directions_run

โครงการชาวบางหินร่วมใจ นำวิถีชีวิตไทย สู่สุขภาวะชุมชน

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการชาวบางหินร่วมใจ นำวิถีชีวิตไทย สู่สุขภาวะชุมชน

รหัสโครงการ 55-01843 รหัสสัญญา 55-00-1053 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ความรู้เกี่ยวกับวิธีการแปรรูปหอยและการประดิษฐ์ของที่ระลึกจากเปลือกหอย

แผ่นพับ

พัฒนาฝีมือเพื่อเป็นอาชีพเสริมของชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

สิ่งประดิษฐ์ของที่ระลึกจากเปลือกหอย เช่น พวงกุญแจ โมบาย ดอกไม้

ผลผลิต ได้แก่ พวงกุญแจ โมบาย ดอกไม้ เข็มกลัด

พัฒนาฝีมือเพื่อเป็นอาชีพเสริมของชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

การจัดการกระบวนการอนุรักษ์พันธุ์หอยขาวหอยหวานโดยใช้กติกาของชุมชน และการสร้างจิตสำนึกสู่เยาวชนเพื่อให้เกิดความยั่งยืนของการอนุรักษ์

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกิดกลุ่มจำนวน 2 กลุ่ม ได้แก่ 1.เครือข่ายอาสาอนุรักษ์พันธุ์หอยขาวหอยหวาน บ้านบางหิน จำนวน 120 ครัวเรือน  ร่วมปรึกษาหารือแนวทาง /กติกาชุมชนในการอนุรักษ์พันธุ์หอยขาวหอยหวาน 2.กลุ่ม “ยุวมัคคุเทศก์อาสาอนุรักษ์พันธุ์หอย Happy Banghin”  จำนวน  20  คน  ได้ผ่านการอบรมและฝีกปฏิบัติทักษะการเป็นมัคคุเทศก์ เพื่อดำเนินการนำเที่ยวเชิงอนุรักษ์

1.ทำเนียบเครือข่ายอาสาอนุรักษ์หอยขาวหอยหวาน มีนายวินัย บุญสุข เป็นประธาน 2.ทำเนียบยุวมัคคุเทศก์ มี น.ส.เลขาจิตร ชิดเอื้อ เป็นประธาน 3.โปรแกรมท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์บ้านบางหิน ระยะเวลา 1วัน

การพัฒนาโปรแกรมท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และกิจกรรมท่องเที่ยวตามวิถีชุมชน เผยแพร่สู่เครือข่ายและบุคคลภายนอก ผ่านสื่อต่างๆ เช่น วิทยุชุมชน จัดตั้งกลุ่มสื่อออนไล์ Facebookโดยใช้ชื่อ "HB. EcoTourJunior"

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

"ศูนย์เรียนรู้อนุรักษ์พันธุ์หอยขาวหอยหวาน" จัดแสดงความรู้วงจรชีวิตหอย วิถีชีวิตชาวประมงพื้นบ้านบางหิน การอนุรักษ์พันธุ์หอยและจัดทำบ่ออนุรักษ์ของชมชน

ศูนย์เรียนรู้จำนวน 1 ศูนย์ / ภาพถ่าย

พัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของชุมชนและเป็นจุดแสดงสินค้าของที่ระลึกที่ได้จากโครงการ และเป็นต้นแบบเพื่อการเรียนรู้ของชุมชนอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

การจัดการขยะโดยการนำเอาเปลือกหอยมาเป็นวัตถุดิบในการทำของที่ระลึกและการดูแลรักษาความสะอาดบริเวณท่าเรือแหลมพ่อตา

ผลผลิตจากเปลือกหอย

พัฒนาฝีมือผลผลิต

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

-การกำหนดพื้นที่อนุรักษ์พันธุ์หอยขาวหอยหวานพื้นที่อ่าวกะเปอร์ 5 ไร่จากชายฝั่ง -การกำหนดบริเวณบ่ออนุรักษ์พันธุ์หอยขาวหอยหวาน จำนวน 2 บ่อ ขนาด 10x5 เมตร บริเวณแหลมพ่อตา ม.2 บ้านบางหิน

ประกาศพื้นที่อนุรักษ์

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

-มีอาชีพเสริมจากการประดิษฐ์ของที่ระลึกและการแปรรูปหอย

บัญชีรายได้จากการขายของที่ระลึก

การจัดโปรแกรมท่องเที่ยวและกิจกรรมเพิ่มเติม เช่นการเก็บหอยของนักท่องเที่ยว เทศกาลทานหอยที่บางหิน เพื่อให้ชาวบ้านมีรายได้จากหอยเพิ่มขึ้นและตระหนักที่จะหันมาอนุรักษ์ให้คงมีอยู่ตลอดไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

มีข้อตกลงของชุมชนในการอนุรักษ์หอย โดยการกำหนดหลักเกณฑ์การจับหอยพื้นที่อนุรักษ์

ประกาศกติกาการจับหอยพื้นที่อนุรักษ์บริเวณแหลมพ่อตา จำนวน 3 ข้อ 1.ห้ามจับหอยหวานหอยขาวในบ่อขยายพันธุ์ 2.ห้ามจับหอยขาวที่มีขนาดเล็กกว่า 2.50 ซม. 3.ห้ามใช้เครื่องทุ่นแรงในการจับหอยบริเวณนี้

การปรับปรุงข้อตกลงและอาจต้องมีการกำหนดบทลงโทษผู้ฝ่าฝืนหรือมาตรการอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

มีการกำหนดปฏิญญาอ่าวกะเปอร์ร่วมกันของภาคีเครือข่าย

ประกาศปฏิญญาอ่าวกะเปอร์จำนวน 5 ข้อ

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

อบต.บางหิน / ประมงอำเภอกะเปอร์ / ประมงจังหวัดระนอง /ป่าชายเลนที่ รน 9 ระนอง

ทะเบียนเครือข่ายผู้ร่วมกิจกรรม

การประสานงานกับสำนักงานท่องเที่ยวจังหวัดระนองเพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมของกลุ่มยุวมัคคุเทศก์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

-การใช้เรือพีช/เรือหางยาวของชาวบ้านในชุมชนเพื่อใช้ในกิจกรรมของโครงการ -การให้ผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการแปรรูปหอย/อาหารจากหอย เป็นผู้ถ่ายทอดทักษะแก่กลุ่มเยาวชนและยุวมัคคุเทศก์

ทะเบียนเจ้าของเรือผู้ร่วมกิจกรรม

-การจัดอบรมและขึ้นทะเบียนใบอนุญาตผู้ขับเรือที่ถูกต้อง เพื่อการนำเที่ยวในโปรแกรมท่องเที่ยวของกลุ่มยุวมัคคุเทศก์ -การคิดค้นสูตรอาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

-กลุ่มเครือข่ายอาสาอนุรักษ์พันธุ์หอยขาวหอยหวานมีการออกพื้นที่เฝ้าระวังดูแลพื้นที่อนุรักษ์เป็นระยะ -กลุ่มเครือข่ายอาสาอนุรักษ์พันธุ์หอยขาวหอยหวานและยุวมัคคุเทศก์ ร่วมกันจัดการศูนย์เรียนรู้และพัฒนาดูแลศูนย์ --กลุ่มเครือข่ายอาสาอนุรักษ์พันธุ์หอยขาวหอยหวานและยุวมัคคุเทศก์ร่วมในกิจกรรมอนุรักษ์อื่นๆเช่นการปล่อยปูปล่อยปลา

-แผน/รายงานผลการออกพื้นที่เฝ้าระวัง -ภาพกิจกรรม

-การพัฒนาศูนย์เรียนและชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของชุมชน -การร่วมกับกลุ่ม/เครือข่ายอื่นๆในการอนุรักษ์ทรัพยากรของชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

-การสร้างรายได้แก่ชุมชน และสำนึกรักบ้านเกิดแก่เยาวชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

ส่งเสริมให้ชุมชนร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรที่เป็นอาชีพของชุมชนให้คงอยู่ ประชาชนร่วมกันดูแลชุมชนของตน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

การอนุรักษ์วิถีชุมชน ส่งเสริมอาชีพประมงพื้นบ้านที่ไม่ใช้เครื่องทุ่นแรงในการจับหอย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

ทุกคนมีส่วนร่วมกันดูแลทรัพยากรและการดำเนินกิจกรรมของชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ