task_alt

โครงการมุสลิมะห์ประสานใจต้านภัยยาเสพติดด้วยวิถีชีวิตพอเพียง

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โครงการมุสลิมะห์ประสานใจต้านภัยยาเสพติดด้วยวิถีชีวิตพอเพียง

ชุมชน บ้านลำเปาเหนือ หมู่ที่ 11 ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

รหัสโครงการ 55-01928 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0985

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน ตุลาคม 2555 ถึงเดือน มีนาคม 2556

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การประชุมปฐมนิเทศและแลกเปลี่ยนผู้รับทุนโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ ภาคใต้ตอนล่าง จังหวัดสงขลา สตูล ตรัง พัทลุง ปัตตานี ยะลาและนราธิวาส ณ โรงแรมไดอิชิหาดใหญ่

วันที่ 3 พฤศจิกายน 2555 เวลา 12:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อให้ผู้เสนอโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในกระบวนการการบริหารการทำงานโครงการและได้ฝึกการปฏิบัติการรายงานกิจกรรมผ่านเว็ปไซต์

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีความรู้ความเข้่าใจในการปฏิบัติงานและสามารถรายงานการปฏิบัติงานผ่านเว็ปไซต์ได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานของผู้ที่ได้รับทุนในโครงการรวมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่

กิจกรรมที่ทำจริง

เรียนรู้และทำความเข้าใจในการฝึกปฏิบัติ

 

0 0

2. จัดประชุมแกนนำเยาวชนกลุ่มเสี่ยง นิเทศการเข้าร่วมโครงการและสมัครครัวเรือน

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  • เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจแก่เยาวชนและครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • เยาวชนและกลุ่มเป้าหมายครัวเรือนเข้าใจบทบาทและการทำงานตามรายละเอียดโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

-จัดประชุมแกนนำเยาวชนกลุ่มเสี่ยงนิเทศการเข้าร่วมโครงการและรับสมัครครัวเรือน

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมหารือกำหนดแนวทางการจัดกิจกรรมและการเข้าร่วมโครงการ  ผุ้เข้าร่วมประชุมได้ให้ความสนใจในการเข้าร่วมโครงการเป็นอย่างดี  ณ.ศาลาอเนกประสงค์ประจำหมู่บ้าน  บ้านลำเปาเหนือ  หมู่ที่  11

 

0 0

3. - การจัดเวทีสานเสวนาโดยอาศัยความร่วมมือของรพ.เทพาหน่วยงานจิตบำบัดสังคม และแกนนำเยาวชนที่สามารถเลิกยาเสพติดมาเล่าประสบการณ์สาเหตุที่ติดยาและวิธีการลด ละ เลิกยาได้อย่างไร จำนวน 2 รุ่น

วันที่ 27 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อปรับเปลี่ยนความคิดของเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มไม่เสี่ยงเป็นไปในทางที่ดีขึ้นกว่าเดิม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-เยาวชนสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและรับทราบปัญหาของเยาวชนที่ติดสิ่งเสพติดทั้งกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มไม่เสี่ยง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

-  การจัดเวทีสานเสวนาโดยอาศัยความร่วมมือของรพ.เทพาหน่วยงานจิตบำบัดสังคม และแกนนำเยาวชนที่สามารถเลิกยาเสพติดมาเล่าประสบการณ์สาเหตุที่ติดยาและวิธีการลด ละ เลิกยาได้อย่างไร จำนวน  2  รุ่น

กิจกรรมที่ทำจริง

  • หน่วยงาน รพ.สต.ตำบลลำไพล อำเภอเทพา  จังหวัดสงขลา  ได้บรรยายเกี่ยวกับโทษที่ได้รับจากการเสพยาเสพติดและบอกวิธีการป้องกันและหลีกเลี่ยงจากสิ่งเสพติดให้แก่เยาวชนกลุ่มเสี่ยง  ณ.ศาลาอเนกประสงค์  ประจำหมู่บ้าน บ้านลำเปาเหนือ

 

0 0

4. - การจัดเวทีสานเสวนาโดยอาศัยความร่วมมือของรพ.เทพาหน่วยงานจิตบำบัดสังคม และแกนนำเยาวชนที่สามารถเลิกยาเสพติดมาเล่าประสบการณ์สาเหตุที่ติดยาและวิธีการลด ละ เลิกยาได้อย่างไร รุ่นที่ 2

วันที่ 3 ธันวาคม 2555 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  • เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับเยาวชนกลุ่มเสี่ยงเกี่ยวกับยาเสพติด

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-  เยาวชนกล้าที่จะเปิดใจซักถามวิทยากรในสิ่งที่ตนเองอยากทราบ  และสิ่งที่ตนเองกำลังประสบปัญหา 

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

-  การจัดเวทีสานเสวนาโดยอาศัยความร่วมมือของรพ.เทพาหน่วยงานจิตบำบัดสังคม และแกนนำเยาวชนที่สามารถเลิกยาเสพติดมาเล่าประสบการณ์สาเหตุที่ติดยาและวิธีการลด ละ เลิกยาได้อย่างไร จำนวน  2  รุ่น

กิจกรรมที่ทำจริง

  • บรรยายเกี่ยวกับภัยและโทษของยาเสพติดที่กำลังเกิดขึ้นในปัจจุบัน  และวิธีการป้องกันให้เยาวชนกลุ่มเสี่ยงได้ห่างไกลจากยาเสพติด  ได้รับคำบรรยายจาก  นายนาซอรี  สาเมาะ  ตำแหน่ง ประธานสำนักงานศูนย์ยุติธรรมจังหวัดสงขลา  สำนักงานควบคุมประพฤติจังหวัดสงขลา  (สาขานาทวี)และศูนย์ยุติธรรม  ตำบลำไพล ณ.ศาลาอเนกประสงค์ประจำหมู่บ้าน  บ้านลำเปาเหนือ

 

0 0

5. สรุปถอดบทเรียนจากการสานเสวนาเพื่อนำเสนอให้กับชุมชนรับทราบผ่านเวทีประชุมหมู่บ้านทุกวันที่ 15 ของเดือน -ให้ครอบครัวเยาวชนกลุ่มเสี่ยงได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ

วันที่ 15 ธันวาคม 2555 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

-เพื่อสรุปถอดบทเรียนจากการเสวนาให้กับเด็กและเยาวชน รวมถุึงกลุ่มผู้นำ พร้อมเตรียมเสวนากลุ่มแม่บ้านให้รับทราบเกี่ยวกับการดำเนินโครงการที่ผ่านมา

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-ทุกคนยอมรับในมติที่ได้จากการเสวนา 3.ทุกคนมีความสามัคคีและพร้อมที่จะปฏิบัติกิจกรรมที่จะดำเนินการครั้งต่อไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

สรุปถอดบทเรียนจากการสานเสวนาเพื่อนำเสนอให้กับชุมชนรับทราบผ่านเวทีประชุมหมู่บ้านทุกวันที่ 15 ของเดือน -ให้ครอบครัวเยาวชนกลุ่มเสี่ยงได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ

กิจกรรมที่ทำจริง

-เพื่อสรุปถอดบทเรียนจากการเสวนาให้กับเด็กและเยาวชน รวมถุึงกลุ่มผู้นำ พร้อมเตรียมเสวนากลุ่มแม่บ้านให้รับทราบเกี่ยวกับการดำเนินโครงการที่ผ่านมา

 

0 0

6. -จัดตั้งคณะทำงานเพื่อการขับเคลื่อนที่มีองค์ประกอบจาก 3 ภาคส่วน คือ ภาค ประชาชน ท้องถิ่น และหน่วยงานรัฐในพื้นที่และเยาวชนกลุ่มเสี่ยง -ร่วมกำหนด ร่างกติกา แผนการทำงาน คณะทำงานเพื่อการขับเคลื่อนโครงการ - การประชุมเพื่อกำกับติดตามโครงการ

วันที่ 2 มกราคม 2556 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพือปรึกษาหารือในกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน รายงานเหตุการณ์ -สร้างทีมงานที่มีแกนนำเยาวชนมาร่วมทำงานเพื่อการขับเคลื่อนโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-เยาวชนและผู้เข้าร่วมจำนวน 70 คนได้รับทราบและเข้าใจแนวทางในการทำงาน ตลอดจนให้ความร่วมมือในการดำเนินงาน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

-จัดตั้งคณะทำงานเพื่อการขับเคลื่อนที่มีองค์ประกอบจาก 3 ภาคส่วน คือ ภาค ประชาชน ท้องถิ่น และหน่วยงานรัฐในพื้นที่และเยาวชนกลุ่มเสี่ยง -ร่วมกำหนด ร่างกติกา แผนการทำงาน คณะทำงานเพื่อการขับเคลื่อนโครงการ
- การประชุมเพื่อกำกับติดตามโครงการ

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ชี้แจงสร้างความเข้าใจลักษณะในการดำเนินโครงการและได้มีวิทยากร  นางฟาตีเมาะ  หะยีสาเมาะ เป็นประธานกลุ่มสตรี  ตำบลทุ่งพอ  อำเภอสะบ้าย้อย  จังหวัดสงขลา  ณ.ศาลาอเนกประสงค์ประจำหมู่บ้าน  บ้านลำเปาเหนือ  มาให้ข้อเสนอแนะเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่ได้วางไว้

 

0 0

7. - พัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชน -กิจกรรมสำรวจแผนที่สุขภาวะ

วันที่ 15 มกราคม 2556 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

1.ชี้แจงทำความเข้าใจในเรื่องสุขภาพและการดูแลเอาใจใส่ของเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มไม่เสี่ยง 2.สร้างความตระหนักให้แก่แกนนำเยาวชนเพื่อปรับเปลี่ยนทัศนะคติมุมมองที่แตกต่างออกไปจากเดิม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.ครัวเรือนและเยาวชนกลุ่มเสี่ยงเคารพและให้เกียรติในการประชุม 2.ทุกคนมีความสามัคคีและพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากเดิม

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  • พัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชน -กิจกรรมสำรวจแผนที่สุขภาวะ

กิจกรรมที่ทำจริง

-กลุ่มเป้าหมายและครัวเรือนเป้าหมายเข้าอบรมรับฟังการบรรยายเกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชน  และได้ตั้งข้อเสนอแนะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในระหว่างกันประชุม  ทำให้ได้ทราบถึงความต้องการชุมชน  ณ.ศาลาประชาคม  บ้านลำเปาเหนือ  หมู่ที่  11

 

0 0

8. ติดตามโครงการโดย สจรส มอ. ครั้งที่ 1

วันที่ 18 มกราคม 2556 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

-ติดตามและให้คำแนะนำในจากพี่เลี้ยงการดำเนินการโครงการ โดย สจรส.มอ.

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการได้จัดส่งเอกสารรายงานประกอบด้วย รายงานผลการดำเนินงาน หรือ ส.1 รายงานการเงินงวด หรือ ง.1 รายงานการติดตามโครงการ หรือ ส.2 และภาพถ่ายกิจกรรมโดย สจรส.มอ.ได้ให้คำแนะนำในการดำเนินการโครงการ เห็นชอบในรายงาน และรับดำเนินการประสาน สสส. เพื่อเบิกจ่ายเงินงวดที่ 2 ต่อไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

-ติดตามโครงการ โดย สจรส.มอ. ครั้งที่ 1

กิจกรรมที่ทำจริง

-ติดตามและให้คำแนะนำในจากพี่เลี้ยงการดำเนินการโครงการ โดย สจรส.มอ.

 

0 0

9. จัดทำเครื่องมือสำรวจ

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

-เพื่อประเมินผลการดำเนินกิจกรรมโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-ทีมงานระดมวามคิดในการออกแบบการจัดทำเครื่องมือสำรวจ ซึ่งจะนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการลงพื้นที่เพื่อสำรวจข้อมูลสุขภาวะ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

-จัดทำเครื่องมือสำรวจ  รวมกลุ่มกับคณะกรรมการหมู่บ้านและทีมงานผู้จัดทำโครงการ

กิจกรรมที่ทำจริง

-ผู้รับผิดชอบโครงการและทีมงานเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น  ในการจัดทำเครื่องมือสำรวจ ณ.ศาลาประชาคมบ้านลำเปาเหนือ  หมู่ที่  11

 

0 0

10. -ลงพื้นที่สำรวจสถานการณ์สุขภาวะของคนในชุมชน จำนวน 2 ครั้ง/ตลอดระยะเวลาโครงการ(ติดตามข้อมูลสุขภาวะ)

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

-ลงพื้นที่สำรวจสถานการณ์สุขภาวะของคนในชุมชน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-ชาวบ้านได้ให้ความร่วมมือในการตอบคำถามเครืองมือสำรวจจากโครงการ -ชาวบ้านให้คำเสนอแนะบ้างในบางส่วน -ได้รับข้อมูลจากการตอบแบบสำรวจข้อมูลเพื่อนำข้อได้มาเป็นประโยชน์ในการทำกิจกรรมครั้งต่อไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

-ลงพื้นที่สำรวจสถานการณ์สุขภาวะของคนในชุมชน จำนวน 2 ครั้ง/ตลอดระยะเวลาโครงการ(ติดตามข้อมูลสุขภาวะ)

กิจกรรมที่ทำจริง

-ลงพื้นที่สำรวจสถานการณ์สุขภาวะของคนในชุมชน  ตามครัวเรือนที่ได้สุ่มสำรวจชาวบ้านได้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี  และได้รับการตอบรับจากการสำรวจ

 

0 0

11. -การสรุปข้อมูลแผนที่สุขภาวะนำเสนอให้กับชุมชนรับทราบผ่านเวที่ประชุมหมู่บ้านทุกวันที่ 15 ของเดือน

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อชี้แจงเกี่ยวกับรายละเอียดต่างๆ  ในการจัดทำแผนที่สุขภาวะ 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับทราบข้อมูลต่าง ๆเกี่ยวการทำกิจกรรมของโครงการและผู้เข้าร่วมประชุมได้เสนอแนะในการทำกิจกรรมครั้งต่อไปตลอดจนซักถามปัญหา ข้อสงสัยของโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

-การสรุปข้อมูลแผนที่สุขภาวะนำเสนอให้กับชุมชนรับทราบผ่านเวที่ประชุมหมู่บ้านทุกวันที่ 15 ของเดือน

กิจกรรมที่ทำจริง

  • ผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจงเกี่ยวกับกิจกรรมของโครงการทั้งหมดให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับทราบอย่างละเอียดและการสรุปข้อมูลแผนที่สุขภาวะนำเสนอให้กับชุมชน

 

0 0

12. กิจกรรมปฏิบัติการชุมชน 6 ครั้ง โดย 4 กิจกรรมแรกเป็นการกำหนดกิจกรรมจากวาระการประชุมของชุมชนและอีก 2 กิจกรรมเป็นการกำหนดจากเยาวชนกลุ่มเสี่ยงโดยเกิดจากความต้องการของเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ประกอบด้วย -ครั้งที่ 1 นำเยาวชนปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติ ตามแนวทางพระ

วันที่ 1 มีนาคม 2556 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

-เพื่อให้เยาวชกลุ่มเสี่ยงและไม่เสี่ยงได้มีการทำกิจกรรมร่วมกันสร้างความรักความสามัคคีในหมู่คณะ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม  50  คน ส่วนใหญ่เป็นนักเรียนชั้นมัธยม -เยาวชนส่วนใหญ่ รับรู้รับ ทราบร่วมกัน และพร้อมเดินหน้าทำโครงการให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพื่อร่วมสร้างสุขภาวะชุมชนให้น่าอยู่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

กิจกรรมปฏิบัติการชุมชน  6 ครั้ง โดย  4  กิจกรรมแรกเป็นการกำหนดกิจกรรมจากวาระการประชุมของชุมชนและอีก  2 กิจกรรมเป็นการกำหนดจากเยาวชนกลุ่มเสี่ยงโดยเกิดจากความต้องการของเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ประกอบด้วย -ครั้งที่ 1  นำเยาวชนปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติ ตามแนวทางพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

กิจกรรมที่ทำจริง

-เยาวชนกลุ่มเสี่ยงได้ร่วมกันปลูกต้นไม้  ณ.สถานที่สาธารณประโยชน์ในหมู่บ้าน โดยเป้าหมายที่วางไว้จำนวน 50ต้น แต่ได้ไม่ครบตามจำนวนที่วางไว้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 32 12                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 234,000.00 64,900.00                  
คุณภาพกิจกรรม 48 37                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

-

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นายอิบรอเหม เหล็มและ
ผู้รับผิดชอบโครงการ