่มประชาชน,กลุ่มเยาวชน,กลุ่มผู้สูงอายุ

ทำแบบสอบถามความพึงพอใจการในการทำโครงการการจัดขยะและการคัดแยกขยะให้ถูกวิธีเพื่อชุมชนน่าอยู่ ภูมิทัศน์น่ามอง สร้างสุขภาพที่ดีในชุมชนต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

1.มีการสำรวจข้อมูลจำนวนและปริมาณขยะของชุมชนก่อนและหลังดำเนินการรวมทั้งสำรวจความพึงพอใจ 2.มีการนำเสนอผลการสำรวจและผลการดำเนินงานเพื่อหาข้อสรุปในการพัฒนาชุมชนต่อไป

คณะกรรมการโครงการ/กลุ่มพระภิภษุสงฆ์ , กลุ่มสามเณร , กลุ่มเยาวชน , กลุ่มผู้สูงอายุ,ประชาชนในชุมชน

โครงการต่อยอด ปี 2

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

คณะกรรมการโครงการและประชาชนในชุมชนเกิดความภาคภูมิใจ ที่ทุกคนให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการจัดการขยะ การเฝ้าระวังความปลอดภัยในชุมชน เป็นอย่างดี

คณะกรรมการโครงการ,แกนนำชุมชน,กลุ่มพระภิภษุสงฆ์ ,สามเณร , กลุ่มเยาวชน , กลุ่มผู้สูงอายุ,และประชาชนในชุมชน

ทำให้คนในชุมชนรักและห่วงที่จะต้องทำให้กิจกรรมเรื่องขยะเป็นหนึ่งของการดำรงชีวิตประจำวันต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

การปลูกผักปลอดสาร การเลี้ยงเป็ด การเก็บขยะขาย การรับซื้อขยะ การทำปุ๋ยใช้เอง และการดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาพื้นบ้าน เป็นความเรียบง่ายในการดำรงชีวิตประจำวันของประชาชนชุมชนท่าแขกปัจจุบัน

วิถีชีวิตประจำวันของคนชุมชนท่าแขก

เกิดสำนึกรักถิ่นสำนึกพลเมือง(วัฒนธรรมชุมชน)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

ชุมชนมีความสามัคคีและเอื้ออาทรในทุกเรื่องมาขึ้น เช่น ช่วยกันสอดส่งดูแลความสะอาดทุกพื้นที่ในชุมชน และ ช่วยสอดส่งดูแลความปลอดภัยในชีวิตประจำในทุกด้าน

กลุ่มเยาวชน , กลุ่มผู้สูงอายุ,และวัยทำงาน

วัฒนธรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

กลุ่มพระภิภษุสงฆ์ , กลุ่มสามเณร , กลุ่มเยาวชน , กลุ่มผู้สูงอายุ

ชุมชนจะสร้างความรู้และความเข้าใจรายละเอียดเนื้อหาร่วมกันให้เกิดความเป็นเอกภาพในการตัดสินใจ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ