directions_run

โครงการพัฒนาศักยภาพ เยาวชนนักพัฒนา (ผลัดกันแลลูกเธอลูกฉัน)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1 เพื่อสร้างความเข้าใจก่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม ร่วมคิด ร่วมทำ ของผู้ใหญ่และเยาวชนในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.เด็กและเยาวชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและลดละเลิก สารเสพติด ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย 2.มีเครือข่ายเฝ้าระวังเสพสารเสพติด

 

 

  1. เด็กๆ มีพื้นที่ ที่ไว้ใจและกล้าปรึกษาปัญหาของวัยรุ่น และมีพี่ๆคอยหาทางออกในปัญหาที่เขาพบเจอ เป็นที่ไว้ใจและที่ปรึกษาที่ดีของเด็กๆ  มีคุณภาพที่ดี ลด ละ เลิก สารเสพติดได้ ร้อยละ 50 ของ กลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ เพราะกลุ่มเป้าหมายบางกลุ่มทีมทำงานยังเข้าไปไม่ถึง และกังวลว่าจะเป็นจุดเสี่ยงกับเด็กที่ปกติ หรือค่อนข้างมีความเสี่ยงหากเด็กกลุ่มเสพยาเข้ามาร่วมกระบวนการด้วย เกิดความไม่ไว้วางใจของผู้ปกคลองเด้กปกติเมื่อเข้าร่วมกิจกรรมกระบวนการร่วมกับเด้กปกติ
  2. มีเครือข่ายเฝ้าระวังสารเสพติด มีการแจ้งพื้นที่เสี่ยง และเข้าไปตักเตือน มีเจ้าหน้าที่เข้าลาดตระเวรตามจุดเสี่ยงต่าง
2 สร้างกระบวนการคิดในการพึ่งพาตนเอง
ตัวชี้วัด : 1.มีพื้นที่ให้เด็กและเยาวชนได้แสดงออกในตัวตนของเขา 2.มีการสร้างงานเพื่อเป็นรายได้

 

 

  1. เด็กๆ มีพื้นที่ในการทำกิจกรรมที่ตัวเองสนใจ มีที่ปรึกษาที่คอยให้คำแนะนำและทำกระบวนการตามที่ตนเองถนัด มีสถานที่นัดทำกิจกรรมของกลุ่มเด็กและเยาวชน คือศาลาเอนกประสงค์บ้านป่าชิง
  2. การสร้างงานสร้างรายได้ ยังไม่พบเห็นในกลุ่มเด็ก แต่ทีมทำงานและบุคคลที่สนใจร่วมกลุ่มกันผลิตสินค้าขายที่ตลาดสีเขียว เป็นตลาดในชุมชน
3 เพื่อเสริมสร้างกำลังใจให้เด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : 1.มีพื้นที่ในการแสดงผลงานของเด็กและเยาวชน 2.เกิดการยอมรับในผลงานของเด็กและเยาวชน 3.ให้โอกาสเด็กและเยาวชนร่วมกับผู้ใหญ่เพื่อวางแผนพัฒนาชุมชน

 

 

  1. เด็กๆ สามารถใช้พื้นที่ ศาลาเอนกประสงค์ซึ่งเป็นพื้นที่สาธารณะของชุมชนทำกิจกรรมและแสดงผลงานของเขา และอีกพื้นที่ที่เป็นพื้นที่เปิดอย่างยูทูป เฟสบุ๊คที่เขาสารมารถสื่อสารเล่าเรื่องราวดีๆ ของเขาและของชุมชนให้คนอื่นได้รับรู้
  2. ผู้ใหญ่เกิดการยอมรับ
4 ติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการโดยทีม สสส.และ สจรส.มอ.หาดใหญ่
ตัวชี้วัด : 1.การจัดทำรายงานส่ง เช่น ส1,ส.2,ส.3 และเอกสารการเงิน ง.1,ง.2 ในแต่ละงวด 2.การเข้าร่วมประชุม ร่วมกับ สสส.และสจรส.มอ.หาดใหญ่ ร้อยละ 75 ในการประชุม

 

 

  • การจัดทำเอกสาร ล่าช้ากว่าเวลาที่กำหนด เพราะด้วยกระบวนการทำรายงานหลายขั้นตอน
  • ได้เข้าร่วมประชุมกับ สจรส. ทุกครั้ง
5
ตัวชี้วัด :