แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 56-02522
สัญญาเลขที่ 56-00-1084

ชื่อโครงการ เก็บขยะถูกที่ ดูดีต่อชุมชน
รหัสโครงการ 56-02522 สัญญาเลขที่ 56-00-1084
ระยะเวลาตามสัญญา 1 กันยายน 2013 - 30 กันยายน 2014

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางเบญจา รัตนมณี
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นายยุทธนา รัตนมณี
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 1 สิงหาคม 2014
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 30 กันยายน 2014
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายอนันต์ เกตุนุ้ย 143/19 หมู่ที่ 11 ตำบลบางหมาก อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 08 1270 7195
2 นางสาวอุไร ผั้งประเสริฐศิลป์ หมู่ที่ 11 ตำบลบางหมาก อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 08 4191 5181
3 นางนิภา สุรการพินิจ หมู่ที่ 11 ตำบลบางหมาก อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร
4 นายสินทร เพชรเจริญ 148/10 ตำบลบางหมาก อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 08 6240 0686

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อให้ชุมชนมีการจัดการขยะอย่างครบวงจร

ลดปริมาณขยะชุมชนร้อยละ 30

2.

เพื่อให้ครัวเรือนเกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการจัดการขยะโดยชุมชนจะร่วมทำกันเอง

สมาชิกชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมจัดระเบียบบ้านเรือน จำนวน 50 หลังคาเรือน

3.

เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการต่อยอดขยายผลการดำเนินงาน

  1. ชุมชนมีกฎ กติกาของชุมชนและข้อเสนอเชิงนโยบายสู่การต่อยอดและขยายผลการดำเนินงาน
  2. ชุมชนมีระบบการติดตามประเมินผล และนำเสนอผลการดำเนินงานสู่สาธารณะ

4.

เพื่อติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ

รายงานงวดส่งตรงตามกำหนด

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ค่าจัดทำรายงานส่ง สสส.i

1,000.00 3 ผลผลิต

จัดทำสรุปรายงานส่ง สสส.


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะกรรมการโครงการจ้างบุคคลภายนอก(นายพีรดนย์  พัฒราช)จัดทำรายงานโครงการเพื่อส่ง สสส.ให้ทันตามกำหนด

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

กรรมการโครงการมอบหมายให้ นายพีรดนย์  พัฒราช  ทำหน้าที่จัดทำรายงานโครงการส่ง สสส.

1,000.00 1,000.00 1 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กรรมการโครงการมอบหมายให้ นายพีรดนย์  พัฒราช จัดทำรายงานโครงการทุกกิจกรรมตั้งแต่เริมโครงการจนถึงปิดโครงการ

กิจกรรมหลัก : จัดเวทีประชาคมกติกาชุมชนและข้อเสนอชุมชนi

27,200.00 140 ผลผลิต

การจัดทำเวทีรับฟังความคิดเห็นข้อเสนอ/กติกาชุมชนแบ่งออกเป็น 2 รอบ รอบแรกวันที่ 3 สิงหาคม 2557  ผู้ดำเนินการประชุมและพี่เลี้ยงแจ้งร่างข้อเสนอ /กติกาชุมชน  ต่อที่ประชุมและเปิดให้ที่ประชุมพิจารณา  อภิปรายแสดงความคิดเห็นและแก้ไขร่างบางข้อที่ยังไม่ชัดเจน แล้วให้คณะกรรมการนำข้อเสนอไปปรับปรุงตามข้อเสนอใหม่  และนำมาให้ที่ประขุมพิจารณาอีกครั้งในรอบที่ 2 วันที่ 4 สิงหาคม 2557 ที่ประชุมมีมติรับข้อเสนอโดยนายกเทศมนตรีรับทราบและยินดีให้การสนับสนุน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะกรรมการโครงการ จัดเวทีรับฟังความคิดเห็นต่อร่างข้อเสนอ ในร่างที่ 2 โดยผู้เข้าประชุมร่วมกันพิจารณาข้อเสนอ มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นและแก้ไขร่างบางข้อที่ไม่ชัดเจน  ให้คณะกรรมการนำร่างข้อเสนอไปปรับปรุงใหม่ดังนี้      1.ทุกหลังคาเรือนต้องรับผิดชอบพื้นที่ส่วนรวม เช่นพื้นที่ถนนสาธารณะ หน้าบ้าน และบริเวณบ้านไม่ให้มีขยะสกปรก รกรุงรัง      2.ทุกหลังคาเรือนต้องมีถังสำหรับทิ้งขยะของตนเอง ขยะเปียกต้องใส่ถุงผูกให้เรียบร้อยก่อนนำไปทิ้งลงถังขยะเทศบาล      3.ขยะชิ้นใหญ่ เช่น ที่นอน ตู้ เตียง โต๊ะ ฯลฯ ที่ต้องการทิ้งให้แจ้งประธานชุมชน เพื่อแจ้งเทศบาลกำหนดวันมาเก็บ  ห้ามนำไปวางในที่สาธารณะ  หรือที่ส่วนบุคคล ให้รอเทศบาลมาเก็บ      4.หลังคาเรือนที่แยกขยะขายได้ไว้ให้นำไปขาย ณ.จุดรับซื้อ  หน้าบ้านประธานชุมชน  ทุกวันเสาร์สัปดาห์ที่ 2 ของเดือน เวลา 10.00 น. - 12.00 น.เริ่มตั้งแต่วันเสาร์ที่ 13 กันยายน  2557 เป็นต้นไป      5.หลังคาเรือนที่มีสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัข แมว ฯลฯ ต้องปฏิบัติดังนี้              5.1 ต้องกำจัดสิ่งปฏิกูลของสัตว์เลี้ยง  ไม่ให้สกปรกบริเวณบ้านผู้อื่น  และในที่สาธารณะ              5.2 สัตว์เลี้ยงต้องมีสัญญลักษณ์แสดงความมีเจ้าของ              5.3 ต้องรับผิดชอบกรณีย์ที่สัตว์เลี้ยงไปทำร้ายบุคคลอื่น  และทำลายทรัพย์สินของผู้อื่น              5.4 สัตว์เลียงเช่นสุนัข แมว ต้องฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าอย่างต่อเนื่องทุกปี

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

กรรมการโครงการ  กรรมการชุมชน  สมาชิกชุมชน นายกเทศมนตรีและคณะเทศมนตรีเทศบาลเมืองชุมพร

27,200.00 27,200.00 140 102 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าประชุมร่วมกันพิจารณาข้อเสนอ มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นและแก้ไขร่างบางข้อที่ไม่ชัดเจน  ให้คณะกรรมการนำร่างข้อเสนอไปปรับปรุงใหม่ดังนี้       1.ทุกหลังคาเรือนต้องรับผิดชอบพื้นที่ส่วนรวม เช่นพื้นที่ถนนสาธารณะ หน้าบ้าน และบริเวณบ้านไม่ให้มีขยะสกปรก รกรุงรัง       2.ทุกหลังคาเรือนต้องมีถังสำหรับทิ้งขยะของตนเอง ขยะเปียกต้องใส่ถุงผูกให้เรียบร้อยก่อนนำไปทิ้งลงถังขยะเทศบาล       3.ขยะชิ้นใหญ่ เช่น ที่นอน ตู้ เตียง โต๊ะ ฯลฯ ที่ต้องการทิ้งให้แจ้งประธานชุมชน เพื่อแจ้งเทศบาลกำหนดวันมาเก็บ  ห้ามนำไปวางในที่สาธารณะ  หรือที่ส่วนบุคคล ให้รอเทศบาลมาเก็บ       4.หลังคาเรือนที่แยกขยะขายได้ไว้ให้นำไปขาย ณ.จุดรับซื้อ  หน้าบ้านประธานชุมชน  ทุกวันเสาร์สัปดาห์ที่ 2 ของเดือน เวลา 10.00 น. - 12.00 น.เริ่มตั้งแต่วันเสาร์ที่ 13 กันยายน  2557 เป็นต้นไป       5.หลังคาเรือนที่มีสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัข แมว ฯลฯ ต้องปฏิบัติดังนี้               5.1 ต้องกำจัดสิ่งปฏิกูลของสัตว์เลี้ยง  ไม่ให้สกปรกบริเวณบ้านผู้อื่น  และในที่สาธารณะ               5.2 สัตว์เลี้ยงต้องมีสัญญลักษณ์แสดงความมีเจ้าของ               5.3 ต้องรับผิดชอบกรณีย์ที่สัตว์เลี้ยงไปทำร้ายบุคคลอื่น  และทำลายทรัพย์สินของผู้อื่น               5.4 สัตว์เลียงเช่นสุนัข แมว ต้องฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าอย่างต่อเนื่องทุกปี

กิจกรรมหลัก : ประชุมติดตามประเมินผลโครงการi

5,600.00 7 ผลผลิต

คณะกรรมการโครงการมีการจัดประชุมในงวดที่ 3 จำนวน 1 ครั้ง มีคณะกรรมการเข้าร่วม จำนวน 7 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะกรรมการโครงการร่วมกันสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา  ตรวจสอบกติกาชุมชน  เพื่อจัดทำเอกสารมอบให้ทุกหลังคาเรือน  และเตรียมจัดเวทีสรุปผลโครงการ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 12 ครั้ง

 

560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานประชุมสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
  • คณะทำงานวางแผนและเตรียมการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

 

560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานประชุมสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
  • คณะทำงานวางแผนและเตรียมการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

 

560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานประชุมสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
  • คณะทำงานวางแผนและเตรียมการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป
  • คณะทำงาน 7คน ร่วมประชุมสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
  • คณะทำงานร่วมวางแผนการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป
560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานได้สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา สมาชิกชุมชนให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมและให้ความร่วมมือจัดกิจกรรมค่อนข้างดี
  • คณะทำงานได้วางแผนการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

คณะกรรมการโครงการ และตัวแทนสมาชิกชุมชนละแวกละ 2 คน  รวม  20 คน

1,600.00 1,600.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการโครงการ และตัวแทนสมาชิกชุมชน จำนวน  20 คน ร่วมกันกำหนดหลักเกณท์ การประกวดบ้านสะอาด สวยงาม
ผลการพิจารณา - ให้คณะกรรมการโครงการ เป็นกรรมการตัดสินบ้านสะอาด สวยงาม - ให้หัวหน้าละแวกพิจารณาส่งรายชื่อบ้านสะอาดสวยงามละแวกละ 1 หลัง - คณะกรรมการลงตรวจสอบและจัดลำดับบ้านสะอาด สวยงาม เพื่อมอบรางวัล - บ้านที่ส่งเข้าประกวดต้องมีการจัดการขยะในครัวเรือน มีถังแยกขยะ  บริเวณบ้านสะอาด เรียบร้อย  สวยงาม

  • คณะกรรมการร่วมประสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
  • คณะกรรมการร่วมกันวางแผนการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป
560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะกรรมการสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
  • ติดตามการเสนอรายชื่อบ้านสะอาด ละแวกละ 1 หลังคาเรือน เพื่อส่งเข้าประกวด
  • ชุมชนให้ความสนใจ และให้ความร่วมมือในการส่งรายชื่อเข้าประกวด
  • กำหนดวันลงตรวจสอบให้คะแนนประกวดบ้านสะอาด
  • คณะกรรมการร่วมกันวางแผนการดำเนินงานครั้งต่อไป

คณะกรรมการโครงการ

560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลสรุปพบว่าการจัดกิจกรรมรณรงค์ทำความสะอาดบ้านเรือนและที่สาธารณะประโยชน์ของชุมชนซึ่งมีผู้เข้าร่วม โครงการร้อยละ 75 รวมทั้งการมอบรางวัล และเกียรติบัตรบ้านสวยงามที่สมาชิกพึงพอใจมาก แต่ชุมชนยังมีปัญหาเรื่องถังขยะของชุมชนที่ไม่เพียงพอ ทำให้การแยกขยะจากบ้านเรือนต้องมาทิ้งถังรวมของชุมชน ซึ่งชุมชนมองว่าไม่เป็นการถูกต้อง

คณะกรรมการโครงการ

560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการโครงการร่วมหารือการจัดทำร่างข้อเสนอและกติกาชุมชนโดยนัดความพร้อมในวันที่ 10 มิ.ย.57 หากได้รับงบประมาณของสสส. งวดที่ 2 แต่หากงบประมาณยังล่าช้าคณะกรรมการโครงการคงชดเชยไม่ไหว เพราะชดเชยไปบ้างแล้ว คงต้องเลื่อนการจัดกิจกรรมออกไป

คณะทำงานโครงการ

0.00 0.00 2 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาและวางแผนการดำเนินงานครั้งต่อไป พี่เลี้ยงขอเข้าร่วมรับทราบ ทีมงานทวงถามเรื่องการเงิน พี่เลี้ยงแนะนำให้ออกเงินไปก่อนกรณีที่จำนวนเงินไม่มาก และช่วยตรวจสอบเอกสารหลักฐานทางการเงินพร้อมช่วยลงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันเนื่องจากผู้ดำเนินการทั้งหมดเป็นกลุ่มผู้สูงอายุ

กรรมการโครงการ

560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการโครงการร่วมกันพิจารณาและมีมติให้เลื่อนการจัดกิจกรรม ร่างข้อเสนอ /กติกาชุมชน  ออกไปก่อน เมื่อได้รับงบประมาณงวดที่ 2แล้วจึงดำเนินการต่อ

คณะกรรมการโครงการ

560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการโครงการร่วมกันสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา  และเตรียมการจัดกิจกรรมร่างข้อเสนอ /กติกาชุมชน กำหนดจัดกิจกรรมวันที่  22  กรกฎาคม 2557  และประสานงานกับพี่เลี้ยงเพื่อให้ข้อเสนอแนะ

กรรมการโครงการ

560.00 560.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการโครงการร่วมกันสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา  ตรวจสอบกติกาชุมชน  เพื่อจัดทำเอกสารมอบใหทุกหลังคาเรือน  และเตรียมจัดเวทีสรุปผลโครงการ

กิจกรรมหลัก : จัดเวทีสรุปผลการดำเนินงานi

8,000.00 140 ผลผลิต

คณะทำงาน/สมาชิกชุมชนและพี่เลี้ยงจัดประชุมนำเสนอผลการดำเนินงานตลอดโครงการ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 85 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ประธานชุมชนนำเสนอประมวลผลให้สมาชิกชุมชนได้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการที่มีโครงการนี้เข้ามา ส่งผลให้สมาชิกและชุมชนเกิดการพัฒนาในหลายๆเรื่อง เช่น เกิดโครงสร้างชุมชนที่ปรับให้เข้ากับบริบทของชุมชน ผู้นำแต่ละคนที่อาสาเข้ามารับผิดชอบในละแวก มีส่วนร่วมในกิจกรรมของโครงการ รวมทั้งเกิดการทำงานอย่างเป็นระบบ มีการประสานที่ชัดเจนขึ้น จากที่ประธานต้องประสานอยู่คนเดียว ปัจจุบัน มีผู้นำละแวกรับหน้าที่ประสานในละแวกของตนเองทำให้สะดวกและทั่วถึงมากขึ้น ส่วนผลการดำเนินตามกิจกรรมของโครงการป้าอุไรเล่าให้ฟังคร่าวๆว่า ชุมชนมีการพัฒนาขึ้นมากจากโครงการนี้ เราจะเห็นบริเวณชุมชนสะอาดเป็นระเบียบ มองไปแล้วสบายตา เทศบาลจากที่ไม่เคยเข้ามาสนใจชุมชน ต้องเข้ามาให้ความสำคัญและมีการเข้ามาเก็บขยะทุกวันจากเดิม 3 วันครั้งหรืออาทิตย์ละครั้ง และที่สำคัญสมาชิกของชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน มีความสามัคคีมากขึ้น ผู้สูงอายุไม่ว่างงาน และอยากขอให้พี่เลี้ยงช่วยสนับสนุนให้โครงการดีๆเหล่านี้เกิดขึ้นอีก ส่วนสมาชิกที่เข้าร่วมประชุมนำเสนอให้ ต่อยอดด้วยการจัดให้มีการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิคในชุมชนทุกวัน พี่เลี้ยงแนะนำให้ประสานของงบประมาณ สปสช.หรืองบกองทุนหลักประกันสุขภาพจากเทศบาล ซึ่งทางนายกฯรับปากว่าจะสนับสนุนสิ่งนี้ ส่วนการต่อยอดโครงการอาจขอเป็นการสร้างงานสร้างอาชีพและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเบาหวาน-ความดันที่ติดเตียง รวมทั้งผู้พิการ ให้ขอสนับสนุนจาก สสส.

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คณะกรรมการโครงการ  ประชาชนในชุมชน  ผู้นำละแวก

8,000.00 9,228.00 100 85 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการโครงการสรุปผลการดำเนินโครงการเก็บขยะถูกที่ดูดีต่อชุมชนให้สมาชิกชุมชนได้รับทราบ มอบกติกาชุมชนให้กับทุกหลังคาเรือน เพือถือปฏิบัติร่วมกัน  และจัดสรรถังขยะที่ได้รับการสนับสนุนจากเทศบาลเมืองชุมพรให้กับละแวกต่างๆให้เพียงพอ  การดำเนินงานตลอด 1 ปีมีผู้ให้ความร่วมมือค่อนข้างดี  ทำให้ชุมชนมีการจัดการขยะดีขึ้น สรุปปิดโครงการ
     

กิจกรรมหลัก : ค่าภาพถ่ายกิจกรรมi

1,000.00 0 ผลผลิต

กรรมการโครงการมีการจ้างช่างภาพถ่ายภาพกิจกรรมตั้งแต่เริ่มโครงการจนปิดโครงการ 1 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะกรรมการโครงการจ้างช่างภาพสำหรับถ่ายภาพกิจกรรมทั้งหมดตั้งแต่เริ่มโครงการจนสรุปปิดโครงการ ในการเก็บภาพและบรรยากาศในการจัดกิจกรรมตลอดโครงการจนสามารถลงภาพถ่ายในการรายงานได้เกือบทุกกิจกรมม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

กรรมการโครงการมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบการถ่ายภาพกิจกรรม 1 คน

1,000.00 1,000.00 1 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  กรรมการโครงการมอบหมายให้นายพีรดนย์  พัฒราช  ทำหน้าที่ถ่ายภาพกิจกรรมทุกกิจกรรม  ตั้งแต่เริ่มโครงการจนถึงปิดโครงการ

กิจกรรมหลัก : ค่าเดินทางและที่พัก ในกรณี เข้าร่วมประชุมกับ สสส.i

10,000.00 2 ผลผลิต

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะกรรมการ จำนวน 3 คนเดินทางพบพี่เลี้ยง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผู้รับผิดชอบโครงการ  ผู้จัดทำรายงาน  ผู้รับผิดชอบการเงินของโครงการเดินทางไปพบพี่เลี้ยง  ที่บ้านพักหารือเรื่องการจัดกิจกรรมสรุปปิดโครงการ การตรวจสอบรายงานและแก้ไขให้ถูกต้อง

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 6 ครั้ง

 

10,000.00 400.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการเข้าใจแนวทางการดำเนินงานโครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่่นน่าอยู่ร่วมกับ สสส.
  • ทีมงานสามารถรายงานผลการดำเนินงานโครงการทางเว็บไซด์ได้

ผู้เข้าประชุมประกอบด้วย หัวหน้าโครงการ  เจ้าหน้าที่การเงิน  และผู้จัดทำรายงาน

200.00 200.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตรวจเอกสารทางการเงิน  ตรวจรายงานการดำเนินงานงวดที่ 1  ถูกต้องครบถ้วน

ผู้รับผิดชอบโครงการ  ผู้จัดทำรายงาน  ผู้รับผิดชอบการเงิน

10,000.00 400.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ  ผู้จัดทำรายงาน  ผู้รับผิดชอบการเงิน  เดินทางไปพบพี่เลี้ยง สสส.คุณเบ็ญจา  รัตนมณี ที่บ้านพี่เลี้ยงปรึกษาการจัดทำรายงาน  การเบิกจ่ายงบประมาณและการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป  พี่เลี้ยงได้ตรวจสอบแก้ไขรายงานให้ถูกต้อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ  ผู้จัดทำรายงาน และผู้รับผิดชอบการเงิน

10,000.00 400.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ  ผู้จัดทำรายงาน และผู้รับผิดชอบการเงิน  เดินทางไปพบพี่เลี้ยง คุณเบ็ญจา รัตนมณี  ที่บ้าน  ปรึกษาการจัดทำรายงาน  การเบิกจ่ายงบประมาณ  และการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป  พี่เลี้ยงได้ตรวจสอบแก้ไขรายงานให้ถูกต้อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ  ผู้จัดทำรายงาน  และผู้รับผิดชอบการเงิน

400.00 400.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ  ผู้จัดทำรายงาน  และผู้รับผิดชอบการเงิน  เดินทางไปพบพี่เลี้ยง  คุณเบ็ญจา  รัตนมณี  ที่บ้านปรึกษาการเบิกจ่ายงบประมาณ  การจัดกิจกรรมครั้งต่อไป  และให้พี่เลี้ยงตรวจสอบรายงาน แก้ไขให้ถูกต้อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ  ผู้จัดทำรายงาน  ผู้รับผิดชอบการเงิน

400.00 400.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ  ผู้จัดทำรายงาน  ผู้รับผิดชอบการเงินของโครงการเดินทางไปพบพี่เลี้ยง  คุณเบ็ญจา  รัตนมณี  ที่บ้านปรึกษาการจัดกิจกรรม  และให้พี่เลี้ยงตรวจสอบรายงาน  และแก้ไขให้ถูกต้อง

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
นโยบายสาธารณะหรือกติกาชุมชน

คณะกรรมการจัดทำร่างข้อเสนอนโยบายสาธารณะของชุมชนเพื่อนำเสนอในเวทีรับฟังความคิดเห็นของสมาชิกชุมชน

ชุมชนมีนโยบายสาธารณะหรือกติกาของชุมชนที่ทางเทศบาลรับรองและจะนำไปเป็นต้นแบบในการจัดการขยะของชุมชนอื่นๆ ในชุมชนเขตเทศบาลเมืองชุมพร

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

มีการดำเนินกิจกรรมและการจัดการด้านการเงินด้วยการลงรายงานอย่างถูกต้องไม่มีภาวะเสี่ยง ซึ่งสามารถดำเนินการปิดโครงการได้

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

การประสานงานเป็นส่วนหนึ่งของการทำงาน หากเราจัดกิจกรรมและจำเป็นต้องหาตัวช่วย จากองค์กรหรือชุมชนอื่น ควรมีการประสานงานทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการก่อนล่วงหน้า บอกวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม จะได้รับความร่วมมืออย่างดี เช่นเดียวกับชุมชนปรมินทร 12 ที่มีการบริหารจัดการและการประสานงานที่ดี อาจเป็นเพราะผู้สูงอายุเป็นข้าราชการบำนาญเป็นส่วนใหญ่ เป็นผู้มีประสบการณ์จากการทำงานราชการมาก่อน ทำให้มองการทำงานอย่างเป็นระบบ ซึ่งหลายชุมชนไม่มี

สร้างรายงานโดย Nongluk_R