แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการพลังจิตอาสา เพื่อสวนสาธารณะสีขาว ”

1. สวนสาธารณะสวนศรีตาปี 2. สวนสาธารณะสวนหลวง ร.9 และ 3. บึงขุนทะเล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกรรณิการ์ แพแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการพลังจิตอาสา เพื่อสวนสาธารณะสีขาว

ที่อยู่ 1. สวนสาธารณะสวนศรีตาปี 2. สวนสาธารณะสวนหลวง ร.9 และ 3. บึงขุนทะเล จังหวัด สุราษฎร์ธานี

รหัสโครงการ 55-01603 เลขที่ข้อตกลง 56-00-0115

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2556 ถึง 31 ธันวาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพลังจิตอาสา เพื่อสวนสาธารณะสีขาว จังหวัดสุราษฎร์ธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 1. สวนสาธารณะสวนศรีตาปี 2. สวนสาธารณะสวนหลวง ร.9 และ 3. บึงขุนทะเล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพลังจิตอาสา เพื่อสวนสาธารณะสีขาว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพลังจิตอาสา เพื่อสวนสาธารณะสีขาว " ดำเนินการในพื้นที่ 1. สวนสาธารณะสวนศรีตาปี 2. สวนสาธารณะสวนหลวง ร.9 และ 3. บึงขุนทะเล รหัสโครงการ 55-01603 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2556 - 31 ธันวาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 113,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 50 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้เกิดพื้นที่สาธารณะที่เป็นพื้นที่ปลอดเหล้า ปลอดบุหรี่อย่างแท้จริง
  2. เพื่อพัฒนาทักษะการเป็นนักรณรงค์ทางสังคมรุ่นใหม่
  3. เพื่อสร้างเยาวชนต้นแบบจิตอาสาด้านรณรงค์งดเหล้า - บุหรี่
  4. เพื่อติดตาม หนุนเสริมการทำงาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เวทีประชุมชี้แจงทำความเข้าใจรายละเอียดการดำเนินงานโครงการ

    วันที่ 27 มกราคม 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมสร้างความเข้าใจ ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานโครงการ วางเป้าหมายร่วมกันในการทำงาน
    • มอบหมายบทบาทหน้าที่รับผิดชอบสวนสาธารณะแต่ละแห่ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ทีมงานเข้าใจแนวทางการดำเนินงานโครงการและเป้าหมายในการทำงานร่วมกัน
    • บทบาทหน้าที่รับผิดชอบสวนสาธารณะแต่ละแห่ง ได้แก่

      1. สวนสาธารณะสวนหลวง ร.9 รับผิดชอบโดย ทีมสภาเด็กและเยาวชนเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

      2. สวนสาธารณะบึงขุนทะเล  รับผิดชอบโดย  นักศึกษาสาขาการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลับสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี

      3. สวนสาธารณะสวนศรีตาปี  รับผิดชอบโดย เครือข่ายองค์กรงดเหล้าสุราษฎร์ธานี

     

    10 10

    2. อบรมการรายงานผลการดำเนินงานโครงการทางเว็บไซด์

    วันที่ 29 มกราคม 2556 เวลา 14.30 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เรียนรู้ ฝึกปฏิบัติ การทำรายงานความก้าวหน้าโครงการ รายงานการติดตาม รายงานการเงิน ทางเว็บไซด์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานโครงการสามารถรายงานผลการดำเนินงานโครงการผ่านเว็บไซด์ได้ มีทักษะในการรายงานผลการดำเนินงานมากขึ้น
    • คณะทำงานโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการทำงานมากขึ้น

     

    4 4

    3. การศึกษาและเก็บข้อมูลเหล้า บุหรี่ ภายในสวนสาธารณะ (สวนสาธารณะสวนศรีตาปี)

    วันที่ 13 มีนาคม 2556 เวลา 18.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • สำรวจข้อมูลผู้ใช้บริการสวนสาธารณะสวนศรีตาปี
    • สำรวจสถานการณ์เหล้า บุหรี่ ภายในสวนสาธารณะศรีตาปี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • วันที่มาสำรวจข้อมูลสถานการณ์เหล้าและบุหรี่ในสวนสาธารณะศรีตาปี พบว่า มึการจัดงานฟู้ดแฟร์ภายในสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ ด้านหน้าสวนศรีตาปี และมีการจัดลานเบียร์ และร้านจำหน่ายเหล้าเบียร์ภายในสวนสาธารณะด้วย ซึ่งผู้ที่เข้ามาใช้บริการภายในสวนสาธารณะในช่วงที่มีงาน มีทั้งผู้ใหญ่และเด็ก

     

    5 5

    4. การศึกษาและเก็บข้อมูลเหล้า บุหรี่ ภายในสวนสาธารณะ (สวนหลวง ร.9 สุราษฎร์ธานี)

    วันที่ 26 มีนาคม 2556 เวลา 16:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ทีม สภาเด็กและเยาวชนเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี และทีมคนรุ่นใหม่ ใจอาสาลงพื้นที่สวนสาธารณะสวนหลวง ร.9 สุราษฎร์ธานี สำรวจข้อมูลผู้มาใช้บริการสวนสาธารณะ สถานการเหล้า บุหรี่ภายในสวนสาธารณะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จากการสำรวจข้อมูลผู้มาใช้บริการสวนสาธารณะสวนหลวง ร.9 โดยทีมงานสภาเด็กและเยาวชนเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี พบว่า ผู้ใช้บริการสวนสาธารณะมีทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ และมาเป็นครอบครัว แต่กลับไม่มีผู้สูงอายุมาใช้บริการในวันดังกล่าว และมักจะมาใช้บริการในช่วงเวลาเช้าและเวลาเย็น
    • จากการสังเกต พบว่า เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยของสวนหลวง ร.๙ นำเหล้ามาดื่มบริเวณศาลาที่ทำการของตน

     

    5 5

    5. การศึกษาและเก็บข้อมูลเหล้า บุหรี่ ภายในสวนสาธารณะ (สวนสาธารณะบึงขุนทะเล)

    วันที่ 27 เมษายน 2556 เวลา 16.00-17.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • สำรวจข้อมูลร้านค้าที่จำหน่ายเหล้าเบียร์ในบริเวณรอบๆ สวนสาธารณะ
    • ติดป้ายรณรงบค์เขตห้ามสูบห้ามดื่มเหล้าในพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จากการสำรวจข้อมูล พบว่า มีร้านค้าจำหน่ายเหล้าเบียร์ในบริเวณสวนสาธารณะบึงขุนทะเล จำนวน 3 ร้าน
    • มีผู้มาใช้สวนสาธารณะบึงขุนทะเลน้อย

     

    5 5

    6. ถอดบทเรียนการขับเคลื่อนโดยพลังเยาวชน (ระหว่างดำเนินการ)

    วันที่ 3 พฤษภาคม 2556 เวลา 13.00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการสำรวจข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของผู้ใช้บริการสวนสาธารณะเป้าหมาย
    • ประชุมสรุปบทเรียนการทำงานของคณะทำงานและปรึกษาหารือหาแนวทางในการขยายผลการดำเนินงานโครงการสู่สวนสาธารณะอื่นๆ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผลการจัดเก็บข้อมูลผู้ใช้บริการสวนสาธารณะ พบว่า การเก็บข้อมูลโดยแบบสอบถามทำได้ยาก ไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ใช้บริการสวนสาธารณะ คณะทำงานจึงเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลโดยเปลี่ยนเป็นการเก็บข้อมูลโดยการสังเกตและการสอบถามร้านค้าภายในสวนสาธารณะ นอกจากนี้ยังพบว่า การสำรวจพื้นที่บางแห่ง ไม่ตรงกับช่วงเวลาที่มีคนมาใช้บริการ จึงไม่พบพฤติกรรมของผู้ใช้บริการ ได้แก่ บึงขุนทะเล
    • ผลการถอดบทเรียนคณะทำงาน พบว่า แกนนำเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจ พรบ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ พรบ.คุ้มครองผู้ไม่สูบบุหรี่ เพิ่มขึ้นในระหว่างการปฏิบัติงาน
    • จากการสำรวจข้อมูล พบการกระทำความผิดของภาครัฐที่มีการจัดงานเทศกาลจำหน่ายเหล้าเบียร์ภายในสวนสาธารณะ

     

    10 10

    7. ติดตามผลการดำเนินงาน งวดที่ 1

    วันที่ 11 พฤษภาคม 2556 เวลา 13.00-19.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานที่ผ่านมา
    • ตรวจสอบเอกสารการเงิน
    • จัดทำรายงาน งวดที่ 1
    • จัดทำแบบประเมินคุณค่าโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สามารถสรุปรายงานได้ตามเวลาที่กำหนด
    • เข้าใจแนวทางการทำเอกสารการเงินมากขึ้น
    • เห็นแนวทางการต่อยอดโครงการในปีที่ 2

     

    3 3

    8. ประชุมหารือแนวทางการจัดการสวนสาธารณะสีขาวโดยพลังเยาวชน (เฉพาะแกนนำเยาวชน)

    วันที่ 26 พฤษภาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมวางแผนการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้แผนการจัดค่ายปลุกพลังคนรุ่นใหม่ ใจอาสา ดังนี้

      • ระยะเวลา มี 2 ช่วง ได้แก่ 29-31 ก.ค และ 6-8 ส.ค.2556
      • สถานที่ ยังไม่สามารถระบุได้ รอประสาน
      • กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คน  จาก ร.ร.เวียงสระ, ร.ร.ท่าชนะ, ร.ร.กาญจนาภอเษก, วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี, คนรุ่นใหม่ ใจอาสา รุ่น 1-2 (พี่เลี้ยง)
      • หัวข้อการอบรม
      1. ให้ความรู้ พ.ร.บ.เยาวชน (บรรยาย), พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ไม่สูบบุหรี่ (ผ่านกิจกรรมสันทนาการ)
      2. ปลุกพลังจิตอาสา
      3. การออกแบบสื่อรณรงค์
    2. ออกแบบงานรณรงค์สวนสาธารณะสีขาว

      • เชิญทีมรณรงค์เพิ่ม 200 คน ได้แก่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี, ม.สงขลานครินร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี, ม.ราชภัฏสุราษฎร์ธานี, ร.ร.เทพมิตรศึกษา, ร.ร.ธีราศรม
      • เสวนา "เหล้า-บุหรี่ มีแต่หายนะ"
      • มอบประกาศนียบัตรแก่บุคคลเลิกเหล้า, เลิกบุหรี่ต้นแบบ
      • ขบวนรถรณรงค์เปิดป้ายสวนสาธารณะสีขาว 3 แห่ง ได้แก่ สวนศรีตาปี, สวนหลวง ร.9 และ บึงขุนทะเล

     

    10 10

    9. มอบหมายภารกิจเตรีัยมงานค่ายปลุกพลังคนรุ่ใหม่ ใจอาสา

    วันที่ 5 สิงหาคม 2556 เวลา 11:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • แจ้งผู้ติดตามโครงการถึงการเปลี่ยนแปลงวันเวลาจัดงาน โดยเลื่อนเป็นช่วงปลายเดือน
    • เสนอสถานที่ราชการที่มีที่พักภายใน  เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เื่ลื่อนเป็นช่วง 20-30 ส.ค.2556 (3 วัน 2 คืน)

     

    15 15

    10. ประชุมคณะทำงานติดตามความก้าวหน้าการเตรียมงานแนวทางการจัดการสวนสาธารณะสีขาว

    วันที่ 18 สิงหาคม 2556 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • สรุปกำหนดการค่ายปลุกพลังคนรุ่นใหม่ ใจอาสา
    • สรุปการประสานงานผู้เข้าร่วม
    • วางแผนการเตรียมเกม และอุปกรณ์ที่ใช้ในค่าย
    • ติดตามการเชิญวิทยากรบรรยาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • การประสานงานผู้เข้าร่วมยังไม่เรียบร้อย เพราะรอรายชื่อนักเรียนที่สนใจเข้าร่วม
    • อุปกรณ์ที่ใช้ภายในค่าย ได้แก่ ดินสอ สมุด ป้ายชื่อ อุปกรณ์เกมสันทนาการ
    • วิทยากรตอบรับและยืนยันเข้าร่วม
    • งบประมาณสมทบจากภาคีล่าช้า ต้องหางบประมาณจากที่อื่นมาสำรอง
    • เลื่อนกิจกรรมรณรงค์สวนสาธารณะสีขาว (แรลลี่) เพราะงบประมาณในการดำเนินงานไม่เพียงพอ
    • หารือเรื่องการขยายโครงการ กรณีกิจกรรมล่าช้า เพราะการจัดงานแรลลี่ต้องใช้งบประมาณ และจำนวนคนเยอะ

     

    20 10

    11. ปลุกพลังคนรุ่นใหม่ ใจอาสา

    วันที่ 26 สิงหาคม 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ภาพเล่าเรื่อง งานจิตอาสา
    • ฐานเรียนรู้ท่ามกลางธรรมชาติ
      1. คนรุ่นใหม่ ใส่ใจสังคม
      2. คนรุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด
      3. คนรุ่นใหม่ เท่าทันเหล้า-บุหรี่
    • รณรงค์อย่างไร ให้โดนใจเป้าหมาย
    • อบรมเทคนิคการรณรงค์
    • ปฏิบัติการออกแบบสื่อรณรงค์
    • ปฏิบัติการภาคสนาม รณรงค์สวนสาธารณะสีขาว ณ สวนหลวง ร.9  และสนามกีฬากลางจังหวัดสุราษฎร์ธานี
    • ทบทวนบทเรียนคนรุ่นใหม่ ใจอาสา กับกล้าที่ก้าว…รณรงค์
    • พันธะสัญญาชาวค่าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีผู้เข้าร่วม 30 คน จากเป้าหมาย 50 คน
    • มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์งานอาสาสมัครเพื่อสังคมกับผู้เข้าร่วม
    • ผู้เข้าร่วมได้รับความรู้เกี่ยวกับงานอาสาสมัครเพื่อสังคม, ความรู้ด้านยาเสพติด และการเท่าทันต่อเหล้าบุหรี่
    • ผู้เข้าร่วมได้ออกแบบการรณรงค์ลด ละ เลิกเหล้าบุหรี่ในสถานการณ์ที่กำหนดให้
    • ผู้เข้าร่วมได้ออกแบบสื่อรณรงค์ลด ละ เลิก เหล้าบุหรี่
    • ผู้เข้าร่วมได้ทดลองปฏิบัติจริง ในการรณรงค์ลด ละ เลิกเหล้าบุหรี่ในสวนสาธารณะ และสนามกีฬา
    • มีการทบทวนบทเรียนที่ได้จากปฏิบัติการภาคสนาม
    • ผู้เข้าร่วมวางแผนกิจกรรมรณรงค์ที่จะดำเนินการในโรงเรียนของตนเองในอนาคต

     

    50 30

    12. สรุปบทเรียนการขับเคลื่อนโดยพลังเยาวชน (หลังดำเนินการ)

    วันที่ 29 สิงหาคม 2556 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ที่ปรึกษาในการจัดค่ายปลุกพลังคนรุ่นใหม่ ใจอาสาจากกลุ่มยุวชนสร้างสรรค์ จัดกระบวนการถอดบทเรียนคณะทำงานจัดค่าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • วิทยากรโดยกลุ่มคนรุ่นใหม่ ใจอาสา  สามารถบรรยายเนื้อหาสาระของการลด ละ เลิกเหล้า บุหรี่ ได้เข้าใจง่าย
    • ฝ่ายสันทนาการ สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างลื่นไหล ทั้งที่เป็นการร่วมงานกันครั้งแรก
    • สถานที่เหมาะสมกับการจัดค่าย  แต่มีการเปลี่ยนห้องประชุมกระทันหัน ทำให้การจัดกิจกรรมต้องปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสถานที่
    • คณะทำงานมีความไม่เข้าใจระหว่างกัน เนื่องจากเป็นงานแรกที่ได้ยกระดับตนเองขึ้นมาเป็นคณะัจัดงาน  ทำให้การวางแผนงานตามบทบาทหน้่าที่ของตนไม่ดีเท่าที่ต้องการ
    • การทำงานของพี่เลี้ยงที่ไม่ได้ควบคุมบทบาทของตนเอง แต่ปฏิบัติตัวในระดับเดียวกับผู้เข้าร่วม ทำให้เกิดการละเลยหน้าที่พี่เลี้ยงในบางครั้ง
    • มีการปรับความเข้าใจระหว่างคณะทำงานที่ผิดใจกัน เนื่องจากการทำงานร่วมกัน

     

    12 15

    13. ประชุมและประสานความร่วมมือ

    วันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ตัวแทนกลุ่มคนรุ่นใหม่ ใจอาสาเข้าพบเจ้าหน้าที่สาธารณะสุขจังหวัด เพื่อชี้แจงกิจกรรมสวนสาธารณะสีขาวโดยพลังเยาวชน  ที่จะจัดขึ้นภายในสวนสาธารณะ 3 แห่ง ได้แก่ สวนหลวง ร.9, สวนสาธารณะศรีตาปี, สวนสาธารณะบึงขุนทะเล  โดยมีการติดป้ายรณรงค์และประกาศให้่สวนสาธารณะเป็นพื้นที่สีขาว ห้ามสูบบุหรี่ และห้ามดื่มแอลกอฮอล์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เจ้าหน้าที่สาธารณะสุข ให้ความร่วมมือในการนัดหมายนายกเทศมนตรีนครสุราษฎร์ธานี เพื่อขออนุญาตจัดงานในพื้นที่สวนสาธารณะทั้ง 3แห่ง
    • นัดหมายเข้าพบนายกเทศมนตรี วันที่ 2 ธันวาคม 2556 ณ สำนักงานเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

     

    10 3

    14. ประชุมประสานความร่วมมือ

    วันที่ 2 ธันวาคม 2556 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เข้าพบนายกเทศมนตรีนครสุราษฎร์ธานีั เพื่อขออนุญาตใช้พื้นที่สวนสาธารณะในการจัดงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • นายกเทศมนตรีนครสุราษฎร์ธานี ยังไม่อนุญาตให้ปักป้ายประกาศพื้นที่สวนสาธารณะสีขาวในสวนสาธารณะทั้ง 3 แห่ง  เนื่องจากต้องการให้มีการรณรงค์อย่างต่อเนื่อง สร้างการยอมรับจากภายนอกก่อนจะมีการประกาศพื้นที่สีขาว และเสนอให้มีการจัดกิจกรรมรณรงค์โดยเยาวชนในพื้นที่ตลาดน้ำบ้านดอนวันอาทิตย์
    • นายวิศา ประสงค์จินดา หัวหน้างานส่งเสริมสุขภาพภาคประชาชน เสนอจะเชิญนักเรียนจากเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานีมาร่วมกิจกรรมทั้ง 4 โรงเรียน รวมประมาณ 100 คน
    • เปลี่ยนรูปแบบกิจกรรมจากแรลลี่รณรงค์สวนสาธารณะสีขาว เป็นสานเสวนาสวนสาธารณะสีขาว
    • รูปแบบ เสวนาเพื่อร่วมกันหาแนวทางความร่วมมือในการให้เกิดพื้นที่สวนสาธารณะสีขาวทั้ง 3 แห่ง -กำหนดวันจัดงาน 19 ธันวาคม 2556 ณ สวนสาธารณะศรีตาปี -ผู้ร่วมเสวนา : คณะทำงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสุราษฎร์ธานี, เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี, ชมรมทูบี นัมเบอร์วัน, สภาเด็กและเยาวชนเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี,กลุ่มคนรุ่นใหม่ ใจอาสา -ผู้ดำเนินรายการ : กลุ่มคนรุ่นใหม่ ใจอาสา และ กลุ่มยุวชนสร้างสรรค์จังหวัดสุราษฎร์ธานี -ผู้เข้าร่วม : นักเรียนจากเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี, นักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี, นักเรียนจากโรงเรียนสุราษฎร์พิทยา, โรงเรียนสุราษฎร์ธานี, โรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี, กลุ่มยุวชนสร้างสรรค์จังหวัดสุราษฎร์ธานี -นิทรรศการจากกลุ่มเยาวชนต่างๆ ได้แก่ สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดสุราษฎร์ธานี, กลุ่มยุวชนสร้างสรรค์จังหวัดสุราษฎร์ธานี, บัณฑิตอาสา มอ. -บทบาทหน้าที่ :
    1. ฝ่ายต้อนรับ-อาหาร-ฝ่ายลงทะเบียน : สภาเด็กและเยาวชนเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี,
    2. ฝ่ายการเงิน-บูธรณรงค์-ทีมสต๊าฟ : กลุ่มคนรุ่นใหม่ ใจอาสา 3.ฝ่ายเวทีและสถานที่ : เครือข่ายองค์กรงดเหล้าจังหวัดสุราษฎร์ธานี, กองสวัสดิการสังคมเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี 4.ผู้ดำเนินรายการ : กลุ่มยุวชนสร้างสรรค์จังหวัดสุราษฎร์ธานี, กลุ่มคนรุ่นใหม่ ใจอาสา

     

    8 7

    15. ประชุมวางแผนงานสานเสวนาสวนสาธารณะสีขาว

    วันที่ 12 ธันวาคม 2556 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมวางแผนการทำงาน
    • มอบหมายบทบาทการทำงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานได้ประชุมวางแผนการทำงานร่วมกัน
    • เปลี่ยนรูปแบบกิจกรรมจากแรลลี่รณรงค์สวนสาธารณะสีขาว เป็นสานเสวนาสวนสาธารณะสีขาว
    • รูปแบบ เสวนาเพื่อร่วมกันหาแนวทางความร่วมมือในการให้เกิดพื้นที่สวนสาธารณะสีขาวทั้ง 3 แห่ง
    • กำหนดวันจัดงาน 19 ธันวาคม 2556 ณ สวนสาธารณะศรีตาปี
    • ผู้ร่วมเสวนา : คณะทำงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสุราษฎร์ธานี, เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี, ชมรมทูบี นัมเบอร์วัน, สภาเด็กและเยาวชนเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี,กลุ่มคนรุ่นใหม่ ใจอาสา
    • ผู้ดำเนินรายการ : กลุ่มคนรุ่นใหม่ ใจอาสา และ กลุ่มยุวชนสร้างสรรค์จังหวัดสุราษฎร์ธานี
    • ผู้เข้าร่วม : นักเรียนจากเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี, นักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี, นักเรียนจากโรงเรียนสุราษฎร์พิทยา, โรงเรียนสุราษฎร์ธานี, โรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี, กลุ่มยุวชนสร้างสรรค์จังหวัดสุราษฎร์ธานี
    • นิทรรศการจากกลุ่มเยาวชนต่างๆ ได้แก่ สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดสุราษฎร์ธานี, กลุ่มยุวชนสร้างสรรค์จังหวัดสุราษฎร์ธานี, บัณฑิตอาสา มอ.
    • บทบาทหน้าที่ :
    1. ฝ่ายต้อนรับ-อาหาร-ฝ่ายลงทะเบียน : สภาเด็กและเยาวชนเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี,
    2. ฝ่ายการเงิน-บูธรณรงค์-ทีมสต๊าฟ : กลุ่มคนรุ่นใหม่ ใจอาสา
    3. ฝ่ายเวทีและสถานที่ : เครือข่ายองค์กรงดเหล้าจังหวัดสุราษฎร์ธานี, กองสวัสดิการสังคมเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี
    4. ผู้ดำเนินรายการ : กลุ่มยุวชนสร้างสรรค์จังหวัดสุราษฎร์ธานี, กลุ่มคนรุ่นใหม่ ใจอาสา

     

    8 8

    16. บริหารจัดการ (ส่งหนังสือเชิญ)

    วันที่ 13 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ส่งหนังสือเชิญแก่สถานศึกษาเป้าหมาย และหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ทีมงานสามารถส่งหนังสือเชิญครบถ้วนทุกหน่วยงาน ทำให้ทราบกลุ่มเป้าหมาย ผู้ที่เกี่ยวข้องที่จะเข้าร่วมกิจกรรม

     

    5 6

    17. บริหารจัดการ (จัดเตรียมสถานที่และอุปกรณ์สื่อ)

    วันที่ 16 ธันวาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • สำรวจสถานที่สำหรับจัดวางเวที และยืมเต้นท์เก้าอี้จากเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี
    • สั่งทำไวนิลเวที และป้ายรณรงค์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีความพร้อมในการจัดงานสานเสวนาเพื่อสวนสาธารณะสีขาว โดยทุกคนทราบบทบาทหน้าที่ และแผนการทำงานที่ชัดเจน สถานที่ อุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมพร้อม

     

    5 3

    18. รณรงค์สวนสาธารณะสีขาว โดยพลังคนรุ่นใหม่

    วันที่ 19 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • มีการการแสดงจากนักเรียนโรงเรียนยุวศึกษา
    • เวทีเสวนา "คนรุ่นใหม่ รู้ทันธุรกิจแอลกอฮอล์”
    • การพูดคุยแนวทางร่วมสร้างสวนสาธารณะสีขาว โดยพลังคนรุ่นใหม่
    • การผนึกพลังเครือข่ายป้องกันนักดื่มหน้าใหม่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดความร่วมมือจากกองสวัสดิการสังคมเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ในการสนับสนุนค่าเวที และบุคลากรมาร่วมจัดงาน
    • เกิดความร่วมมือกับกลุ่มสภาเด็กและเยาวชนเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ในการทำงานเป็นนักรณรงค์งดเหล้า-บุหรี่
    • เกิดเครือข่ายป้องกันนักดื่มหน้าใหม่ จ.สุราษฎร์ธานี เพื่อร่วมเป็นนักรณรงค์งดเหล้า-บุหรี่ในสถาบันการศึกษา
    • ได้แนวทางในการทำงานร่วมกันระหว่างเครือข่ายองค์กรงดเหล้า จ.สุราษฎร์ธานี และ กลุ่มเยาวชนในเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี คือ การจัดกิจกรรมพื้นที่สร้างสรรค์ภายในงานตลาดน้ำบ้านดอน เดือนละ 1 ครั้ง

     

    200 170

    19. สรุปรายงานผลการดำเนินงาน

    วันที่ 24 ธันวาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • สรุปรายงานการเงินทุกกิจกรรม
    • จัดทำเอกสารรายงานผลการดำเนินงาน
    • สรุปรายงานปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สามารถปิดการเงินโครงการได้อย่างถูกต้อง
    • จัดทำรายงานกิจกรรมผ่านเว็บไซต์ใต้สร้างสุข
    • จัดทำเอกสารรายงานปิดโครงการ

     

    10 6

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้เกิดพื้นที่สาธารณะที่เป็นพื้นที่ปลอดเหล้า ปลอดบุหรี่อย่างแท้จริง
    ตัวชี้วัด : 1. มีการเก็บข้อมูลสวนสาธารณะ 3 แห่งในเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี เพื่อนำมาออกแบบการจัดการและรณรงค์แบบมีส่วนร่วม 2. มีแผนการจัดการสวนสาธารณะสีขาว ปลอดเหล้า ปลอดบุหรี่ ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. มีการรณรงค์สวนสาธารณะสีขาวโดยเยาวชนร่วมกับองค์กรภาคีท้องถิ่น และองค์กรในชุมชน 4. ถอดบทเรียนการรณรงค์จัดพื้นที่สวนสาธารณะสีขาว และขยายสู่พื้นที่อำเภอใกล้เคียง

    1.เก็บข้อมูลผู้ใช้บริการสวนสาธารณะทั้ง 3 แห่ง เพื่อนำมาประกอบการวางแผนรณรงค์

    2.มีการรณรงค์ร่วมกับนักเรียนในเขตเทบาลนครสุราษฎร์ธานี จำนวน 4 โรงเรียน

    3.ขยายสู่อำเภอใกล้เคียง 1 ตำบล ได้แก่ ต.พุมเรียง อ.ไชยา

    2 เพื่อพัฒนาทักษะการเป็นนักรณรงค์ทางสังคมรุ่นใหม่
    ตัวชี้วัด : 1. มีสมาชิกกลุ่มคนรุ่นใหม่ ใจอาสา ที่มีความรู้เท่าทันต่อแผนการตลาดของบริษัทเหล้า บุหรี่ 2. เยาวชนอย่างน้อย 30 คน สามารถเป็นแกนนนำในการรณรงค์ทางสังคมรุ่นใหม่ด้านงบเหล้าและบุหรี่ได้

    1.มีสมาชิกกลุ่มคนรุ่นใหม่ ใจอาสา จำนวน 2 กลุ่ม ได้เแก่ สภาเด็กและเยาวชนเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี,เยาวชนชุมชนหัวแหลมพัฒนา  เป็นนักรณรงค์หน้าใหม่ที่รู้เท่าทันแผนการตลาดบริษัทเหล้าบุหรี่

    2.มีเยาวชน จำนวน 35 คน เป็นแกนนำเยาวชนร่วมรณรงค์กับกลุ่มคนรุ่นใหม่ ใจอาสา

    3 เพื่อสร้างเยาวชนต้นแบบจิตอาสาด้านรณรงค์งดเหล้า - บุหรี่
    ตัวชี้วัด : 1. เกิดแกนนำเยาวชนจิตอาสา ที่มีความรู้ด้านกฏหมาย มีจิตตระหนักสำนึกต่อพิษภัยของเหล้า และบุหรี่ 2. แกนนำเยาวชนมีสำนึกพลเมือง และสนใจปัญหาของสังคม

    1.มีแกนนำเยาวชนจิตอาสา เพิ่มขึ้น 35 คน มีจิตตระหนักสำนึกต่อพิษภัยของเหล้า และบุหรี่

    2.มีแกนนำเยาวชนที่สนใจปัญหาสังคม จำนวน 15 คน

    4 เพื่อติดตาม หนุนเสริมการทำงาน
    ตัวชี้วัด : - การทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการที่ถูกต้อง

    1.การทำรายงานผลการดำเนินงานถูกต้อง จำนวน 1 ชุด

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เกิดพื้นที่สาธารณะที่เป็นพื้นที่ปลอดเหล้า ปลอดบุหรี่อย่างแท้จริง (2) เพื่อพัฒนาทักษะการเป็นนักรณรงค์ทางสังคมรุ่นใหม่ (3) เพื่อสร้างเยาวชนต้นแบบจิตอาสาด้านรณรงค์งดเหล้า - บุหรี่ (4) เพื่อติดตาม หนุนเสริมการทำงาน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการพลังจิตอาสา เพื่อสวนสาธารณะสีขาว

    รหัสโครงการ 55-01603 รหัสสัญญา 56-00-0115 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2556 - 31 ธันวาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
    • มีกลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่ช่วยกันเฝ้าระวังเรื่องเหล้า บุหรี่ในพื้นที่สวนสาธารณะที่เป็นเป้าหมายในการดำเนินงาน
    • กลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่ใจอาสา
    • พัฒนาศักยภาพกลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่ใจอาสา และเยาวชนในพื้นที่ให้สามารถทำงานพัฒนาด้านอื่นๆ ได้ด้วย
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
    • มีการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ให้สวนสาธารณะในเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานีเป็นพื้นที่ปลอดเหล้า ปลอดบุหรี่ เพื่อสร้างสุขภาพที่ดีให้กับคนที่มาใช้บริการ
    • สวนสาธารณะขุนทะเล สวนศรีตาปี สวนหลวง ร.9
    • เนื่องจากไม่สามารถจัดการพื้นที่ให้ปลอดเหล้า ปลอดบุหรี่ได้ร้อยเปอร์เซนต์ และถาวร จึงควรมีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์อย่างสม่ำเสมอ จัดโซนนิ่งพื้นที่ในสวนปลอดเหล้า บุหรี่ เช่น ที่สำหรับเด็กและเยาวชน ให้ปลอดเหล้าบุหรี่ในวัสสำคัญทางศาสนา เป็นต้น
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
    • มีการจัดการพื้นที่สวนสาธารณะให้ปลอกจากเหล้า บุหรี่ เป็นพื้นที่สำหรับสร้างเสริมสุขภาพอย่างแท้จริง ได้แก่ ทางกายด้วยการเป็นที่ออกกำลังกาย ทางใจเป็นที่พักผ่อนทำกิจกรรมเพื่อสร้างความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว ทางสังคมเป็นพื้นที่ในการพบปะสร้างความสัมพันธ์ของคนในชุมชน
    • สวนสาธารณะสีขาวเพื่อการรณรงค์ปลอดเหล้า บุหรี่
    • จัดกิจกรรมทางสังคมที่เกี่ยข้องกับการปลอดเหล้า บุหรี่ในสวนสาธารณะอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดระแสการรับรู้และตระหนักก่อนที่จะเข้ามาใช้บริการในสวนสาธารณะเหล่านั้น
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
    • มีการเชื่อมโยงการทำงานกับประชาคมงดเหล้า กับเทศบาลนครสุราษฎร์ธานีซึ่งเป็นเจ้าของในพื้นที่ในการจัดกิจกรรมในสวนสาธารณะ
    • เอกสารหนังสือขอความอนุเคราะห์
    • การเข้าร่วมเวทีสัมมนาที่จัดขึ้น
    • เชือ่มโยงกับเครือข่ายอื่นๆ ที่สามารถหนุนเสริมการทำงานด้านอื่นๆ เพื่อนำมาบูรณาการร่วมกับเครือข่ายเดิมๆ ที่มีอยู่แล้ว
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการพลังจิตอาสา เพื่อสวนสาธารณะสีขาว จังหวัด สุราษฎร์ธานี

    รหัสโครงการ 55-01603

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวกรรณิการ์ แพแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด