directions_run

โครงการลดหนี้เพิ่มรายได้สู่ชุมชนบ้านทอนจันทร์น่าอยู่

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการลดหนี้เพิ่มรายได้สู่ชุมชนบ้านทอนจันทร์น่าอยู่ ”

บ้านทอนจันทร์ หมู่ที่ 11 ตำบลหาดยาย อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

หัวหน้าโครงการ
นายวิทูร กลับดี

ชื่อโครงการ โครงการลดหนี้เพิ่มรายได้สู่ชุมชนบ้านทอนจันทร์น่าอยู่

ที่อยู่ บ้านทอนจันทร์ หมู่ที่ 11 ตำบลหาดยาย อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 55-01906 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0990

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดหนี้เพิ่มรายได้สู่ชุมชนบ้านทอนจันทร์น่าอยู่ จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านทอนจันทร์ หมู่ที่ 11 ตำบลหาดยาย อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดหนี้เพิ่มรายได้สู่ชุมชนบ้านทอนจันทร์น่าอยู่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดหนี้เพิ่มรายได้สู่ชุมชนบ้านทอนจันทร์น่าอยู่ " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านทอนจันทร์ หมู่ที่ 11 ตำบลหาดยาย อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร รหัสโครงการ 55-01906 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 213,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อชี้แจงและสร้างความเข้าใจแก่สมาชิกชุมชนเรื่องโครงการและงบประมาณที่ชุมชนได้รับ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศโครงการ

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2555 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • รับฟังการบรรยายเกี่ยวกับการบริหารดำเนินงานโครงการ
    • อบรมการบันทึกข้อมูล และการทำรายงานโครงการบนเว็บเพจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ความรู้เรื่องการบริหารจัดการโครงการที่มีประสิทธิภาพ
    • ฝึกการลงบัญชีและการลงรายงานในเว็บเพจที่โรงแรมทวินโลตัส จังหวัดนครศรีธรรมราช

     

    0 0

    2. ประชุมชี้แจงโครงการ

    วันที่ 9 พฤศจิกายน 2555

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมชี้แจงโครงการและจัดตั้งทีมงานรับผิดชอบ
    • เชิญวิทยากรในชุมชนร่วมชี้แจงถึงประโยชน์ที่ชุมชนจะได้รับจากการเข้าร่วมโครงการ
    • เปิดรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ที่ประชุมทราบถึงหลักการและการทำงานของโครงการ
    • มีผู้สมัครเข้าร่วมเป็นทีมงานเพิ่มขึ้น จำนวน 2 คน และมีการแบ่งภาระหน้าที่รับผิดชอบของคณะทำงานแต่ละคน
    • มีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งสิ้น 72 คน และสมัครเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 50 คน โดยจัดการประชุมที่ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ม.11 ต.หาดยาย อ.หลังสวน จ.ชุมพร
    • กำนัน ต.หาดยาย ได้รับเกียรติมาเป็นประธานในพิธีเปิดโครงการ

     

    0 0

    3. อบรมการทำบัญชีครัวเรือน

    วันที่ 8 ธันวาคม 2555

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดอบรมการทำบัญชีครัวเรือนเพื่อให้แต่ละครัวเรือนบันทึกรายรับและรายจ่ายได้อย่างถูกต้อง
    • อธิบายถึงความสำคัญของการทำบัญชีครัวเรือน
    • ให้ความรู้และความสำคัญเรื่องอาชีพเสริม
    • สาธิตการเพาะเห็ดเพื่อสร้างอาชีพเสริม
    • ให้สมาชิกในโครงการฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดในทุกขั้นตอน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรมจำนวนทั้งสิ้น 50 คน วิทยากรจำนวน 5 คน
    • สมาชิกมีความเข้าใจในการบันทึกบัญชีครัวเรือน และเห็นถึงความสำคัญของการทำบัญชีครัวเรือน
    • สมาชิกให้ความสนใจในการสร้างอาชีพเสริม และได้ความรู้ ความเข้าใจพร้อมทั้งสามารถนำความรู้เรื่องการเพาะเห็ดไปใช้สร้างอาชีพเสริมของตนเองได้
    • สมาชิกในโครงการได้รับการฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดในทุกขั้นตอน จนสามารถนำไปปฏิบัติด้วยตัวเอง

     

    0 0

    4. พี่เลี้ยงติดตามโครงการครั้งที่ 1

    วันที่ 14 มกราคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • บันทึกรายงานผลการดำเนินกิจกรรมเพิ่มเติมบนเว็บเพจของโครงการ
    • แสดงเอกสารเกี่ยวกับการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีความก้าวหน้าในการบันทึกผลการดำเนินงานบนเว็บเพจของโครงการ
    • มีความรู้เรื่องการรวบรวมเอกสารและข้อมูลที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น

     

    0 0

    5. ประชุมติดตามโครงการ พี่เลี้ยง สจรส.มอ.

    วันที่ 5 มีนาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบเข้าร่วมประชุมและลงข้อมูลเป็นปัจจุบันโดยมีพี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยง สจรส.ตรวจสอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 2 คน ประชุม 2วัน

     

    0 0

    6. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องพิษภัยจากสารเคมี

    วันที่ 22 มีนาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมเรื่องการพิษภัยจากสารเคมี ให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงปลาในท่อชีเมนต์ การปลูกผักปลอดสารพิษไว้กินในครัวเรือน โดยมีประชาชนเข้าร่วม ประมาณ 164 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชน จำนวน 164 คน ได้รับความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษไว้กินในครัวเรือน

     

    0 0

    7. ให้ความรู้อาชีพเสริมแก่สมาชิกชุมชน

    วันที่ 28 มีนาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เชิญวิทยากรมาให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงปลาให้กับสมาชิกที่สนใจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกและคณะทำงาน  จำนวน 40คน เข้าร่วมเรียนรู้เรื่องการเลี้ยงปลาเพื่อสร้างอาชีพเสริมและรวมรวมผลผลิตเพื่อต่อรองราคากับพ่อค้าในการจำหน่าย

     

    0 0

    8. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการ

    วันที่ 2 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จ้างทำป้ายไวนิล สติ๊กเกอร์ชีลโฟม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ป้ายสติ๊กเกอร์ชีลโฟม จำนวน 1 ป้าย

     

    0 0

    9. เข้าร่วมประชุมติดตามโครงการพี่เลี้ยง สจรส.มอ.

    วันที่ 4 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าร่วมประชุมติดตามโครงการพี่เลี้ยง สจรส.มอ.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เข้าร่วมประชุมติดตามโครงการพี่เลี้ยง สจรส.เพื่อรายงานผลการดำนินงานที่ผ่านมา

     

    0 0

    10. ศึกษาดูงานพื้นที่หนองใหญ่

    วันที่ 27 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการเลี้ยงปลา การทำปุ๋ยชีวภาพ การทำอีเอ็มบอล การปลูกข้าว การแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพรเป็นเครื่องสำอาง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนที่เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 30 คน

     

    0 0

    11. สำรวจข้อมูลต้นทุนก่อนและหลังกิจกรรม

    วันที่ 19 พฤษภาคม 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    ออกสำรวจต้นทุนการผลิตก่อนและหลังทำกิจกรรมของประชาชน จำนวน 150 ครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จำนวน 150 ครัวเรือน

     

    0 0

    12. สำรวจข้อมูลครั้งที่ 2

    วันที่ 23 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ออกสำรวจข้อมูลต้นทุนการผลิตเปรียบเทียบกับผลผลิตที่ได้รับ จำนวน 150 ครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จำนวน 150 ครัวเรือน

     

    150 150

    13. อบรมเชิงปฏิบัติการ ทำปุ๋ยชีวภาพ

    วันที่ 10 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วิทยากรให้ความรู้เรื่องการทำปุ๋ยและน้ำหมักชีวภาพพร้อมให้สมาชิกฝึกปฏิบัติ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จำนวน 150 หลังคาเรือน

     

    150 150

    14. อบรมเรื่องการทำปุ๋ยและน้ำหมักชีวภาพ

    วันที่ 11 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เชิญวิทยากรให้ความรู้เรื่องการทำปุ๋ยชีวภาพพร้อมให้ประชาชนปฏิบัติจริง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จำนวน 150 หลังคาเรือน

     

    150 150

    15. ประชุมสรุปผลการดำเนินงานและปิดโครงการ

    วันที่ 14 กันยายน 2556 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีนำเสนอผลการดำเนินงาน มอบรางวัลให้แก่สมาชิกที่สามารถลดรายจ่ายเพิ่มรายได้เพื่อเป็นแบบอย่างและสร้างกำลังใจให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการและหารือการต่อยอดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จำนวน 150 คน

     

    200 150

    16. พี่เลี้ยงติดตามโครงการ ครั้งที่ 5

    วันที่ 18 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าร่วมจัดนิทรรศการและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน 2 คน เข้าร่วมจัดนิทรรศการและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

     

    5 2

    17. พี่เลี้ยงติดตามปิดโครงการ

    วันที่ 19 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามรายละเอียดผลการดำเนินงานที่ผ่านมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน 2 คนเรียนรู้กระบวนการบริหารจัดการโครงการของเพื่อนสมาชิกโครงการชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ จ.ชุมพร

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อชี้แจงและสร้างความเข้าใจแก่สมาชิกชุมชนเรื่องโครงการและงบประมาณที่ชุมชนได้รับ
    ตัวชี้วัด : สมาชิกชุมชนเข้าร่วมรับทราบข้อมูล จำนวน 150 คน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อชี้แจงและสร้างความเข้าใจแก่สมาชิกชุมชนเรื่องโครงการและงบประมาณที่ชุมชนได้รับ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการลดหนี้เพิ่มรายได้สู่ชุมชนบ้านทอนจันทร์น่าอยู่

    รหัสโครงการ 55-01906 รหัสสัญญา 55-00-0990 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    -ระบบการให้น้ำในการเพาะเห็ดที่ทำให้ดอกเห็ดไม่ช้ำ(เทคโนโลยีชุมชน) -การสร้างโรงเรือนเพาะเห็ดแบบเปิด ทั้งการเพาะเห็ดนางฟ้า และเห็ดนางรมฮังการี่ เห็ดโคนญี่ปุ่น

    ระบบการให้น้ำที่สมาชิกชุมชนประดิษฐ์ขึ้นมาเป็นการให้น้ำแบบละอองฝอย สำหรับโรงเรือนเพาะเห็ดส่วนใหญ่จะทำเป็นโรงแบบปิดแต่ที่นี่ใช้วิธีการเปิดครึ่งล่างไว้

    ส่งเสริมให้สมาชิกมีการบริหารจัดการแบบกลุ่ม โดยการจัดตั้งเป็นคณะทำงานในการรวมกลุ่มกันขายแต่แยกกันผลิต

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    เพิ่มก้อนเชื้อเห็ดและขยายพันธุ์พืชผักขึ้นเรื่อยๆ มีวิธีการดูแลรักษาที่่พัฒนาขึ้นเรื่อยๆ รู้จักการแก้ปัญหาได้ดีขึ้น

    มีวิธีการป้องกันและกำจัดศัตรูพืชที่ชัดเจนขึ้น

    จัดวางระเบียบ ขั้นตอนการทำงานให้ชัดเจน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    มีกลุ่มเพาะเห็ด กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ กลุ่มเลี้ยงปลาดุก เพิ่มขึ้นหลายครัวเรือน

    ประชาชนมีการรวมกลุ่มกันเพื่อการพัฒนาอาชีพ เช่น กลุ่มเพาะเห็ดนางฟ้า กลุ่มเลี้ยงปลาและกลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ

    พัฒนากลุ่มรับซื้อและนำส่งสินค้าชุมชน(นักการตลาดชุมชน)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    เรียนรู้วิธีการ ขั้นตอนต่างๆ ตั้งแต่การเพาะ การดูแลรักษา การป้องกันแมลงศัตรูพืชจากอินเตอร์เน็ต  โดยการสืบค้นข้อมูลจากเว็บต่างๆ

    มีศูนย์เรียนรู้ในชุมชน มีการสร้างงานสร้างอาชีพ

    ประสานกับหน่วยงานภาครัฐให้เข้ามาอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในวันประชุมหมู่บ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    ประชาชนส่วนใหญ่ได้รับประทานผักปลอดสารพิษ และมีประโยชน์ต่อสุขภาพมากขึ้น

    ประชาชนเจ็บป่วยน้อยลง

    ส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักรักษาสุขภาพพลานามัยของตนเอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    มีการบริโภคผักที่่ปลูกกันเองมากขึ้น  และชื้อจากแหล่งอื่นน้อยลง

    มีการปลูกผักสวนครัวไว้รับประทานเองเกือบทุกครัวเรือน

    ส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักการบริโภคที่ถูกสุขลักษณะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การลด ละ เลิกยาสิางเสพติดของกลุ่มเยาวชนโดยไม่ให้มีเวลาว่างเนื่องจากต้องดูแลพืชผัก ทำให้ไม่ค่อยมีเวลายุ่งเกี่ยวกับอบายมุขต่างๆ

    กลุ่มเยาวชนว่างงานและกลุ่มเสี่ยง ที่หันมาใช้เวลาว่างส่วนใหญ่อยู่กับการสร้างงานสร้างอาชีพ

    เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    ประชาชนมีความสุขจากการทำงานช่วยลดความเครียดได้

    ประชาชนเกิดปัญหาการขัดแย้งน้อยลง

    ประชาชนมีสุขภาพร่างกายและจิตใจดีขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    ขยายเครือข่ายไปยังชุมชนใกล้เคียง

    เสริมสร้างอาชีพแก่ชุมชนใกล้เคียง

    จัดตั้งกลุ่มเยาวชนเป็นคณะทำงาน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    มีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพิษภัยของสารเคมี

    ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องสารเคมีมากขึ้น สามารถดูแลสุขภาพของตัวเองได้ดีขึ้น

    ให้ความรู้เรื่องพิษภัยจากสารเคมีอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    -ชาวบ้านไม่มีหนี้สิน ลดความเครียด ทำให้สังคมเป็นอยู่อย่างสงบสุขขึ้น -เด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยงมีอาชีพมีงานทำ ไม่มีเวลาว่างไปเสพสิ่งเสพติด

    ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด

    ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนรู้จักพึ่งพาตนเอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    มีกลุ่มอาชีพเสริม เช่น กลุ่มเพาะเห็ด กลุ่มเลี้ยงปลา กลุ่มปลูกผัก เป็นการสร้างงานสร้างอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ ให้แก่ชุมชน

    ประชาชนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดีขึ้น

    ประชาชนมีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัว

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    มีกฎ กติกา รู้จักการรวมกลุ่มของสมาชิก

    ชาวบ้านมีวินัยในการใช้จ่ายเงิน

    จัดตั้งกฏ ระเบียบ กติกาในกลุ่ม และหมู่คณะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชนใกล้เคียง มีการศึกษาดูงาน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นชึ่งกันและกัน

    เกิดภาคีร่วม

    ขยายการผลิตไปยังชุมชนใกล้เคียง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    มีการรวมกลุ่มเกิดขึ้น ใช้ทุนที่มีอยู่จากโครงการต่างๆ เพื่อพัฒนาบุคลากรและองค์กรอย่างต่อเนื่อง

    ประชาชนรวมกลุ่มกันทำงาน เช่น กลุ่มเพาะเห็ด และกลุ่มเลี้ยงปลา

    จัดตั้งองค์กรชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    มีการวางแผนเขียนโครงการ จัดทำแผนพัฒนาชุมชนโดยใช้ข้อมูลและการวิเคราะห์สถานการณ์ของชุมชนเป็นฐาน

    ประชาชนรู้จักวางแผนการใช้จ่ายเงินมากขึ้น โดยดูจากการจัดทำบัญชีครัวเรือน

    จัดทำแผนพัฒนาชุมชนที่ชัดเจน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    แกนนำชุมชนมีความภูมิใจที่่ได้ช่วยเหลือสังคมและชุมชน

    ประชาชนมีความเอื้ออารีกันมากขึ้น

    ปลูกจิตสำนึกแก่เด็กและเยาวชนให้สามารถพึ่งพาตนเองได้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    สมาชิกชุมชนมีการร่วมมือในกิจกรรมของส่วนรวมและเกือบทุกครัวเรือนรู้จักเสียสละเพื่อส่วนรวมและไม่เห็นแก่ตัว

    มีการช่วยเหลือสังคมและชุมชนในทุกๆ ด้าน เช่น การพัฒนาหมู่บ้านในวันสำคัญต่างๆ แกนนำชุมชนได้รับรางวัลการช่วยเหลือสังคมดีเด่น

    ให้ความสำคัญกับส่วนรวมมากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    สมาชิกชุมชนมีการจัดทำบัญชีครัวเรือน ทำให้ทราบว่าสิ่งไหนสมควรมีหรือไม่มี ทำให้มีการใช้ชีวิตที่เรียบง่ายขึ้น ไม่ฟุ้งเฟ้อ ใช้จ่ายอย่างพอเพียง มีการปลูกผัก เลี้ยงปลา และเพาะเห็ด ไว้สำหรับบริโภค เหลือขาย มีรายได้เสริม

    กลุ่มเพาะเห็ด กลุ่มเลี้ยงปลา และกลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ

    ส่งเสริมการใช้ชีวิตอย่างพอเพียง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    ประชาชนมีการช่วยเหลือชึ่งกันและกัน ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันทำงานอย่างเป็นระบบ

    ประชาชนมีความเห็นอกเห็นใจกันมากขึ้น

    ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันทำงานระหว่างกลุ่มองค์กรต่างๆ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    บุคคลส่วนใหญ่ใช้ความละเอียดรอบคอบในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาต่างๆ อย่างสมเหตุสมผล

    เมื่อมีปัญหาข้อโต้แย้งต่างๆ ประชาชนจะลงมติช่วยกันตัดสินใจแก้ไขปัญหาต่างๆ อย่างมีสติ

    ใช้ความเป็นประชาธิปไตยในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาต่างๆ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการลดหนี้เพิ่มรายได้สู่ชุมชนบ้านทอนจันทร์น่าอยู่ จังหวัด ชุมพร

    รหัสโครงการ 55-01906

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวิทูร กลับดี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด