แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 56-02522
สัญญาเลขที่ 56-00-1084

ชื่อโครงการ เก็บขยะถูกที่ ดูดีต่อชุมชน
รหัสโครงการ 56-02522 สัญญาเลขที่ 56-00-1084
ระยะเวลาตามสัญญา 1 กันยายน 2013 - 30 กันยายน 2014

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางเบญจา รัตนมณี
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นายศราวุธ รัตนมณี
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 22 กรกฎาคม 2014
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 31 กรกฎาคม 2014
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางสาวอุไร ผั้งประเสริฐศิลป์ หมู่ที่ 11 ตำบลบางหมาก อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 08 4191 5181
2 นายสินทร เพชรเจริญ 148/10 หมู่ที่ 11 ตำบลบางหมาก อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 08 6740 0680
3 นายอนันต์ เกตุนุ้ย 143/19 หมู่ที่ 11 ตำบลบางหมาก อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 08 1270 7195
4 นายประยุทธ์ เผือกนาโพธิ์ หมู่ที่ 11 ตำบลบางหมาก อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร
5 นางนิภา หมู่ที่ 11 ตำบลบางหมาก อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อให้ชุมชนมีการจัดการขยะอย่างครบวงจร

ลดปริมาณขยะชุมชนร้อยละ 30

2.

เพื่อให้ครัวเรือนเกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการจัดการขยะโดยชุมชนจะร่วมทำกันเอง

สมาชิกชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมจัดระเบียบบ้านเรือน จำนวน 50 หลังคาเรือน

3.

เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการต่อยอดขยายผลการดำเนินงาน

  1. ชุมชนมีกฎ กติกาของชุมชนและข้อเสนอเชิงนโยบายสู่การต่อยอดและขยายผลการดำเนินงาน
  2. ชุมชนมีระบบการติดตามประเมินผล และนำเสนอผลการดำเนินงานสู่สาธารณะ

4.

เพื่อติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ

รายงานงวดส่งตรงตามกำหนด

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : จัดทีมประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการขยะของชุมชนi

5,000.00 10 ผลผลิต

ผู้นำละแวกคัดเลือกบ้านส่งเข้าประกวด ละแวกละ 1 บ้านให้คณะกรรมการประเมิน จำนวน 7 คน ประเมินทุกหลังคาเรือน ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะกรรมการโครงการ คัดเลือกบ้านเข้าประกาดละแวกละ 1  หลังคาเรือน ต่อจากนั้นคณะกรรมการประเมินลงพื้นที่ประเมินให้คะแนนตามหลัเกณฑ์ที่กำหนดไว้เพื่อจัดลำดับ ผลการประเมินพบว่า รางวัลที่ 1 เป็นของบ้านนางจันทรทิพย์  ยืนยง  บ้านเลขที่ 143/12 ม.11 ต.บางหมาก      รางวัลที่ 2 บ้านนายนุกูล  พิบูลย์พล  บ้านเลขที่ 142 ม.11 ต.บางหมาก      รางวัลที่ 3 บ้านนางสมปอง  สุทธิผล  บ้านเลขที่ 1/11 ม.11 ต.บางหมาก  ส่วนที่เหลืออีก 7 หลังคาเรือนให้เป็นรางวัลชมเชย และคณะกรรมการกำหนดจัดทำพิธีมอบรางวัล และเกียรติบัตรในวันจัดกิจกรรมรณรงค์การจัดการขยะในชุมชน  วันที่ 11 เมษายน 2557

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คณะกรรมการโครงการฯ  คัดเลือกบ้านเข้าประกาดละแวกละ 1  หลังคาเรือน  รวม 10 หลังคาเรือน

5,000.00 5,000.00 10 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการ ฯ ลงให้คะแนน  10 หลังคาเรือน ที่ส่งเข้าประกวดตามหลัเกณฑ์ที่กำหนดไว้เพื่อจัดลำดับ ที่ 1 - 3  และรางวัลชมเชย       รางวัลที่ 1 บ้านนางจันทรทิพย์  ยืนยง  บ้านเลขที่ 143/12 ม.11 ต.บางหมาก       รางวัลที่ 2 บ้านนายนุกูล  พิบูลย์พล  บ้านเลขที่ 142 ม.11 ต.บางหมาก       รางวัลที่ 3 บ้านนางสมปอง  สุทธิผล  บ้านเลขที่ 1/11 ม.11 ต.บางหมาก  ส่วนที่เหลืออีก 7 หลังคาเรือนเป็นรางวัลชมเชย
      คณะกรรมการกำหนดจัดทำพิธีมอบรางวัล และเกียรติบัตรในวันจัดกิจกรรมรณรงค์การจัดการขยะในชุมชน  วันที่ 11 เมษายน 2557

กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมให้มีกติกาชุมชนด้านการจัดการขยะi

4,750.00 50 ผลผลิต

คณะกรรมการโครงการจัดประชุมกรรมการชุมชนและผู้นำละแวกในการจัดทำร่างกติกาชุมชน มีผู้เข้าร่วม จำนวน 36 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

กรรมการโครงการ  กรรมการชุมชน ผู้แทนละแวกร่วมกันร่างข้อเสนอ / กติกาชุมชน จำนวน 6 ข้อคือ  1.ทุกหลังคาเรือนต้องรับผิดชอบพื้นที่ส่วนรวม เช่นพื้นที่ถนนสาธารณะหน้าบ้านหรือบริเวณบ้าน  ไม่ให้มีขยะสกปรก รกรุงรัง  2. ทุกหลังคาเรือนต้องมีพื้นที่  หรือถังสำหรับทิ้งขยะเป็นของตนเอง  โดยมีการแยกขยะเปียก  ขยะแห้ง  3. ขยะชิ้นใหญ่ห้ามนำมาวางในที่สาธารณะ  หรือที่ส่วนบุคคลโดยไม่ได้รับอนุญาต 4. ทุกหลังคาเรือนต้องมีการคัดแยกขยะก่อนนำไปทิ้ง 5. หลังคาเรือนที่มีสัตว์เลี้ยงต้องปฏิบัติดังนี้            5.1 ต้องกำจัดสิ่งปฏิกูลไม่ให้สกปรกในที่สาธารณะ            5.2 สัตว์เลี้ยงต้องมีสัญญลักษณ์  แสดงความมีเจ้าของ  หากไม่มีสัญญลักษณ์แสดงว่าเป็นสัตว์ไม่มีเจ้าของ  6. ทุกหลังคาเรือนควรมีป้าย " ปลอดขยะและสิ่งปฏิกูล"

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

กรรมการโครงการ  กรรมการชุมชน และผู้แทนละแวกในชุมชน

4,750.00 4,750.00 50 36 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กรรมการโครงการ  กรรมการชุมชน ผู้แทนละแวกร่วมกันร่างข้อเสนอ / กติกาชุมชน จำนวน 6 ข้อคือ   1.ทุกหลังคาเรือนต้องรับผิดชอบพื้นที่ส่วนรวม เช่นพื้นที่ถนนสาธารณะหน้าบ้านหรือบริเวณบ้าน  ไม่ให้มีขยะสกปรก รกรุงรัง   2. ทุกหลังคาเรือนต้องมีพื้นที่  หรือถังสำหรับทิ้งขยะเป็นของตนเอง  โดยมีการแยกขยะเปียก  ขยะแห้ง   3. ขยะชิ้นใหญ่ห้ามนำมาวางในที่สาธารณะ  หรือที่ส่วนบุคคลโดยไม่ได้รับอนุญาต 4. ทุกหลังคาเรือนต้องมีการคัดแยกขยะก่อนนำไปทิ้ง 5. หลังคาเรือนที่มีสัตว์เลี้ยงต้องปฏิบัติดังนี้             5.1 ต้องกำจัดสิ่งปฏิกูลไม่ให้สกปรกในที่สาธารณะ             5.2 สัตว์เลี้ยงต้องมีสัญญลักษณ์  แสดงความมีเจ้าของ  หากไม่มีสัญญลักษณ์แสดงว่าเป็นสัตว์ไม่มีเจ้าของ   6. ทุกหลังคาเรือนควรมีป้าย " ปลอดขยะและสิ่งปฏิกูล"

กิจกรรมหลัก : ประชุมติดตามประเมินผลโครงการi

5,600.00 7 ผลผลิต

ประชุมคณะทำงานสรุปผลการดำเนินงานเดือนละครั้ง จำนวน 5 ครั้ง ในงวดที่ 2


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะทำงานประชุมสรุปกิจกรรมที่ดำเนินการ เดือนละ 1 ครั้ง
14 มีนาคม ติดตามการเสนอรายชื่อบ้านสะอาดละแวกละ 1 หลังคาเรือนเพื่อส่งเข้าประกวดและร่วมกันวางแผนการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป
14 เมษายน ร่วมสรุปผลการจัดกิจกรรมรณรงค์และการประกวดบ้านสวยงามสิ่งแวดล้อมดี การมอบรางวัล และเกียรติบัตรบ้านสวยงาม ทำให้สมาชิกพึงพอใจ
14 พฤษภาคม หารือการจัดทำร่างข้อเสนอและกติกาชุมชน โดยสรุปให้รองบประมาณงวดที่ 2
14 มิถุนายน คณะกรรมการประชุมพิจารณาให้เลื่อนการจัดกิจกรรม ร่างข้อเสนอ /กติกาชุมชน  ออกไปก่อน เมื่อได้รับงบประมาณงวดที่ 2แล้วจึงดำเนินการต่อ
14 กรกฎาคม ประชุมหารือเตรียมการจัดกิจกรรมร่างข้อเสนอ /กติกาชุมชน กำหนดจัดในวันที่ 22 กรกฎาคม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 12 ครั้ง

 

560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานประชุมสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
  • คณะทำงานวางแผนและเตรียมการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

 

560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานประชุมสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
  • คณะทำงานวางแผนและเตรียมการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

 

560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานประชุมสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
  • คณะทำงานวางแผนและเตรียมการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป
  • คณะทำงาน 7คน ร่วมประชุมสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
  • คณะทำงานร่วมวางแผนการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป
560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานได้สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา สมาชิกชุมชนให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมและให้ความร่วมมือจัดกิจกรรมค่อนข้างดี
  • คณะทำงานได้วางแผนการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

คณะกรรมการโครงการ และตัวแทนสมาชิกชุมชนละแวกละ 2 คน  รวม  20 คน

1,600.00 1,600.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการโครงการ และตัวแทนสมาชิกชุมชน จำนวน  20 คน ร่วมกันกำหนดหลักเกณท์ การประกวดบ้านสะอาด สวยงาม
ผลการพิจารณา - ให้คณะกรรมการโครงการ เป็นกรรมการตัดสินบ้านสะอาด สวยงาม - ให้หัวหน้าละแวกพิจารณาส่งรายชื่อบ้านสะอาดสวยงามละแวกละ 1 หลัง - คณะกรรมการลงตรวจสอบและจัดลำดับบ้านสะอาด สวยงาม เพื่อมอบรางวัล - บ้านที่ส่งเข้าประกวดต้องมีการจัดการขยะในครัวเรือน มีถังแยกขยะ  บริเวณบ้านสะอาด เรียบร้อย  สวยงาม

  • คณะกรรมการร่วมประสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
  • คณะกรรมการร่วมกันวางแผนการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป
560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมการสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
  • ติดตามการเสนอรายชื่อบ้านสะอาด ละแวกละ 1 หลังคาเรือน เพื่อส่งเข้าประกวด
  • ชุมชนให้ความสนใจ และให้ความร่วมมือในการส่งรายชื่อเข้าประกวด
  • กำหนดวันลงตรวจสอบให้คะแนนประกวดบ้านสะอาด
  • คณะกรรมการร่วมกันวางแผนการดำเนินงานครั้งต่อไป

คณะกรรมการโครงการ

560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลสรุปพบว่าการจัดกิจกรรมรณรงค์ทำความสะอาดบ้านเรือนและที่สาธารณะประโยชน์ของชุมชนซึ่งมีผู้เข้าร่วม โครงการร้อยละ 75 รวมทั้งการมอบรางวัล และเกียรติบัตรบ้านสวยงามที่สมาชิกพึงพอใจมาก แต่ชุมชนยังมีปัญหาเรื่องถังขยะของชุมชนที่ไม่เพียงพอ ทำให้การแยกขยะจากบ้านเรือนต้องมาทิ้งถังรวมของชุมชน ซึ่งชุมชนมองว่าไม่เป็นการถูกต้อง

คณะกรรมการโครงการ

560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการโครงการร่วมหารือการจัดทำร่างข้อเสนอและกติกาชุมชนโดยนัดความพร้อมในวันที่ 10 มิ.ย.57 หากได้รับงบประมาณของสสส. งวดที่ 2 แต่หากงบประมาณยังล่าช้าคณะกรรมการโครงการคงชดเชยไม่ไหว เพราะชดเชยไปบ้างแล้ว คงต้องเลื่อนการจัดกิจกรรมออกไป

คณะทำงานโครงการ

0.00 0.00 2 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาและวางแผนการดำเนินงานครั้งต่อไป พี่เลี้ยงขอเข้าร่วมรับทราบ ทีมงานทวงถามเรื่องการเงิน พี่เลี้ยงแนะนำให้ออกเงินไปก่อนกรณีที่จำนวนเงินไม่มาก และช่วยตรวจสอบเอกสารหลักฐานทางการเงินพร้อมช่วยลงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันเนื่องจากผู้ดำเนินการทั้งหมดเป็นกลุ่มผู้สูงอายุ

กรรมการโครงการ

560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการโครงการร่วมกันพิจารณาและมีมติให้เลื่อนการจัดกิจกรรม ร่างข้อเสนอ /กติกาชุมชน  ออกไปก่อน เมื่อได้รับงบประมาณงวดที่ 2แล้วจึงดำเนินการต่อ

คณะกรรมการโครงการ

560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการโครงการร่วมกันสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา  และเตรียมการจัดกิจกรรมร่างข้อเสนอ /กติกาชุมชน กำหนดจัดกิจกรรมวันที่  22  กรกฎาคม 2557  และประสานงานกับพี่เลี้ยงเพื่อให้ข้อเสนอแนะ

กรรมการโครงการ

560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการโครงการร่วมกันสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา  ตรวจสอบกติกาชุมชน  เพื่อจัดทำเอกสารมอบใหทุกหลังคาเรือน  และเตรียมจัดเวทีสรุปผลโครงการ

กิจกรรมหลัก : ค่าจัดทำป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่i

1,000.00 0 ผลผลิต

จ้างทำป้ายปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

มีป้ายที่ทำด้วยไวนิลใช้ในการติดเมื่อจัดกิจกรรมโครงการ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

จ้างทำป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่

1,000.00 1,000.00 1 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการได้จ้างร้านรับทำป้าย  ให้ทำป้ายประชาสัมพันธ์  สถานที่นี้ปลอดบุหรี่  จำนวน  2 ป้าย  ติดในชุมชน  และบริเวณที่จัดกิจกรรมเพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม  และผู้อาศัยอยู่ในชุมชน  ตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่

กิจกรรมหลัก : ค่าเดินทางและที่พัก ในกรณี เข้าร่วมประชุมกับ สสส.i

10,000.00 2 ผลผลิต

เดินทางพบพี่เลี้ยงที่บ้านเพื่อให้ตรวจสอบเอกสารรายงาน จำนวน 4 ครั้ง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะกรรมการโครงการพบพี่เลี้ยงที่บ้านเพื่อให้ช่วยตรวจสอบเอกสารและการจัดทำรายงานให้เป็นปัจจุบัน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 6 ครั้ง

 

10,000.00 400.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการเข้าใจแนวทางการดำเนินงานโครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่่นน่าอยู่ร่วมกับ สสส.
  • ทีมงานสามารถรายงานผลการดำเนินงานโครงการทางเว็บไซด์ได้

ผู้เข้าประชุมประกอบด้วย หัวหน้าโครงการ  เจ้าหน้าที่การเงิน  และผู้จัดทำรายงาน

200.00 200.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตรวจเอกสารทางการเงิน  ตรวจรายงานการดำเนินงานงวดที่ 1  ถูกต้องครบถ้วน

ผู้รับผิดชอบโครงการ  ผู้จัดทำรายงาน  ผู้รับผิดชอบการเงิน

10,000.00 400.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ  ผู้จัดทำรายงาน  ผู้รับผิดชอบการเงิน  เดินทางไปพบพี่เลี้ยง สสส.คุณเบ็ญจา  รัตนมณี ที่บ้านพี่เลี้ยงปรึกษาการจัดทำรายงาน  การเบิกจ่ายงบประมาณและการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป  พี่เลี้ยงได้ตรวจสอบแก้ไขรายงานให้ถูกต้อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ  ผู้จัดทำรายงาน และผู้รับผิดชอบการเงิน

10,000.00 400.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ  ผู้จัดทำรายงาน และผู้รับผิดชอบการเงิน  เดินทางไปพบพี่เลี้ยง คุณเบ็ญจา รัตนมณี  ที่บ้าน  ปรึกษาการจัดทำรายงาน  การเบิกจ่ายงบประมาณ  และการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป  พี่เลี้ยงได้ตรวจสอบแก้ไขรายงานให้ถูกต้อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ  ผู้จัดทำรายงาน  และผู้รับผิดชอบการเงิน

400.00 400.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ  ผู้จัดทำรายงาน  และผู้รับผิดชอบการเงิน  เดินทางไปพบพี่เลี้ยง  คุณเบ็ญจา  รัตนมณี  ที่บ้านปรึกษาการเบิกจ่ายงบประมาณ  การจัดกิจกรรมครั้งต่อไป  และให้พี่เลี้ยงตรวจสอบรายงาน แก้ไขให้ถูกต้อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ  ผู้จัดทำรายงาน  ผู้รับผิดชอบการเงิน

400.00 400.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ  ผู้จัดทำรายงาน  ผู้รับผิดชอบการเงินของโครงการเดินทางไปพบพี่เลี้ยง  คุณเบ็ญจา  รัตนมณี  ที่บ้านปรึกษาการจัดกิจกรรม  และให้พี่เลี้ยงตรวจสอบรายงาน  และแก้ไขให้ถูกต้อง

กิจกรรมหลัก : รณรงค์จัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในชุมชนเนื่องในวันสำคัญๆi

8,000.00 100 ผลผลิต

จัดกิจกรรมรณรงค์การจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมชุมชน มีสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรม  จำนวน  75 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะกรรมการโครงการร่วมกับสมาชิกชุมชน รณรงค์ทำความสะอาด  บริเณบ้านพักของตนเอง  และที่สาธารณะเช่น บริเวณถนน  ได้รับความร่วมมือจากเทศบาลเมืองชุมพรในการขนขยะ  และได้รับความร่วมมือจากนายกเทศมนตรีเทศบาลเมือง หัวหน้าฝ่ายอนามัยสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมือง  และเจ้าหน้าที่ฝ่ายอนามัยสิ่งแวดล้อมเข้าเยี่ยมชมให้กำลังใจ มอบรางวัล และเกียรติบัตรบ้านสะอาดสวยงามสิ่งแวดล้อมดีทำให้งานประสบผลสำเร็จด้วยดี  เป็นที่พอใจของสมาชิกชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

สมาชิกชุมชนเข้าร่วม กิจกรรม  จำนวน  75 คน

8,000.00 8,000.00 100 75 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการ  สมาชิกชุมชนร่วมกันทำความสะอาด  บริเณบ้านพักของตนเอง  และที่สาธารณะเช่นบริเวณถนน  ได้รับความร่วมมือจากเทศบาลเมืองชุมพรในการขนขยะ  และได้รับความร่วมมือจากนายกเทศมนตรีเทศบาลเมือง หัวหน้าฝ่ายอนามัยสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมือง  และเจ้าหน้าที่ฝ่ายอนามัยสิ่งแวดล้อมเข้าเยี่ยมชมให้กำลังใจ มอบรางวัล และเกียรติบัตรบ้านสะอาดสวยงามสิ่งแวดล้อมดีทำให้งานประสบผลสำเร็จด้วยดี  เป็นที่พอใจของสมาชิกชุมชน

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
ผู้นำละแวก

การแบ่งละแวกให้ผู้แทนครัวเรือนรับผิดชอบ เช่นเดียวกับผู้ใหญ่บ้านหรือประธานชุมชน ทำให้การดูแลสมาชิกชุมชนทั่วถึงมากขึ้น

ผู้นำละแวกจะทำหน้าที่เสมือนประธานละแวก คอยรับเรื่องหรือปัญหาของชุมชนมานำเสนอที่ประชุมแกนนำ ทำให้การบรรเทาความเดือดร้อนของสมาชิกทั่วถึงมากขึ้น สมาชิกมีความพึงพอใจ

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

สภาพโดยรวมของชุมชน จากเดิมที่แนวถนนมีขยะและถังขยะที่เคยมีขยะล้นถัง มีการคุ้ยเขี่ยของสุนัขและหนู และส่งกลิ่นรบกวน ปัจจุบันสภาพแบบนี้หายไป

สภาพแวดล้อมของชุมชนมีความสะอาดเป็นระเบียบมากขึ้น สวยงามด้วยพันธ์ุผักสวนครัวที่วางไว้อย่างเป็นระเบียบหน้าบ้าน และในส่วนที่สาธารณะที่วางถังขยะมีการปลูกผักสวนครัว

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม

การจัดการขยะขนาดใหญ่ที่เทศบาลไม่เก็บ เช่นที่นอนเก่า เตียงเก่า ต้นไม้ที่ตัดจากบ้าน

ทำข้อตกลงร่วมกันระหว่างสมาชิกชุมชน ประธานชุมชนและเทศบาล ว่าก่อนทิ้งขยะประเภทดังกล่าว สมาชิกต้องแจ้งประธานชุมชน และประธานชุมชนจะประสานเทศบาลและนัดมาเก็บขยะโดยไม่ต้องเอาไปวางทิ้งในพื้นที่สาธารณะของชุมชน

พี่เลี้ยงแนะนำให้ประสานเทศบาล หารือเรื่องการจัดเก็บขยะประเภทดังกล่าว

3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

มีการดำเนินในกิจกรรมของโครงการที่สอดคล้องกับแผนงานที่กำหนดไว้ในโครงการแสดงให้เห็นว่าโครงการนี้มีแนวโน้มดำเนินการได้สำเร็จ

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

การประสานงานเป็นส่วนหนึ่งของการทำงาน หากเราจัดกิจกรรมและจำเป็นต้องหาตัวช่วย จากองค์กรหรือชุมชนอื่น ควรมีการประสานงานทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการก่อนล่วงหน้า บอกวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม จะได้รับความร่วมมืออย่างดี เช่นเดียวกับชุมชนปรมินทร 12 ที่มีการบริหารจัดการและการประสานงานที่ดี อาจเป็นเพราะผู้สูงอายุเป็นข้าราชการบำนาญเป็นส่วนใหญ่ เป็นผู้มีประสบการณ์จากการทำงานราชการมาก่อน ทำให้มองการทำงานอย่างเป็นระบบ ซึ่งหลายชุมชนไม่มี

สร้างรายงานโดย Nongluk_R