แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการร่วมปลูกจิตสำนึกรักษ์บ้านชุมโค ”

บ้านชุมโค หมู่ที่ ๒ ตำบลชุมโค อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร

หัวหน้าโครงการ
นางฉลาด ชื่นแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการร่วมปลูกจิตสำนึกรักษ์บ้านชุมโค

ที่อยู่ บ้านชุมโค หมู่ที่ ๒ ตำบลชุมโค อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 55-01855 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0996

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2012 ถึง 31 ตุลาคม 2013


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมปลูกจิตสำนึกรักษ์บ้านชุมโค จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านชุมโค หมู่ที่ ๒ ตำบลชุมโค อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมปลูกจิตสำนึกรักษ์บ้านชุมโค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมปลูกจิตสำนึกรักษ์บ้านชุมโค " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านชุมโค หมู่ที่ ๒ ตำบลชุมโค อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร รหัสโครงการ 55-01855 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 213,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างและทำความเข้าใจร่วมกับสมาชิกในรายละเอียดของโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศโครงการ

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2012 เวลา 12:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการได้ฝึกลงบันทึกข้อมูลทางระบบอิเล็คทรอนิก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการยังไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ครอบคลุม  โอกาสต่อไปผู้รับผิดชอบโครงการไปเรียนรู้เพิ่มเติมกับพี่เลี้ยงจังหวัด

     

    0 0

    2. ประชุมชี่แจ้งโครงการ

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2012 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชี้แจงโครงการมีภาคส่วนต่างๆเข้าร่วมให้ข้อมูลและเป็นที่ปรึกษาแก่สมาชิกของชุมชน  และรับสมัครสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อเป็นแกนนำจิตอาสา  จำนวน  25  คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนมีความเข้าใจพึงพอใจและสมัครเข้าร่วมโครงการ 150 คน ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่เทศบาล และชาวบ้าน ซึ่งจะประชุมสมาชิกโครงการและชี้แจงการลงพื้นที่เก็บข้อมูลครั้งต่อไปภายหลังน้ำทะเลลดลง(เนื่องจากขณะนี้น้ำทะเลหนุนสูง ยังดำเนินการไม่ได้)

     

    0 0

    3. ร่วมประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการใช้จ่ายงบประมาณของโครงการ

    วันที่ 14 มกราคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตัวแทนเข้าร่วมประชุมชี้แจ้ง จำนวน 5 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เข้าใจและสามารถดำเนินการได้

     

    0 0

    4. ให้ความรู้สมาชิกโครงการเรื่องป่าชายเลน

    วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกโครงการและกลุ่มนักเรียนเข้าร่วมประชุมจำนวน 150 คน ร่วมกันจัดทำแบบ และแผนสำรรวจป่าชายเลนเพื่อเก็บข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกในชุมชน จำนวน 150 คน ประกอบด้วย เทศบาล และชาวบ้าน มีความเข้าใจในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและป่าชายเลนชุมชนร่วมกันเป็นอย่างดี

     

    0 0

    5. สำรวจทรัพากรป่าชายเลน

    วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำจิตอาสาและกรรมการหมู่บ้านการเข้าร่วมสำรวจทรัพยากรป่าชายเลน  ในพื้นที่ป่าชายเลนหมู่ที่ 2 ต.ชุมโค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำจิตอาสาและกรรมการหมู่บ้านเข้าใจและรับทราบถึงสาเหตุปัญหาการเสื่อมโทรม และการบุกรุกทำลายป่า และสามารถจัดทำข้อมูลผลการสำรวจทรัพยากรป่าชายเลนให้กับชุมชนได้รับทราบ

     

    0 0

    6. จัดประชุมระดมความคิดเห็นวางแผนและวางมาตรการของชุมชนร่วมกันในการจัดการป่าชานเลน

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมกันจัดทำแผนเพื่อวางแผนในการปลูกป่าและมีมาตราการของชุมชนในการจัดการป่าชายเลนและจัดหาพันธ์สัตว์น้ำ เพื่อความอุดมสมบูรณ์และอนุรักษ์ธรรมชาติเชิญวิทยากรจากกลุ่มอนุรักษ์และเจ้าหน้าที่จากเทศบาลชุมโคมาร่วมให้ความรู้เรื่องการวางแผนและวางมาตรการ ฯ โดยมีสมาชิกโครงการและกลุ่มนักเรียนเข้าร่วมประมาณ 150 คน  ร่วมกันจัดทำแผนชุมชนในการเฝ้าระวังปกป้องและฟื้นฟูทรัพยากรป่าชายเลนร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนเข้าใจและร่วมกันจัดทำแผนเพื่อวางแผนในการปลูกป่าและมีมาตราการของชุมชนในการจัดการป่าชายเลนและจัดหาพันธุ์สัตว์น้ำ เพื่อความอุดมสมบูรณ์และอนุรักษ์ธรรมชาติ

     

    0 0

    7. เฝ้าระวังพื้นที่ป่าชายเลน

    วันที่ 2 มีนาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเจ้าหน้าที่สำรวจ เจ้าหน้าที่เวรยาม และติดป้ายประกาศเพื่อห้ามมิให้เข้าไปบุกรุกและทำลายทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรสัตว์น้ำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดเจ้าหน้าที่ จำนวน 10 คน สำรวจ เจ้าหน้าที่เวรยาม และติดป้ายประกาศเพื่อห้ามมิให้เข้าไปบุกรุกและทำลายทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรสัตว์น้ำ เป็นเวลา 10 วัน ในระหว่างวันที่ 1กุมภาพันธ์ 2556 ถึงวันที่ 20 มีนาคม 2556

     

    0 0

    8. ติดต่อประสานงานกับสถานีเพาะพันธุ์สัตว์ทะเลและพันธุ์กล้าไม้ป่าชายเลนและจัดหารถไปขนพันธุ์กล้าไม้และพันธุ์สัตว์น้ำที่สถานีเพาะพันธุ์น้ำทะเล

    วันที่ 20 มีนาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทีมคณะทำงานไปขนพันธุ์กล้าไม้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ไปรับพันธุ์กล้าไม้

     

    0 0

    9. ประชุมติดตามโครงการของ สจรส.มอ.หาดใหญ่

    วันที่ 20 มีนาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการและทีมงานเข้าร่วมส่งรายงาน การตรวจสอบความถูกต้องของระบบรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบงานและคณะทำงาน จำนวน 2 คน เข้าร่วมพบพี่เลี้ยง สจรส.มอ.เพื่อตรวจสอบผลการดำเนินงานและการลงระบบรายงานให้เป็นปัจจุบัน

     

    0 0

    10. เดินทางไปรับพันธ์กล้าไม้

    วันที่ 21 มีนาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานจำนวน 15 คน เดินทางไปรับพันธ์กล้าไม้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานร่วมกันขนต้นกล้าและจัดลงในรถพร้อมทั้งนำไปวางไว้ในที่ที่จัดไว้ของชุมชน เพื่อรอปลูกป่า

     

    0 0

    11. เดินทางไปรับพันธ์กล้าไม้

    วันที่ 22 มีนาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานร่วมกันนำกล้าไม้จากศูนย์เพาะพันธุ์กล้าไม้ตำบลปากคลอง อำเภอปะทิวไปยังพื้นที่ที่จัดเตรียมไว้สำหรับอนุบาลต้นไม้ของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เป็นการเดินทางไปรับพันธุ์กล้าไม้เป็นครั้งที่ 3 รวมต้นไม้มี่รับมาทั้งสิ้นที่อยู่ที่พื้นที่อนุบาลของชุมชน 6,000 ต้น

     

    0 0

    12. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 2 เมษายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่สำรวจและติดตามทรัพยากรป่าชายเลน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อาสาสมัครลงพื้นที่เฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

     

    0 0

    13. ร่วมประชุมตรวจเอกสารการเงินโครงการ กับ สจรส.

    วันที่ 4 เมษายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมประชุมทำความเข้าใจรายงานเอกสารและการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วมประชุมทำความเข้าใจรายงานเอกสารและการเงิน

     

    0 0

    14. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 5 เมษายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมอาสาสมัครลงพื้นที่ี่สำรวจทรัพยากร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อาสาสมัครลงพื้นที่สำรวจทรัพยากร

     

    0 0

    15. เบิกจ่ายงบประมาณในการประชุมคณะกรรมการ

    วันที่ 6 เมษายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการด้านงบประมาณ ธุรการ ผู้รับผิดชอบโครงการร่วมกันพิจารณารายรับรายจ่ายของโครงการที่ดำเนินการผ่านไปแล้ว ให้เป็นปัจจุบัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานทั้ง 13 คน ร่วมกันพิจารณาตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณที่ดำเนินการไปแล้วทั้งในงวดที่ 1 และงวดที่ 2 พบว่าการใช้จ่ายบางกิจกรรมเช่น การประชุมคณะกรรมการโครงการยังไม่มีการเบิกจ่ายเป็นปัจจุบัน จึงดำเนินการให้เป็นปัจจุบัน จนถึงเดือน เม.ย.56

     

    0 0

    16. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 7 เมษายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อาสาสมัครลงพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมอาสาสมัตรลงพื่้นที่สำรวจทรัพยากร

     

    0 0

    17. เฝ้าระวังพื้นที่ป่าชายเลน

    วันที่ 8 เมษายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำอาสาสมัครเฝ้าระวังลงพื้นที่ตรวจตราและเฝ้าระวังพื้นที่ป่าชายเลน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำอาสาสมัครเฝ้าระวังป่าชุมชน ลงพื้นที่สำรวจตรวจตราทรัพยากรป่าชายเลนโดยรอบ 2 กิโลเมตร

     

    0 0

    18. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 9 เมษายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมอาสาสมัครลงพื้นที่สำรวจและเฝ้าระวังรักษาทรัพยากรในพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมอาสาสมัครลงพื้นที่สำรวจและเฝ้าระวังรักษาทรัพยากรในพื้นที่

     

    0 0

    19. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 10 เมษายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมอาสาสมัครลงพื้นที่สำรวจและเฝ้าระวังรักษาทรัพยากรในพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทีมอาสาสมัครสำรวจการบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าชายเลน


     

    0 0

    20. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 15 เมษายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทีมอาสาสมัครสำรวจการบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าชายเลน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทีมอาสาสมัครสำรวจการบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าชายเลน

     

    0 0

    21. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 17 เมษายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทีมอาสาสมัครสำรวจการบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าชายเลน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทีมอาสาสมัครสำรวจการบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าชายเลน

     

    0 0

    22. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 18 เมษายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทีมอาสาสมัครสำรวจการบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าชายเลน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทีมอาสาสมัครสำรวจการบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าชายเลน

     

    0 0

    23. จัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลนและปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำร่วมกันทั้งที่กำหนดขึ้นและวันสำคัญๆในชุมชน

    วันที่ 20 เมษายน 2013 เวลา 09:00 - 15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกในชุมชน และโรงเรียนร่วมปลูกป่าชายเลน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ปลูกป่าชายเลนจำนวน 2000 กล้า ผู้เข้าร่วม 150 คน

     

    0 0

    24. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 20 เมษายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมแกนนำอาสาสมัครลงพื้นที่สำรวจและเฝ้าระวังรักษาทรัพยากรในพื้นที่ ติดตามอย่างต่อเนื่องตลอดการดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมแกนนำอาสาสมัคร จำนวน 10 คน ลงพื้นที่สำรวจและเฝ้าระวังรักษาทรัพยากรในพื้นที่ติดตามอย่างต่อเนื่องตลอดการดำเนินโครงการ

     

    0 0

    25. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 22 เมษายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมอาสาสมัครลงพื้นที่สำรวจและเฝ้าระวังรักษาทรัพยากรในพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมอาสาสมัครลงพื้นที่สำรวจและเฝ้าระวังรักษาทรัพยากรในพื้นที่

     

    0 0

    26. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 5 พฤษภาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทีมอาสาสมัคร จำนวน 10 คน ลงพื้นที่สำรวจการบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าชายเลน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมอาสาสมัคร จำนวน 10 คน สำรวจการบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าชายเลนไปทางทิศตะวันออกระยะทาง 2 กิโลเมตร พื้นที่สำรวจส่วนใหญ่มีลักษณะเสื่อมโทรม เกือบ 80 % และถูกบุกรุกทำนากุ้ง ประมาณ 20 %

     

    0 0

    27. ประชุมคณะทำงานโครงการ

    วันที่ 5 พฤษภาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการนำผลการดำเนินงานเสนอที่ประชุมเพื่อดำเนินการปรับปรุงและหาแนวทางในการดำเนินกิจกรรมต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน 13 คน นำข้อมูลการจัดกิจกรรมที่ดำเนินการไปแล้วนำเสนอต่อที่ประชุมสมาชิกชุมชนที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 37 คน เพื่อสรุปผลการดำเนินงานและหาแนวทางในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป ซึ่งสมาชิกให้มีการดำเนินการตามแผนงานของโครงการ

     

    0 0

    28. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมอาสาสมัครส ลงพื้นที่สำรวจการบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าชายเลน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ระยะทางที่ลงสำรวจประมาณ 2 กิโลเมตร ป่าชายเลนที่สำรวจจะเป็นป่าปรงและหวายที่มีลักษณะเสื่อมโทรมปานกลาง และพื้นที่ที่เคยเป็นนากุ้ง และได้รับคืนจากผู้ประกอบการ ที่ปรับสภาพเป็นที่ราบยังเป็นพื้นที่ว่างที่ต้องปลูกป่าเพิ่มเติม

     

    0 0

    29. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 9 พฤษภาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมอาสาสมัครสำรวจการบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าชายเลน และดูแลบำรุงรักษาพื้นที่ป่าที่ได้รับการปลูกป่ามาประมาณ 1 ปี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมอาสาสมัครสำรวจพื้นที่ร่วมกับทีมอนุรักษ์ ในพื้นทีที่มีการปลูกป่ามาแล้วเป็นเวลา 1 ปี โดยช่วยกันทำลายวัชพืช ตกแต่งและบำรุงรักษาพันธ์ไม้ที่ขึ้นอยู่ รวมทั้งสำรวจจำนวนพันธ์ไม้ที่ตาย เพื่อจัดการปลูกเสริม

     

    0 0

    30. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 11 พฤษภาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมอาสาสมัครสำรวจการบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าชายเลน ลงพื้นที่ต่อจากวันที่ 9 พ.ค. เพื่อตกแต่ง บำรุงพันธ์ไม้ที่ปลูกไว้ ในพื้นที่ 20 ไร่ เนื่องจากมีวัชพืชขึ้นอยู่เป็นจำนวนมาก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมอาสาสมัครสำรวจการบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าชายเลน ลงพื้นที่ตกแต่งบำรุงพื้นที่ป่า ได้พื้นที่ประมาณ 1 ไร่ในแต่ละครั้ง

     

    0 0

    31. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 13 พฤษภาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมอาสาสมัครลงพื้นที่สำรวจและเฝ้าระวังรักษาทรัพยากรในพื้นที่ฝั่งทิศตะวันออก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมอาสาสมัครลงพื้นที่สำรวจและเฝ้าระวังรักษาทรัพยากรในพื้นที่ พบว่าสภาพพื้นที่พื้นที่เป็นที่ว่าง พร้อมที่จะลงพันธ์ไม้อีก 1 แปลง ประมาณ 2 ไร่เศษ

     

    0 0

    32. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 15 พฤษภาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมอาสาสมัครฯและเจ้าหน้าที่หน่วยอนุรักษ์ป่าชายเลน ลงพื้นที่สำรวจป่าชายเลนต่อเนื่องจากพื้นที่เดิม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ช่วยเหลือพื้นที่ที่สำรวจ 5 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นปรง พืชตระกูลหวาย และต้นปอ ซึ่งเป็นไม้น้ำที่เป็นลักษณะของวัชพืชเป็นที่ทำลายพันธ์ไม้มากกว่า

     

    0 0

    33. สำรวจติดตามผลความสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม(ป่าชายเลน/สัตว์น้ำ)

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดอาสาสมัครที่มีความเป็นจิตอาสาในหมู่บ้านจำนวน 50 คน ร่วมสำรวจและปรับพื้นที่ป่าชายเลน จำนวน 7 ครั้ง คือ วันที่ 5 , 15,20 มิถุนายน 2556 และ 5,15,20,15 กรกฎาคม 2556

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการจัดทำแนวเขต และติดตามผลความอุดมสมบูรณ์ และมีการพัฒนาพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

     

    0 0

    34. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 18 พฤษภาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมอาสาสมัครลงพื้นที่สำรวจและเฝ้าระวังรักษาทรัพยากรในพื้นที่ เพิ่มเติมอีก 3 กิโลเมตร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมอาสาสมัครลงพื้นที่สำรวจพื้นที่เพิ่มเติมอีก 3 กิโลเมตร พบว่าเป็นพื้นที่ป่าตาตุ่มและเสม็ด ซึ่งหากปล่อยไว้ ต่อไปจะกลายเป็นพื้นที่ดอน ไม่เป็นป่ายชายเลนอีกต่อไป

     

    0 0

    35. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 20 พฤษภาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมอาสาสมัครสำรวจการบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าชายเลน ต่อจากครั้งที่แล้ว เป็นพื้นที่ประมาณ 2 กิโลเมตร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พื้นที่ที่สำรวจส่วนใหญ่เป็นป่าเสม็ดและป่าจาก และต้นปอ ซึ่งเป็นพื้นที่ดอนขึ้นมา คงไม่ต้องดำเนินการ หากต้องการให้เป็นป่าชายเลนต้องใช้รถขุดซึ่งสิ้นเปลืองงบประมาณ

     

    0 0

    36. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 22 พฤษภาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมอาสาสมัครลงพื้นที่สำรวจและเฝ้าระวังรักษาทรัพยากรในพื้นที่ ติดตามอย่างต่อเนื่องตลอดการดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมอาสาสมัครลงพื้นที่สำรวจและเฝ้าระวังรักษาทรัพยากรในพื้นที่ ติดตามอย่างต่อเนื่องตลอดการดำเนินโครงการ

     

    0 0

    37. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 25 พฤษภาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมอาสาสมัครลงพื้นที่สำรวจและเฝ้าระวังรักษาทรัพยากรในพื้นที่ ติดตามอย่างต่อเนื่องตลอดการดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมอาสาสมัครลงพื้นที่สำรวจและเฝ้าระวังรักษาทรัพยากรในพื้นที่ ติดตามอย่างต่อเนื่องตลอดการดำเนินโครงการ

     

    0 0

    38. ประชุมสรุปผลการดำเนินงานทุกเดือน

    วันที่ 5 มิถุนายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมตามแผนการดำเนินงานทุกเดือนตั้งแต่เดือนตุลาคม 55 -  สิงหาคม 56 รวม 11 เดือน-

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดประชุมสรุปผลการดำเนินงานและชี้แจงการดำเนินกิจกรรมในที่ประชุม-

     

    0 0

    39. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 5 มิถุนายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมคณะทำงาานและทีมอาสาลงพื้นที่สำรวจป่าชายเลน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมคณะทำงาานโครงการและทีมจิตอาสา จำนวน 50 คน ลงพื้นที่สำรวจความอุดมสมบูรณ์ของสัตว์น้ำที่มีอยู่ในพื้นที่ป่าชายเลน พบว่า พื้นที่มีสัตว์น้ำประเภท ปูเสม หอยจุ๊บแจง หอยพู่กัน หอยพู่เก้ง หอยกล้วย ปูดำ มีเล็กน้อย

     

    0 0

    40. ร่วมประชุมตรวจเอกสารการเงินโครงการ กับ สจรส.

    วันที่ 11 มิถุนายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมพี่เลี้ยงจังหวัดและสจรวฃส.มอ.ร่วมกันตรวจระบบรายงานให้สอดคล้องกับรายงานงบประมาณ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการดำเนินงานในระบบรายงานไม่เป็นปัจจุบันและไม่สอดคล้องกับระบบรายงานการเงิน ต้องเร่งเพิ่มเติมข้อมูล

     

    0 0

    41. ร่วมประชุมตรวจเอกสารการเงินโครงการ กับ สจรส.

    วันที่ 12 มิถุนายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำความเข้าใจการรายงานผลการดำเนินกิจกรรม

     

    0 0

    42. จัดทีมอาสาสมัครเฝ้าระวังรักษาป่าชายเลน

    วันที่ 15 มิถุนายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทีมอาสาสมัครสำรวจการบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าชายเลน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทีมอาสาสมัครสำรวจการบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าชายเลน

     

    0 0

    43. ประชุมสรุปผลการดำเนินงานทุกเดือน

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมตามแผนการดำเนินงานทุกเดือนตั้งแต่เดือนตุลาคม 55 -  สิงหาคม 56 รวม 11 เดือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดประชุมสรุปผลการดำเนินงานและชี้แจงการดำเนินกิจกรรมในที่ประชุม

     

    50 50

    44. ประชุมสรุปผลการดำเนินงานทุกเดือน

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมงานและแกนนำ 50 คน ร่วมกันสำรวจทรัพยากรฯ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำและทีมงานอาสาและเจ้าหน้าที่อนุรักษ์ร่วมกันสำรวจทรัพยากรธรรมชาติและความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ป่าชายเลน จำนวน 3 ไร่ พบสัตว์น้ำประเภทหอยและปูเพิ่มจำนวนมากขึ้น สำหรับปลามีจำนวนมากขึ้นเช่นกันแต่ส่วนใหญ่จะไปอาศัยอยู่ในลำคลอง

     

    50 50

    45. สำรวจป่าชายเลน

    วันที่ 15 กรกฎาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำชุมชนคณะทำงานทีมงานอาสาสมัคร ร่วมกันลงพื้นที่สำรวจทรัพยากรในพื้นที่ป่าชายเลน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สำรวจความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรในพื้นที่ป่าชายเลน จำนวน 20 ไร่ พบว่ามีทรัพยากรประเภทปูดำและหอยเพิ่มปริมาณมากขึ้น

     

    50 50

    46. ติดตอขอรับพันธุืกล้าไม้

    วันที่ 24 กรกฎาคม 2013 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จ้างรถบรรทุกพันธุ์กล้าไม้จำนวน 1 คัน บรรทุกพันธุ์กล้าจากทุ่งมหา ตำบลปากคลอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รถรับจ้างบรรทุกพันธุ์กล้าไม้จำนวน 2,500 ต้น จำนวน 1 เที่ยว จากบ้านทุ่งมหา ตำบลปากคลอง ถึง บ้านชุมโค

     

    2,500 2,500

    47. ประชุมติดตามโครงการจากพี่เลี้ยงสจรส.มอ.

    วันที่ 2 สิงหาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานจำนวน 3 คน ร่วมกันตรวจสอบเอกสาร การลงระบบรายงานให้เป็นปัจจุบัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ระบบรายงานยังไม่สมบูรณ์เนื่องจากรายงานทางการเงินและกิจกรรมยังไม่สอดคล้องกัน

     

    0 3

    48. ประชุมคณะทำงานร่วมกับชุมชนเพื่อสรุปผลการดำเนินงานประจำเดือน

    วันที่ 5 สิงหาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมชี้แจงผลการดำเนินงานแก่สมาชิกชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานร่วมกับทีมงานอาสาสมัคเฝ้าระวังเฝ้าระวังป่า ร่วมประชุมชี้แจงผลการดำเนินงานแก่สมาชิกชุมชนจำนวน 50 คน

     

    50 50

    49. ปลูกป่าชายเลน

    วันที่ 19 สิงหาคม 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกชุมชนร่วมกับภาคส่วนต่างๆ ลงพื้นที่ร่วมปลูกป่าชายเลน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการปลูกป่าทำให้ได้เนื้อที่ที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น จำนวน 2 ไร่ ตพันธ์ไม้ 3,000 ต้น

     

    150 150

    50. ประชุมคณะทำงานร่วมกับชุมชนเพื่อสรุปผลการดำเนินงานประจำเดือน

    วันที่ 5 กันยายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงผลการดำเนินงานโครงการแก่ชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานรายงานผลการทำงานแก่สมาชิกชุมชนที่เข้าร่วมประชุมถึงผลของการดำเนินงานโครงการ

     

    50 50

    51. พี่เลี้ยงสสส.นัดติดตามโครงการ

    วันที่ 9 กันยายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการรายงานผลการดำเนินงานแก่พี่เลี้ยงสสส.จังหวัดทั้งรายงานกิจกรรม การเงิน และรายงานออนไลน์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงติดตามโครงการสสส.ติดตามการดำเนินงานโครงการทั้งรายงานกิจกรรม รายงานการเงิน รายงานออนไลน์ พบว่ามีข้อที่ต้องแก้ไขเพิ่มเติมบางส่วน

     

    2 2

    52. ประชุมสรุปบทเรียนและผลการดำเนินงานโครงการ

    วันที่ 15 กันยายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานนำผลการสรุปของโครงการเสนอแก่สมาชิกชุมชนและร่วมคิดแนวทางในการต่อยอดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานจำนวน 13 คน นำผลการดำเนินงานเสนอแก่ สมาชิกโครงการและสมาชิกชุมชน จำนวน 100 คน และร่วมกันคิดหาแนวทางในการต่อยอดโครงการปีต่อไป ซึ่งสมาชิกร่วมกันสรุปว่าจะทำต่อโดยยังคงกิจกรรมทวงคืนพื้นที่ป่าและปลูกป่าเพิ่มเติม รวมทั้งพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยงเชิงอนุรักษ์และเป็นแหล่งเรียนรู้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สมบูรณ์แบบ

     

    100 100

    53. เข้าร่วมงานชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่อำเภอปะทิว

    วันที่ 18 กันยายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงาน นำกิจกรรมจัดนิทรรศการ ร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และรับฟังการเสวนาของเพื่อนสมาชิกโครงการในงานคนชุมพรสร้างสุข ณ สวนสาธารณะเทศบาลเมือลชุมพร ในระหว่างเวลา 09.30-20.00 น.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน จำนวน 2 คน นำเอกสาร อุปกรณ์การจัดนิทรรศการงานคนชุมพรสร้างสุข และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับโครงการต่างๆ ของ ปี 55 และ ปี 54 ต่อยอดปี 2 รวมทั้งรับฟังการเสวนาของเพื่อสมาชิกโครงการจากทุกอำเภอ ภาคค่ำร่วมรับประทานอาหาร และกิจกรรมสัมพันธ์

     

    5 3

    54. ประชุมเรื่องการจัดทำรายงานและการสรุปยอดบัญชีรายจ่าย

    วันที่ 19 กันยายน 2013 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานร่วมกันตรวจสอบรายงานและเอกสารทางการเงินเพื่อเตรียมสรุปปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน 2 คน ร่วมกันจัดทำข้อมูลลงบันทึกรายละเอียดและจัดทำรายงานทางการเงิน ตั้งแต่ 09.30 - 17.30 น. เดินทางกลับ

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างและทำความเข้าใจร่วมกับสมาชิกในรายละเอียดของโครงการ
    ตัวชี้วัด : สมาชิกชุมชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างและทำความเข้าใจร่วมกับสมาชิกในรายละเอียดของโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการร่วมปลูกจิตสำนึกรักษ์บ้านชุมโค

    รหัสโครงการ 55-01855 รหัสสัญญา 55-00-0996 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    หลังจากได้มีการเรียนรู้จากการอนุรักษ์ป่า ชายเลน ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง เมื่อเกิดปัญหา ได้ร่วมแก้ไขปัญหา พบว่าความพร้อม ความจริง ใจ ตั้งใจ และมีสุขภาพกายจิต จะนำไปสู่ความสำเร็จได้ เกิดความภูมิใจ ชุมชนก็จะมีสุขภาวะที่ดี ได้

    การจัดประชุม

    การสร้างทีมวิทยากรของชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    -แหล่งอาชีพ/แหล่งอาหารธรรมชาติเพิ่มขึ้น -ทรัพยากรป่าชายเลน

    จากการสำรวจความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรป่าชายเลน ที่มีสัตว์น้ำ ที่มากขึ้นจำนวนต้นไม้ที่เพิ่มขึ้น

    ขยายพื้นที่ให้ครอบคุมทั้งพื้นที่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    การทวงคืนพื้นที่ป่าจากนายทุน

    พื้นที่ป่าที่ได้คืนจากนายทุน

    สร้าให้เป็นป่าชายเลนที่อุดมสมบูรณ์และให้มีการเฝ้าระวังการบุกรุกใหม่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    ให้ความรู้ประชาชนด้านการอนุรักษ์

    คนในชุมชน

    ขยายไปสู่บุคคลทั่วไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    -แหล่งเรียนรู้ด้านทรัพยากรธรรมชาติป่าชายเลนบ้านชุมโค ที่ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านดอนทราย/นักศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีพระนครเหนือฯ

    พื้นที่ป่าชายเลน

    พัฒนาเป็นพื้นที่ศึกษาดูงานและแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ทางธรรมชาติป่าชายเลนบ้านชุมโค

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

    มีการปลูกผักปลอดสารพิษ ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด

    คนในชุมชน ที่ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และหันมาทำเกษตรปลอดสารพิษ

    มีการรณรงค์ในพื้นที่ม.2 ให้มีการปลูกผักปลอดสารพิษ และ ดูแลเยาวชน ให้ห่างไกลจากยาเสพติด

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน

    ครอบครัวนางนิตยา ครอบครัวนางกิมเจ้ง

    ช่วยเหลือและให้ความรู้เร่ือง คนไทยไร้พุง
    และการออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    รู้จักบริโภคผักปลอดสารพิษที่ปลุกเอง

    สมาชิกที่ร่วมโครงการ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    มีการรณรงค์การออกกำลังกายทุกวัน วันละ 30 นาที และการรวมตัวเต้นแอรบิค ทุกวันหลังเลิกงาน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    มีการดูแล เอาใจใส่ผู้ที่ติดสารเสพติดให้ลดการเสพ จนเลิกได้ และ มีประชาชนที่ ลด ละ เลิก การเสพสารเสพติด

    -ผู้นำการลดละเลิกอบายมุขในชุมชน ได้แก่ นายโกศล วัดล้อม 62/3 ม.2(บุหรี่) นายสมศักดิ์  วัดล้อม 62/2 ต.ชุมโค(เหล้า) นายประเสริฐ  แสงจันทร์ บ้านเลขที่ 69  ม.2(เหล้า/บุหรี่) - การใช้สมุนไพรในการรักษาโรคเบาหวาน ใช้มะลุม นำมาชงชา(นางลาวัลย์  มลนิมิตร( 68/1 ม.2) - มีการคัดแยกขยะในครัวเรือน (แยกขยะรีไซเคิลขาย/ทำปุ๋ยหมัก)เรื่องขยะมูลฝอยยังไม่เป็นปัญหาในพื้นที่ - มีการใช้ปุ๋ยชีวภาพใช้ผสมกับปุ๋ยเคมีในสวน - ได้คืนพื้นที่ปลูกป่าชายเลนจากชาวบ้านในพื้นที่ประมาณ 180 ไร่ โดยประชาชนในพื้นที่ร่วมกับหน่วยงานราชการ กรมป่าไม้ - ขาดการวางมาตรการกฏกติกาการใช้พื้นที่
    - มีความภาคภูมิใจในการอนุรักษ์ทรัพยากร ดูจาก มีทรัพยากรเพิ่มขึ้น ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากพื้นที่ - มีความเอื้ออาทรในชุมชน พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน

    ขยายกลุ่มผู้ที่จะเลิกเสพในกลุ่มชุมชนตนเอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    มีการสร้างเสริมวัฒนธรรมร่วม และรวมกลุ่มกันออกกำลังกาย

    การรวมกลุ่มกันเต้นแอรบิค ของผู้สูงอายุ การรวมตัวเล่นฟุตบอล ของวัยรุ่นบางกลุ่ม

    จัดกิจกรรมหลังทำงานแต่ละวัน ไม่ว่าจะเป็น การแข่งขันกีฬาสามัคคี การแต้นแอรบิค หรือ อื่นๆ เพื่อให้ผู้ที่เครียดจากการทำงานได้ ผ่อนคลาย และจะขยายไปสู่กลุ่มวัยรุ่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    เป็นแหล่งสมุนไพรในป่าชายเลน

    นายทวี บุญพา นางนวลจริง ชูชวัฏ

    มีการถ่ายทอดความรู้สู่คนรุ่นหลัง และ จัดทำเป็นเอกสารเผิยแพร่ให้บุคคลทั่วไปได้รุ้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    -การเปลี่ยนบ่อกุ้งร้างและพื้นที่ว่างเปล่าจากการบุกรุกของนายทุนเป็นป่าชายเลนโดยการประสานงานกับกองทัพเรือในการช่วยปรับพื้นที่

    การมีทรัพยากรป่ายชายเลนที่อุดมสมบูรณ์

    พัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้เรื่องการจัดการป่าชายเลน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    จัดสถานที่ลานกิจกรรมของชุมชน และ มีการอนุรักษ์ประเพณีพื้นบ้านท้องถิ่น

    วัยรุ่น เยาวชน หันมาให้ความสำคัญกับประเพณี

    มีการณณรงค์การปลูกจืตสำนึกการทำงานสุจริจ และ การชวนเด็กและเยาวชนเข้าร่วมพิธีทางศาสนา เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีให้แก่เยาวชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    มีทรัพยากรป่าชายเลนที่สมาชิกชุมชนใช้เป็นแหล่งอาหารแหล่งรายได้ที่มั่นคงได้

    รายได้จากการจำหน่ายสินค้าชุมชน(รายได้ต่อหัว)

    มีการรวมกลุ่ม เพื่อ พัฒนาผลผลิตในชุมชนให้มี คุณค่าเพิ่มขึ้น และการจัดตั้งกลุ่ม  OTOP หมู่บ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    ในชุมชน ห้ามบุกรุกป่าชายเลน ห้ามตัดไม้ จับสัตว์น้ำที่ตัวเล็ก ห้ามใช้สารเคมี เช่น ปูนขาว แก๊ส หยอดหรือหว่าน รูปู ผู้ใดฝ่าฝืนจะต้องโทษ ของชุมชน และป่าชายเลน

    ในพื้นที่ป่าชายเลน

    มีการเฝ้าระวัง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

    มีการบันทึกและลายเซ็นต์ของผู้ใหญ่บ้าน

    ในพื้นที่ป่าชายเลนของหมู่บ้าน

    ให้เป็นกฎของหมู่บ้าน

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    อาสาสมัครพิทักสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติร่วมกับภาครัฐ เช่น เทศบาล โรงเรียน โรงเรียนพยาบาล มีการวางแผนระดมความคิดในการดำเนินงาน และรู้ปัญหาในชุมชน

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชน โดยการทำประชาคม

    ร่วมกันพัฒนาและให้ความรู้ภายในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    มีการระดมทุน ในการดำเนินการในชุมชน ช่วยกันขนต้นกล้ามาทำกิจกรรมปลูกป่า

    การใช้รถของ นายทวี บุญพาและรถของ นายนุพงษ์ พิทักษ์

    จัดตั้งกองทุนป่าชายเลน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    มีการสำรวจป่า และปลูกทดแทนดูแล และปลูกเพิ่มที่เสียหาย

    มีการออกปฏิทินในการทำงาน

    พัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว และเรียนรู้ เชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    มีความสำเร็จในโครงการปลูกป่าชายเลน และพัฒนาชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ และอนุรักษ์ ทรัพกรสิ่งแวดล้อม

    มีป่าไม้และน้ำที่อุดมสมบูรณ์

    ปลุกจิตสำนึกให้คนในชุมชนรู้จักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    มีป่าอุดมสมบูรณ์และเป็นแหล่งอาหารของชุมชน ที่อยู่ใกล้บ้าน

    ป่าในชุมชน

    เกิดความอุดมสมบูรณ์ของป่าและสัตว์น้ำต่างๆ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    ปลูกผักปลอดสารพิษ และเลี้ยงสัตว์เพื่อการบริโภคและการค้า

    ในครอบครัวผู้ปฏิบัติ

    นำมาแพร่ในชุมชน ให้กลายเป็นชุมชนพึ่งตนเอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    อยู่กันแบบพี่น้องช่วยเหลือพึ่งพาซึ่งกันและกัน

    ชุมชนบ้านชุมโคและพื้นที่ใกล้เคียง

    ปรึกษาและให้ความคิด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    แลกเปลี่ยนความคิดมีการประชุมประชาคมหมู่บ้าน

    ประชาชน

    ปรึกษาและให้ความคิดร่วมกัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการร่วมปลูกจิตสำนึกรักษ์บ้านชุมโค จังหวัด ชุมพร

    รหัสโครงการ 55-01855

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางฉลาด ชื่นแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด