directions_run

โครงการพัฒนาศักยภาพ ติดตาม ประเมินผลและสังเคราะห์ความรู้โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 พัฒนาศักยภาพ ทักษะด้านการเขียนโครงการ ให้ผู้สนใจเสนอโครงการ เพื่อให้ได้ข้อเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ ที่มีความสมบูรณ์ตามกรอบทิศทางการสนับสนุนทุน และยกระดับคุณภาพโครงการให้ผู้รับทุนสามารถดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 1. มีผู้เสนอโครงการที่เป็นกลุ่มเป้าหมายที่ด้อยโอกาส/เป้าหมายใหม่ ได้รับความรู้ ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะการเขียนโครงการ เป็นโครงการต่อเนื่อง และโครงการใหม่ อย่างน้อย 230โครงการ ตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ สสส. เช่นลดอัตราการสูบบุหรี่/ดื่มเหล้า การบริโภคผักผลไม้มากขึ้น การลดภาวะน้ำหนักเกิน และชุมชนท้องถิ่นเข้มแข็ง เป็นต้น 2. ได้ข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพและมีสมบูรณ์และสามารถผ่านการพิจารณาอนุมัติ 230 โครงการ และกระจายทุนในจังหวัด/พื้นที่ที่ได้รับทุนน้อย อย่างน้อยจังหวัดละ 7 โครงการ ได้แก่ จังหวัด ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ระนอง กระบี่ พังงา และภูเก็ต 3. พัฒนาข้อเสนอโครงการต่อเนื่องจะยกระดับและหรือพัฒนาผลผลิตจากโครงการเกิดเป็นนวัตกรรมชุมชน

 

2 เพื่อพัฒนาระบบ/กลไก/แนวทางการติดตามสนับสนุนและประเมินผลระดับภาค และปรับปรุงระบบเว็บไซด์สร้างสุขคนใต้ที่รายงานผลการดำเนินงานของผู้รับทุนและผู้ติดตาม ให้เกิดการเผยแพร่และเชื่อมโยง/แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัด : 1. สนับสนุน ผู้รับทุนโครงการสามารถดำเนินการได้ตามแผนและส่งผลงานให้ สสส. ครบถ้วนตามสัญญาเมื่อสิ้นสุดโครงการไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 2. ไม่มีโครงการล่าช้าเกิน 2 เดือน ร้อยละ 100 3. โครงการที่มีความเสี่ยงด้านการเงิน ไม่เกินร้อยละ 3 จากจำนวนโครงการทั้งหมด 4. ได้สื่อวีดีทัศน์และคู่มือการพัฒนาโครงการชุมชนสุขภาวะ รวมทั้งคู่มือการติดตามและสนับสนุนโครงการ 5. ได้ระบบเว็บไซด์การติดตามและการประมวลผลรายงานการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ พร้อมคู่มือ

 

3 เสริมสร้างสมรรถนะขีดความสามารถของผู้รับทุนและพี่เลี้ยง/ผู้ติดตามด้านต่างๆที่เกี่ยวข้อง ผ่านกระบวนการ ปฐมนิเทศ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ เสวนาแลกเปลี่ยน และ ศึกษาดูงานในพื้นที่
ตัวชี้วัด : 1. ผู้รับทุนและพี่เลี้ยง/ผู้ติดตามร้อยละ 90 ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้าน การบริหารจัดการ การเขียนโครงการ การติดตามสนับสนุน และนำความรู้ไปปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 100 2. มีฐานข้อมูลบุคคลหรือพื้นที่ต้นแบบ เพื่อเป็นแบบอย่างการศึกษาดูงานหรือการทำงานสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน 3. พี่เลี้ยง/ผู้ติดตามสามารถดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ และจัดทำ/ส่งรายงานผลการติดตามโครงการที่มีคุณภาพให้ทันงวดงานงวดเงินของผู้รับทุนโครงการ ร้อยละ 100

 

4 รวบรวมสังเคราะห์ความรู้ที่เกิดจากโครงการ ก่อให้เกิดคุณค่าแก่ชุมชนในด้านต่างๆ เช่น เกิดความรู้เชิงปฏิบัติการและนวัตกรรมชุมชน เป็นต้น ที่สามารถขยายผลและสร้างประโยชน์ต่อสังคมและนำไปเชื่อมโยง สื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ เช่น เว็บไซด์ สื่อสิ่งพิมพ์ เป็นต้น
ตัวชี้วัด : ได้โครงการที่ถอดบทเรียนและสามารถเผยแพร่ได้ และเป็นโครงการตัวอย่างที่ดี และนวัตกรรมอย่างน้อยร้อยละ 25 ของโครงการทั้งหมด

 

5 เพื่อบูรณาการประสานภาคี เชื่อมโยง กระบวนการปฏิบัติการในชุมชนไปสู่การยกระดับเป็นกระบวนการนโยบาย และเกิดการเผยแพร่และเชื่อมโยง/แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
ตัวชี้วัด : 1. มีผู้เข้าร่วมอย่างน้อยร้อยละ 80 ของผู้รับทุนที่เชิญเข้าร่วม 2. เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ขับเคลื่อนสร้างสุขภาวะในพื้นที่ภาคใต้ โดยวัดความพึงพอใจ/ความรู้ที่ได้รับ อย่างน้อย ร้อยละ 70 3. มีการขับเคลื่อนมาตรการ/นโยบายระดับตำบล ร้อยละ 25

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาศักยภาพ ทักษะด้านการเขียนโครงการ  ให้ผู้สนใจเสนอโครงการ เพื่อให้ได้ข้อเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่  ที่มีความสมบูรณ์ตามกรอบทิศทางการสนับสนุนทุน และยกระดับคุณภาพโครงการให้ผู้รับทุนสามารถดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อพัฒนาระบบ/กลไก/แนวทางการติดตามสนับสนุนและประเมินผลระดับภาค และปรับปรุงระบบเว็บไซด์สร้างสุขคนใต้ที่รายงานผลการดำเนินงานของผู้รับทุนและผู้ติดตาม ให้เกิดการเผยแพร่และเชื่อมโยง/แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้เกี่ยวข้อง (3) เสริมสร้างสมรรถนะขีดความสามารถของผู้รับทุนและพี่เลี้ยง/ผู้ติดตามด้านต่างๆที่เกี่ยวข้อง ผ่านกระบวนการ ปฐมนิเทศ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ เสวนาแลกเปลี่ยน และ ศึกษาดูงานในพื้นที่ (4) รวบรวมสังเคราะห์ความรู้ที่เกิดจากโครงการ ก่อให้เกิดคุณค่าแก่ชุมชนในด้านต่างๆ เช่น เกิดความรู้เชิงปฏิบัติการและนวัตกรรมชุมชน เป็นต้น ที่สามารถขยายผลและสร้างประโยชน์ต่อสังคมและนำไปเชื่อมโยง สื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ เช่น เว็บไซด์ สื่อสิ่งพิมพ์ เป็นต้น (5) เพื่อบูรณาการประสานภาคี เชื่อมโยง กระบวนการปฏิบัติการในชุมชนไปสู่การยกระดับเป็นกระบวนการนโยบาย และเกิดการเผยแพร่และเชื่อมโยง/แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh