directions_run

จากอาหารปลอดภัยสู่เมนูเพื่อสุขภาพ หมู่ที่ 5 ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 สร้างและพัฒนากลไกจัดการอาหารปลอดภัยในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.สร้างและพัฒนากลไกจัดการอาหารปลอดภัยในชุมชน 1.1 เกิดคณะทำที่ผ่านการพัฒนาด้านการจัดการอาหารปลอดในชุมชน 20 คน 1.2 เกิดกลุ่มปฏิบัติการ 20 กลุ่ม ๆละ 4 ครอบครัว

 

 

ไม่เกิดขึ้นตามตัวชี้วัดนี้ เพราะเกิดความขัดแย้งระหว่างแกนนำคณะทำงานที่แบ่งออกเป็นสองฝ่าย ตามการเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้านครั้งที่ผ่านมา

2 สร้างกฏกติกาของครัวเรือนอาหารปลอดภัยเพื่อใช้และขยายผลในชุมชน
ตัวชี้วัด : 2.สร้างกฏกติกาของครัวเรือนอาหารปลอดภัยเพื่อใช้และขยายผลในชุมชน 2.1 กติกาการจัดการอาหารปลอดภัยในครัวเรือน 80 ครัวเรือน ต้องคัดแยกขยะ ต้องทำและใช้ปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์ ต้องมีแปลงพืชผักปลอดสารพิษ ของครอบครัว ต้องมีแหล่งอาหารโปรตีน แร่ธาตุ ของครอบครัว 2.2 กติกาการจัดการอาหารปลอดภัยใน ศพด. 1 แห่ง ปรุงอาหารด้วยพืชผักจากชุมชน ปรุงอาหาร ลดหวาน/มัน/เค็ม เป็นเขตปลอดอาหารขยะ 2.3 กลุ่มปฏิบัติการอาหารปลอดภัย 20 ชุด ต้องค้นหาเมนูอาหารปลอดภัย 6 เมนู เพื่อส่งเข้าร่วมประกวดและจัดทำชุดความรู้สำหรับเผยแพร่

 

 

คงเหลือเพี่ยงครัวเรือนที่คัดแยกขยะ ทำปุ๋ยชีวภาพ ปลูกพืชผักกินเอง จำนวน 62 ครัวเรือน

3 สร้างเสริมปฏิบัติการการผลิตและคิดค้นเมนูสุขภาพ และขายยผลสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด : 3.สร้างเสริมปฏิบัติการการผลิตและคิดค้นเมนูสุขภาพ และขายยผลสู่ชุมชน 3.1 กลุ่มปฏิบัติการ 20 กลุ่มต่ต้องคิดค้นเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ 6 เมนูพร้อมชุดความรู้มานำเสนอต่อชุมชน 2 ครั้ง

 

 

ไม่เกิดตามตัวชี้วัดนี้

4 ขยายผลสสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด : 4.ขยายผลสู่ชุมชน 4.1 ผู้ปกครองเด็กสามารถควบคุมและดูแลเด็กให้มีพฤติกรรมการกินอาหารขยะน้อยลง ผ่านทาง กรรมการพัฒนาเด็กและผู้ดูแลเด็ก 4.2 หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ. ได้รับรู้เมนูอาหารเพื่อสุขภาพเฉพาะกลุ่ม และติดตามต่อเนื่องโดย รพ.สต. ผ่าน อสม.

 

 

ไม่เกิดตามตัวชี้วัดนี้

5 เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการ
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งที่เข้าร่วมกิจกรรม

 

 

เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 5 ครั้ง