แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ปฎิรูปครัวเรือน มุ่งสู่แบบพอเพียงบ้านปาล์ม 3 ”

หมู่ 2 ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
1.นายม่าหมัด เมืองเล่ง 2.นายอภิเชฐ อุมะระโห

ชื่อโครงการ ปฎิรูปครัวเรือน มุ่งสู่แบบพอเพียงบ้านปาล์ม 3

ที่อยู่ หมู่ 2 ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 57-01405 เลขที่ข้อตกลง 57-00-1037

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มิถุนายน 2557 ถึง 10 กรกฎาคม 2558


กิตติกรรมประกาศ

"ปฎิรูปครัวเรือน มุ่งสู่แบบพอเพียงบ้านปาล์ม 3 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ 2 ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ปฎิรูปครัวเรือน มุ่งสู่แบบพอเพียงบ้านปาล์ม 3



บทคัดย่อ

โครงการ " ปฎิรูปครัวเรือน มุ่งสู่แบบพอเพียงบ้านปาล์ม 3 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ 2 ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 57-01405 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มิถุนายน 2557 - 10 กรกฎาคม 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 205,890.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 198 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนให้เกิดการเรียนรู้ ภายใต้ข้อมูล และหาแนวทางลดรายจ่าย - เพิ่มรายได้ จัดการหนี้ให้ถูกต้องและเหมาะสม
  2. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการจัดทำบัญชีครัวเรือน
  3. เพื่อให้ครัวเรือนพึ่งพาตนเองได้ โดยการออม
  4. สรุปขยายผลและประเมินผล
  5. เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กรอกรายละเอียดโครงการและรับฟังการอธิบายขั้นตอนงานทำโครงการจาก สจรส.

    วันที่ 15 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การเข้าหน้าเว็บและการรายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ประสานงานสามารถไปดำเนินโครงการในพื้นที่ได้และและขยายความต่อผู้ที่เกี่ยวข้องได้

     

    2 2

    2. ไปประชุมกับพี่เลี้ยงจังหวัด

    วันที่ 17 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รับฟังคำอธิบายจากพี่เลี้ยง ในการกรอกข้อมูลในปฏิทินต่อให้เสร็จ การทำกิจกรรม การกรอกข้อมูลส่งรายงาน การใส่ภาพ การเบิกจ่ายงบประมาณ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วันนี้ผู้ประสานงานโดรงการฯ  มีความรู้เพิ่มมากขึ้นในการกรอกข้อมูล การทำกิจกรรม การส่งรายงานผล การส่งภาพ และสามารถไปขยายผลต่อให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องในโครงการได้ เกิดความสนุกด้วย เพราะมีพี่เลี้ยงใจดีเป้นกันเอง เหมือนเป็นคนในครอบครัว

     

    1 1

    3. เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและสร้างกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนครั้งที่ 1

    วันที่ 30 กรกฎาคม 2557 เวลา 19:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมแกนนำหมู่บ้าน ภาคีเครือข่าย กลุ่มเยาวชน ในการขับเคลื่อนโครงการ รูปแบบของการประชาสัมพันธ์ ในวันที่ 11-12 สิงหาคม 2557 พร้อมกับการแข่งขันกีฬาสีภายในหมู่บ้าน เฉลิมพระเกียรติ 12 สิงหามหาราช

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับความร่วมมือในการประชุมแกนนำหมู่บ้าน ภาคีเครือข่าย กลุ่มเยาวชน ที่เกี่ยวข้องเพื่อหารูปแบบแนวทางการเปิดเวทีที่เหมาะสม ในการขับเคลื่อนโครงการ รูปแบบของการประชาสัมพันธ์ ในวันที่ 11-12 สิงหาคม 2557 พร้อมกับการแข่งขันกีฬาสีภายในหมู่บ้าน เฉลิมพระเกียรติ 12 สิงหามหาราช

     

    10 15

    4. จัดเวทีประชาสัมพันธ์โครงการ ครั้งที่ 1

    วันที่ 1 สิงหาคม 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีประชาสัมพันธ์โครงการ ให้กับคณะทำงาน แกนนำ และประชาชนทั่วไปทราบ ในวันทำการกองทุนหมู่บ้าน ซึ่งจะมีสมาชิกกองทนหมู่บ้านเข้ามาติดต่อกับกองทุนฯ มาก จะได้ทราบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ประชาสัมพันธ์โครงการ ให้กับคณะทำงาน แกนนำ และประชาชนทั่วไปทราบ ในวันทำการกองทุนหมู่บ้าน เพื่อทราบในรายละเอียดในตัวโครงการและการรับสมัครสมาชิก ต่อการขับเคลื่อนให้เหมาะสม

     

    10 10

    5. เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและสร้างกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนครั้งที่ 2

    วันที่ 4 สิงหาคม 2557 เวลา 18:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมแกนนำหมู่บ้าน ภาคีเครือข่าย กลุ่มเยาวชน ในการขับเคลื่อนโครงการ รูปแบบของการประชาสัมพันธ์ ในวันที่ 11-12 สิงหาคม 2557 พร้อมกับการแข่งขันกีฬาสีภายในหมู่บ้าน เฉลิมพระเกียรติ 12 สิงหามหาราช ต่อจากครั้งที่ 1 ให้มีป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์ทางเครื่องเสียงภายในงานด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับความร่วมมือในการประชุมแกนนำหมู่บ้าน ภาคีเครือข่าย กลุ่มเยาวชน ที่เกี่ยวข้องเพื่อหารูปแบบแนวทางการเปิดเวทีที่เหมาะสม ในการขับเคลื่อนโครงการ รูปแบบของการประชาสัมพันธ์ ในวันที่ 11-12 สิงหาคม 2557 พร้อมกับการแข่งขันกีฬาสีภายในหมู่บ้าน เฉลิมพระเกียรติ 12 สิงหามหาราช ให้มีป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์ทางเครื่องเสียงภายในงานด้วย และการรับลงทะเบียน อาหาร เครื่องดื่ม อาหาราว่าง และค่าป้ายประชาสัมพันธ์ให้สำรองงบของหมู่บ้านไปก่อน

     

    10 20

    6. เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการและสร้างกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนครั้งที่ 3

    วันที่ 10 สิงหาคม 2557 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมแกนนำหมู่บ้าน ภาคีเครือข่าย กลุ่มเยาวชน ในการขับเคลื่อนโครงการ รูปแบบของการประชาสัมพันธ์ ในวันที่ 11-12 สิงหาคม 2557 พร้อมกับการแข่งขันกีฬาสีภายในหมู่บ้าน เฉลิมพระเกียรติ 12 สิงหามหาราช ต่อจากครั้งที่ 2 ให้มีป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ โดยการแขวนโชว์ และให้เด็กๆถือป้ายโครงการฯ  การประชาสัมพันธ์ทางเครื่องเสียงภายในงานด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับความร่วมมือในการประชุมแกนนำหมู่บ้าน ภาคีเครือข่าย กลุ่มเยาวชน ที่เกี่ยวข้องเพื่อหารูปแบบแนวทางการเปิดเวทีที่เหมาะสม ในการขับเคลื่อนโครงการ รูปแบบของการประชาสัมพันธ์ ในวันที่ 11-12 สิงหาคม 2557 พร้อมกับการแข่งขันกีฬาสีภายในหมู่บ้าน เฉลิมพระเกียรติ 12 สิงหามหาราช ให้มีป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์ทางเครื่องเสียงภายในงานด้วย และการรับลงทะเบียน อาหาร เครื่องดื่ม อาหาราว่าง และค่าป้ายประชาสัมพันธ์ให้สำรองงบของหมู่บ้านไปก่อน 

     

    10 10

    7. จัดเวทีประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครสมาชิกเข้าร่วมโครงการ ครั้งที่ 2

    วันที่ 11 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โดยให้นายม่าหมัด เมืองเล่ง ประธานเปิดกีฬาสีและประธานโครงการฯ ได้กล่าวเปิดพีธีพร้อมทั้งกล่าวชื่อโครงการ รายละเอียด วัตถุประสงค์และขั้นตอนการขับเคลื่อนโครงการ โดยการประชาสัมพันธ์ ในวันที่ 11 สิงหาคม 2557 พร้อมกับการแข่งขันกีฬาสีภายในหมู่บ้าน เฉลิมพระเกียรติ 12 สิงหามหาราช ต่อจากครั้งที่ 1 มีป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์ทางเครื่องเสียงภายในงานและการบอกด้วยปากต่อๆ กัน ด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นายม่าหมัด เมืองเล่ง ประธานเปิดกีฬาสีและประธานโครงการฯ ได้กล่าวเปิดพีธีพร้อมทั้งกล่าวชื่อโครงการ รายละเอียด วัตถุประสงค์และขั้นตอนการขับเคลื่อนโครงการ โดยการประชาสัมพันธ์ ในวันที่ 11 สิงหาคม 2557 มีป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์ทางเครื่องเสียงภายในงานและการบอกด้วยปากต่อๆ กัน ด้วย และมีอาหารว่าง เครื่องดื่ม และอาหารกล่องให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมรับประทาน ประชาชนทั่วไปรับทราบข้อมูล และจัดให้มีการลงทะเบียนด้วย

     

    198 248

    8. หาแนวทางการจัดการหนี้สินของชุมชน ครั้งที่ 1

    วันที่ 25 สิงหาคม 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้เชิญกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการและคณะทำงาน เพื่ออธิบายเพิ่มเติมและหาแนวทางในการขับเคลื่อนโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประธานที่ประชุมได้ให้ทุกคนที่เข้าร่วมแสดงแนวคิดว่า จะหาวิธีการอย่างไรในการได้ข้อมูลจากชาวบ้านที่มีหนี้สินอยู่ โดยเฉพาะหนี้นอกระบบซึ่งถือว่าเป็นหนี้สินที่มีดอกเบี้ยสูง สมควรที่จะได้รับการแก้ไขปัญหาก่อน ทุกคนต่างมีความคิดหลากหลาย สรุปมติที่ประชุมดั้งนี้ 1.ให้ชาวบ้านที่มีหนี้สิน มาแสดงตัวว่าตัวเองมีหนี้สินก่อน โดยการลงทะเบียนไว้ ในแบบฟอร์ม โดยให้นายอภิเชฐ อุมะระโห ไปหาแบบฟอร์มมา เพื่อให้ชาวบ้านลงทะเบียนไว้ 2.ให้มีนำหลักฐานต่างๆ เช่น บัตรประชาชนลูกหนี้และเจ้าหนี้ ใบสัญญาการกู้เงิน เป็นต้น แนบมาด้วย 3.ให้กลุ่มเยาวชนเข้ามารับขึ้นทะเบียน เพราะเขียนเอกสารชัดเจน 4.ให้มีการเปิดลงทะเบียน 2 วัน คือ วันที่ 30 ส.ค. 57 กับ วันที่ 5 ก.ย. 57 ทั้งวัน 5.นำข้อมูลที่ลงทะเบียนทั้ง 2 วัน มาวิเคราะอีกครั้ง

     

    20 20

    9. สำรวจเชิงลึกสถานการณ์หนี้สินของประชาชน วันที่ 1

    วันที่ 30 สิงหาคม 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้เยาวชนสำรวจสภาวะหนี้สินของประชาชนทั่วไป โดยการถามและกรอกข้อมูลโดยตรงกับประชาชนที่มีหนี้สิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากที่มีการประชาสัมพันธ์ไป ว่าให้มีการแสดงตัวการมีหนี้สิน โดยการเปิดรับลงทะเบียน 2 วัน วันนี้เป็นวันแรก ประชาชนตื่นตัวมากกับการให้ข้อมูลแก่เยาวชนในการสอบถามและกรอกข้อมูลที่นำมาแสดงว่าตนมีหนี้สินอยู่จริง เพื่อช่วยในการแก้ไขต่อไป ซึ่งในวันนี้ได้ผู้ที่แจ้งลงทะเบียน 35 ราย โดยข้อมูลที่ทำให้ประชาชนเป็นหนี้ว่าเกิดจากสาเหตุอะไร สรุปได้ดังนี้ 1.เกิดจากการลงทุนทำสวนยางและปาล์ม 2.เกิดจากการลงทุนธุรกิจ เช่น ค้าขาย เปิดร้าน 3.เกิดจากการเป็นทุนการศึกษาบุตร 4.เกิดจากการเป็นค่ารักษาพยาบาล 5.เกิดจากเป็นค่าสินสอดแต่งงาน 6.เกิดจากภาวะเศรษฐกิจที่ตกตำ่ปรับตัวไม่ทัน 7.เกิดจากการผ่อนสินค้าต่างๆ

     

    30 66

    10. สำรวจเชิงลึกสถานการณ์หนี้สินของประชาชน วันที่ 2

    วันที่ 5 กันยายน 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้เยาวชนสำรวจสภาวะหนี้สินของประชาชนทั่วไป โดยการถามและกรอกข้อมูลโดยตรงกับประชาชนที่มีหนี้สิน วันที่ 2 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากที่มีการประชาสัมพันธ์ไป ว่าให้มีการแสดงตัวการมีหนี้สิน โดยการเปิดรับลงทะเบียน 2 วัน วันนี้เป็นวันที่ 2  ประชาชนทราบข่าวมากขึ้นและบอกต่อๆ กันมา มาแสดงตัวและให้ข้อมูลแก่เยาวชนในการสอบถามและกรอกข้อมูลที่นำมาแสดงว่าตนมีหนี้สินอยู่จริง เพื่อช่วยในการแก้ไขต่อไป ซึ่งในวันนี้ได้ผู้ที่แจ้งลงทะเบียน 33 ราย โดยข้อมูลที่ทำให้ประชาชนเป็นหนี้ว่าเกิดจากสาเหตุอะไร สาเหตุหลักๆ ก็คล้ายกับวันแรก สรุปได้ดังนี้ 1.เกิดจากการลงทุนทำสวนยางและปาล์ม 2.เกิดจากการลงทุนธุรกิจ เช่น ค้าขาย เปิดร้าน 3.เกิดจากการเป็นทุนการศึกษาบุตร 4.เกิดจากการเป็นค่ารักษาพยาบาล 5.เกิดจากเป็นค่าสินสอดแต่งงาน 6.เกิดจากภาวะเศรษฐกิจที่ตกตำ่ปรับตัวไม่ทัน 7.เกิดจากการผ่อนสินค้าต่างๆ

     

    30 50

    11. ประชุมทำรายงานงวด 1

    วันที่ 18 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เพิ่มข้อมูลรายละเอียดโครงการในเวบไซต์ เพิ่มแผนภาพ วัตถุประสงค์ งบประมาณ และตรวจใบเสร็จโครงการโดยเจ้าหน้าที่ สจรส. พร้อมกับให้คำแนะนำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เข้าใจวิธีการลงข้อมูลในเวบไซต์ และการทำหลักฐานการเงินโครงการ

     

    2 0

    12. สำรวจเชิงลึกสถานการณ์หนี้สินของประชาชน วันที่ 3

    วันที่ 20 ตุลาคม 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นตอนในการลงพื้นที่ ดังนั้ี 1.ให้เยาวชน ทีมละ 4 บวกผู้เข้าร่วมโครงการ 1 คน  ในการลงสอบถามข้อมูลผู้ลงทะเบียนหนี้สิน 1 คน วันละ 6 ราย 2.ให้มีการลงเยียมเยือนถึงบ้านหรือนัดมาสอบถามที่ประชุมก็ได้ 2.แล้วนำการสอบถามข้อมูลมาสรุปเป็นภาพรวมกัน โดยให้ตัวแทน 1 คนในแต่ละทีมสรุปมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -จากที่ให้ทีมเยาวชนลงพื้นที่สอบถามข้อมูลผู้ที่ลงทะเบียนการมีหนี้สินไว้ วันละ  6 ราย สรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้ 1.หนี้เกิดจากการลงทุนทำสวนยางและปาล์ม 2.การผ่อนสินค้าต่างๆ เช่น ผ่อนรถ ทีวี ตู้เย็น 3.การออกซื้อของในตลาดบ่อย ทำให้ซื้อมากเป็นส่วนใหญ่ เพราะคิดว่าจำเป็นทุกอย่าง เช่น ผัก ปลา ไก่ เป็นต้น 4.การไม่มีความรู้ในการทำรายรับรายจ่าย เลยไม่วางแผนการจ่ายเงิน 5.การปรับตัวไม่ทันต่อเศรษฐกิจในปัจจุบัน โดยไม่คิดว่าราคายางและปาล์มที่ลดลง 6.รายจ่ายมากกว่ารายรับเป็นส่วนใหญ่ -แนวทางการแก้ไขที่เสนอมา 1.ให้หาแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำมาแทนดอกเบี้ยสูง 2.ให้หาอาชีพเสริม 3.ให้หาพันธ์ปลา ไก่ หรือพันธ์ผักมาแจก

     

    30 30

    13. สำรวจเชิงลึกสถานการณ์หนี้สินของประชาชน วันที่ 4

    วันที่ 21 ตุลาคม 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นตอนในการลงพื้นที่ ดังนั้ี 1.ให้เยาวชน ทีมละ 4 บวกผู้เข้าร่วมโครงการ 1 คน  ในการลงสอบถามข้อมูลผู้ลงทะเบียนหนี้สิน 1 คน วันละ 6 ราย 2.ให้มีการลงเยียมเยือนถึงบ้านหรือนัดมาสอบถามที่ประชุมก็ได้ 2.แล้วนำการสอบถามข้อมูลมาสรุปเป็นภาพรวมกัน โดยให้ตัวแทน 1 คนในแต่ละทีมสรุปมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -จากที่ให้ทีมเยาวชนลงพื้นที่สอบถามข้อมูลผู้ที่ลงทะเบียนการมีหนี้สินไว้ วันละ  6 ราย สรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้ 1.หนี้เกิดจากการลงทุนทำสวนยางและปาล์ม 2.การผ่อนสินค้าต่างๆ เช่น ผ่อนรถ ทีวี ตู้เย็น 3.การออกซื้อของในตลาดบ่อย ทำให้ซื้อมากเป็นส่วนใหญ่ เพราะคิดว่าจำเป็นทุกอย่าง เช่น ผัก ปลา ไก่ เป็นต้น 4.การไม่มีความรู้ในการทำรายรับรายจ่าย เลยไม่วางแผนการจ่ายเงิน 5.การปรับตัวไม่ทันต่อเศรษฐกิจในปัจจุบัน โดยไม่คิดว่าราคายางและปาล์มที่ลดลง 6.รายจ่ายมากกว่ารายรับเป็นส่วนใหญ่ -แนวทางการแก้ไขที่เสนอมา 1.ให้หาแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำมาแทนดอกเบี้ยสูง 2.ให้หาอาชีพเสริม 3.ให้หาพันธ์ปลา ไก่ หรือพันธ์ผักมาแจก

     

    30 40

    14. สำรวจเชิงลึกสถานการณ์หนี้สินของประชาชน วันที่ 5

    วันที่ 22 ตุลาคม 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นตอนในการลงพื้นที่ ดังนั้ี 1.ให้เยาวชน ทีมละ 4 บวกผู้เข้าร่วมโครงการ 1 คน  ในการลงสอบถามข้อมูลผู้ลงทะเบียนหนี้สิน 1 คน วันละ 6 ราย 2.ให้มีการลงเยียมเยือนถึงบ้านหรือนัดมาสอบถามที่ประชุมก็ได้ 2.แล้วนำการสอบถามข้อมูลมาสรุปเป็นภาพรวมกัน โดยให้ตัวแทน 1 คนในแต่ละทีมสรุปมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -จากที่ให้ทีมเยาวชนลงพื้นที่สอบถามข้อมูลผู้ที่ลงทะเบียนการมีหนี้สินไว้ วันละ  6 ราย สรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้ 1.หนี้เกิดจากการลงทุนทำสวนยางและปาล์ม 2.การผ่อนสินค้าต่างๆ เช่น ผ่อนรถ ทีวี ตู้เย็น 3.การออกซื้อของในตลาดบ่อย ทำให้ซื้อมากเป็นส่วนใหญ่ เพราะคิดว่าจำเป็นทุกอย่าง เช่น ผัก ปลา ไก่ เป็นต้น 4.การไม่มีความรู้ในการทำรายรับรายจ่าย เลยไม่วางแผนการจ่ายเงิน 5.การปรับตัวไม่ทันต่อเศรษฐกิจในปัจจุบัน โดยไม่คิดว่าราคายางและปาล์มที่ลดลง 6.รายจ่ายมากกว่ารายรับเป็นส่วนใหญ่ -แนวทางการแก้ไขที่เสนอมา 1.ให้หาแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำมาแทนดอกเบี้ยสูง 2.ให้หาอาชีพเสริม 3.ให้หาพันธ์ปลา ไก่ หรือพันธ์ผักมาแจก

     

    30 30

    15. สำรวจเชิงลึกสถานการณ์หนี้สินของประชาชน วันที่ 6

    วันที่ 23 ตุลาคม 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นตอนในการลงพื้นที่ ดังนั้ี 1.ให้เยาวชน ทีมละ 4 บวกผู้เข้าร่วมโครงการ 1 คน  ในการลงสอบถามข้อมูลผู้ลงทะเบียนหนี้สิน 1 คน วันละ 6 ราย 2.ให้มีการลงเยียมเยือนถึงบ้านหรือนัดมาสอบถามที่ประชุมก็ได้ 2.แล้วนำการสอบถามข้อมูลมาสรุปเป็นภาพรวมกัน โดยให้ตัวแทน 1 คนในแต่ละทีมสรุปมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -จากที่ให้ทีมเยาวชนลงพื้นที่สอบถามข้อมูลผู้ที่ลงทะเบียนการมีหนี้สินไว้ วันละ  6 ราย สรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้ 1.หนี้เกิดจากการลงทุนทำสวนยางและปาล์ม 2.การผ่อนสินค้าต่างๆ เช่น ผ่อนรถ ทีวี ตู้เย็น 3.การออกซื้อของในตลาดบ่อย ทำให้ซื้อมากเป็นส่วนใหญ่ เพราะคิดว่าจำเป็นทุกอย่าง เช่น ผัก ปลา ไก่ เป็นต้น 4.การไม่มีความรู้ในการทำรายรับรายจ่าย เลยไม่วางแผนการจ่ายเงิน 5.การปรับตัวไม่ทันต่อเศรษฐกิจในปัจจุบัน โดยไม่คิดว่าราคายางและปาล์มที่ลดลง 6.รายจ่ายมากกว่ารายรับเป็นส่วนใหญ่ -แนวทางการแก้ไขที่เสนอมา 1.ให้หาแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำมาแทนดอกเบี้ยสูง 2.ให้หาอาชีพเสริม 3.ให้หาพันธ์ปลา ไก่ หรือพันธ์ผักมาแจก

     

    30 40

    16. สำรวจเชิงลึกสถานการณ์หนี้สินของประชาชน วันที่ 7

    วันที่ 24 ตุลาคม 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นตอนในการลงพื้นที่ ดังนั้ี 1.ให้เยาวชน ทีมละ 4 บวกผู้เข้าร่วมโครงการ 1 คน  ในการลงสอบถามข้อมูลผู้ลงทะเบียนหนี้สิน 1 คน วันละ 6 ราย 2.ให้มีการลงเยียมเยือนถึงบ้านหรือนัดมาสอบถามที่ประชุมก็ได้ 2.แล้วนำการสอบถามข้อมูลมาสรุปเป็นภาพรวมกัน โดยให้ตัวแทน 1 คนในแต่ละทีมสรุปมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -จากที่ให้ทีมเยาวชนลงพื้นที่สอบถามข้อมูลผู้ที่ลงทะเบียนการมีหนี้สินไว้ วันละ  6 ราย สรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้ 1.หนี้เกิดจากการลงทุนทำสวนยางและปาล์ม 2.การผ่อนสินค้าต่างๆ เช่น ผ่อนรถ ทีวี ตู้เย็น 3.การออกซื้อของในตลาดบ่อย ทำให้ซื้อมากเป็นส่วนใหญ่ เพราะคิดว่าจำเป็นทุกอย่าง เช่น ผัก ปลา ไก่ เป็นต้น 4.การไม่มีความรู้ในการทำรายรับรายจ่าย เลยไม่วางแผนการจ่ายเงิน 5.การปรับตัวไม่ทันต่อเศรษฐกิจในปัจจุบัน โดยไม่คิดว่าราคายางและปาล์มที่ลดลง 6.รายจ่ายมากกว่ารายรับเป็นส่วนใหญ่ -แนวทางการแก้ไขที่เสนอมา 1.ให้หาแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำมาแทนดอกเบี้ยสูง 2.ให้หาอาชีพเสริม 3.ให้หาพันธ์ปลา ไก่ หรือพันธ์ผักมาแจก

     

    30 30

    17. สำรวจเชิงลึกสถานการณ์หนี้สินของประชาชน วันที่ 8

    วันที่ 25 ตุลาคม 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นตอนในการลงพื้นที่ ดังนั้ี 1.ให้เยาวชน ทีมละ 4 บวกผู้เข้าร่วมโครงการ 1 คน  ในการลงสอบถามข้อมูลผู้ลงทะเบียนหนี้สิน 1 คน วันละ 6 ราย 2.ให้มีการลงเยียมเยือนถึงบ้านหรือนัดมาสอบถามที่ประชุมก็ได้ 2.แล้วนำการสอบถามข้อมูลมาสรุปเป็นภาพรวมกัน โดยให้ตัวแทน 1 คนในแต่ละทีมสรุปมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -จากที่ให้ทีมเยาวชนลงพื้นที่สอบถามข้อมูลผู้ที่ลงทะเบียนการมีหนี้สินไว้ วันละ  6 ราย สรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้ 1.หนี้เกิดจากการลงทุนทำสวนยางและปาล์ม 2.การผ่อนสินค้าต่างๆ เช่น ผ่อนรถ ทีวี ตู้เย็น 3.การออกซื้อของในตลาดบ่อย ทำให้ซื้อมากเป็นส่วนใหญ่ เพราะคิดว่าจำเป็นทุกอย่าง เช่น ผัก ปลา ไก่ เป็นต้น 4.การไม่มีความรู้ในการทำรายรับรายจ่าย เลยไม่วางแผนการจ่ายเงิน 5.การปรับตัวไม่ทันต่อเศรษฐกิจในปัจจุบัน โดยไม่คิดว่าราคายางและปาล์มที่ลดลง 6.รายจ่ายมากกว่ารายรับเป็นส่วนใหญ่ -แนวทางการแก้ไขที่เสนอมา 1.ให้หาแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำมาแทนดอกเบี้ยสูง 2.ให้หาอาชีพเสริม 3.ให้หาพันธ์ปลา ไก่ หรือพันธ์ผักมาแจก

     

    30 30

    18. สำรวจเชิงลึกสถานการณ์หนี้สินของประชาชน วันที่ 9

    วันที่ 26 ตุลาคม 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นตอนในการลงพื้นที่ ดังนั้ี 1.ให้เยาวชน ทีมละ 4 บวกผู้เข้าร่วมโครงการ 1 คน  ในการลงสอบถามข้อมูลผู้ลงทะเบียนหนี้สิน 1 คน วันละ 6 ราย 2.ให้มีการลงเยียมเยือนถึงบ้านหรือนัดมาสอบถามที่ประชุมก็ได้ 2.แล้วนำการสอบถามข้อมูลมาสรุปเป็นภาพรวมกัน โดยให้ตัวแทน 1 คนในแต่ละทีมสรุปมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -จากที่ให้ทีมเยาวชนลงพื้นที่สอบถามข้อมูลผู้ที่ลงทะเบียนการมีหนี้สินไว้ วันละ  6 ราย สรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้ 1.หนี้เกิดจากการลงทุนทำสวนยางและปาล์ม 2.การผ่อนสินค้าต่างๆ เช่น ผ่อนรถ ทีวี ตู้เย็น 3.การออกซื้อของในตลาดบ่อย ทำให้ซื้อมากเป็นส่วนใหญ่ เพราะคิดว่าจำเป็นทุกอย่าง เช่น ผัก ปลา ไก่ เป็นต้น 4.การไม่มีความรู้ในการทำรายรับรายจ่าย เลยไม่วางแผนการจ่ายเงิน 5.การปรับตัวไม่ทันต่อเศรษฐกิจในปัจจุบัน โดยไม่คิดว่าราคายางและปาล์มที่ลดลง 6.รายจ่ายมากกว่ารายรับเป็นส่วนใหญ่ -แนวทางการแก้ไขที่เสนอมา 1.ให้หาแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำมาแทนดอกเบี้ยสูง 2.ให้หาอาชีพเสริม 3.ให้หาพันธ์ปลา ไก่ หรือพันธ์ผักมาแจก

     

    30 20

    19. สำรวจเชิงลึกสถานการณ์หนี้สินของประชาชน วันที่ 10

    วันที่ 27 ตุลาคม 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นตอนในการลงพื้นที่ ดังนั้ี 1.ให้เยาวชน ทีมละ 4 บวกผู้เข้าร่วมโครงการ 1 คน  ในการลงสอบถามข้อมูลผู้ลงทะเบียนหนี้สิน 1 คน วันละ 6 ราย 2.ให้มีการลงเยียมเยือนถึงบ้านหรือนัดมาสอบถามที่ประชุมก็ได้ 2.แล้วนำการสอบถามข้อมูลมาสรุปเป็นภาพรวมกัน โดยให้ตัวแทน 1 คนในแต่ละทีมสรุปมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -จากที่ให้ทีมเยาวชนลงพื้นที่สอบถามข้อมูลผู้ที่ลงทะเบียนการมีหนี้สินไว้ วันละ  6 ราย สรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้ 1.หนี้เกิดจากการลงทุนทำสวนยางและปาล์ม 2.การผ่อนสินค้าต่างๆ เช่น ผ่อนรถ ทีวี ตู้เย็น 3.การออกซื้อของในตลาดบ่อย ทำให้ซื้อมากเป็นส่วนใหญ่ เพราะคิดว่าจำเป็นทุกอย่าง เช่น ผัก ปลา ไก่ เป็นต้น 4.การไม่มีความรู้ในการทำรายรับรายจ่าย เลยไม่วางแผนการจ่ายเงิน 5.การปรับตัวไม่ทันต่อเศรษฐกิจในปัจจุบัน โดยไม่คิดว่าราคายางและปาล์มที่ลดลง 6.รายจ่ายมากกว่ารายรับเป็นส่วนใหญ่ -แนวทางการแก้ไขที่เสนอมา 1.ให้หาแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำมาแทนดอกเบี้ยสูง 2.ให้หาอาชีพเสริม 3.ให้หาพันธ์ปลา ไก่ หรือพันธ์ผักมาแจก

     

    30 30

    20. สำรวจเชิงลึกสถานการณ์หนี้สินของประชาชน วันที่ 11

    วันที่ 28 ตุลาคม 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นตอนในการลงพื้นที่ ดังนั้ี 1.ให้เยาวชน ทีมละ 4 บวกผู้เข้าร่วมโครงการ 1 คน  ในการลงสอบถามข้อมูลผู้ลงทะเบียนหนี้สิน 1 คน วันละ 6 ราย 2.ให้มีการลงเยียมเยือนถึงบ้านหรือนัดมาสอบถามที่ประชุมก็ได้ 2.แล้วนำการสอบถามข้อมูลมาสรุปเป็นภาพรวมกัน โดยให้ตัวแทน 1 คนในแต่ละทีมสรุปมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -จากที่ให้ทีมเยาวชนลงพื้นที่สอบถามข้อมูลผู้ที่ลงทะเบียนการมีหนี้สินไว้ วันละ  6 ราย สรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้ 1.หนี้เกิดจากการลงทุนทำสวนยางและปาล์ม 2.การผ่อนสินค้าต่างๆ เช่น ผ่อนรถ ทีวี ตู้เย็น 3.การออกซื้อของในตลาดบ่อย ทำให้ซื้อมากเป็นส่วนใหญ่ เพราะคิดว่าจำเป็นทุกอย่าง เช่น ผัก ปลา ไก่ เป็นต้น 4.การไม่มีความรู้ในการทำรายรับรายจ่าย เลยไม่วางแผนการจ่ายเงิน 5.การปรับตัวไม่ทันต่อเศรษฐกิจในปัจจุบัน โดยไม่คิดว่าราคายางและปาล์มที่ลดลง 6.รายจ่ายมากกว่ารายรับเป็นส่วนใหญ่ -แนวทางการแก้ไขที่เสนอมา 1.ให้หาแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำมาแทนดอกเบี้ยสูง 2.ให้หาอาชีพเสริม 3.ให้หาพันธ์ปลา ไก่ หรือพันธ์ผักมาแจก

     

    30 40

    21. สำรวจเชิงลึกสถานการณ์หนี้สินของประชาชน วันที่ 12

    วันที่ 29 ตุลาคม 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นตอนในการลงพื้นที่ ดังนั้ี 1.ให้เยาวชน ทีมละ 4 บวกผู้เข้าร่วมโครงการ 1 คน  ในการลงสอบถามข้อมูลผู้ลงทะเบียนหนี้สิน 1 คน วันละ 6 ราย 2.ให้มีการลงเยียมเยือนถึงบ้านหรือนัดมาสอบถามที่ประชุมก็ได้ 2.แล้วนำการสอบถามข้อมูลมาสรุปเป็นภาพรวมกัน โดยให้ตัวแทน 1 คนในแต่ละทีมสรุปมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -จากที่ให้ทีมเยาวชนลงพื้นที่สอบถามข้อมูลผู้ที่ลงทะเบียนการมีหนี้สินไว้ วันละ  6 ราย สรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้ 1.หนี้เกิดจากการลงทุนทำสวนยางและปาล์ม 2.การผ่อนสินค้าต่างๆ เช่น ผ่อนรถ ทีวี ตู้เย็น 3.การออกซื้อของในตลาดบ่อย ทำให้ซื้อมากเป็นส่วนใหญ่ เพราะคิดว่าจำเป็นทุกอย่าง เช่น ผัก ปลา ไก่ เป็นต้น 4.การไม่มีความรู้ในการทำรายรับรายจ่าย เลยไม่วางแผนการจ่ายเงิน 5.การปรับตัวไม่ทันต่อเศรษฐกิจในปัจจุบัน โดยไม่คิดว่าราคายางและปาล์มที่ลดลง 6.รายจ่ายมากกว่ารายรับเป็นส่วนใหญ่ -แนวทางการแก้ไขที่เสนอมา 1.ให้หาแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำมาแทนดอกเบี้ยสูง 2.ให้หาอาชีพเสริม 3.ให้หาพันธ์ปลา ไก่ หรือพันธ์ผักมาแจก

     

    30 30

    22. สำรวจเชิงลึกสถานการณ์หนี้สินของประชาชน วันที่ 13

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2557 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นตอนในการลงพื้นที่ ดังนั้ี 1.ให้เยาวชน ทีมละ 4 บวกผู้เข้าร่วมโครงการ 1 คน  ในการลงสอบถามข้อมูลผู้ลงทะเบียนหนี้สิน 1 คน วันละ 6 ราย 2.ให้มีการลงเยียมเยือนถึงบ้านหรือนัดมาสอบถามที่ประชุมก็ได้ 2.แล้วนำการสอบถามข้อมูลมาสรุปเป็นภาพรวมกัน โดยให้ตัวแทน 1 คนในแต่ละทีมสรุปมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -จากที่ให้ทีมเยาวชนลงพื้นที่สอบถามข้อมูลผู้ที่ลงทะเบียนการมีหนี้สินไว้ วันละ  6 ราย สรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้ 1.หนี้เกิดจากการลงทุนทำสวนยางและปาล์ม 2.การผ่อนสินค้าต่างๆ เช่น ผ่อนรถ ทีวี ตู้เย็น 3.การออกซื้อของในตลาดบ่อย ทำให้ซื้อมากเป็นส่วนใหญ่ เพราะคิดว่าจำเป็นทุกอย่าง เช่น ผัก ปลา ไก่ เป็นต้น 4.การไม่มีความรู้ในการทำรายรับรายจ่าย เลยไม่วางแผนการจ่ายเงิน 5.การปรับตัวไม่ทันต่อเศรษฐกิจในปัจจุบัน โดยไม่คิดว่าราคายางและปาล์มที่ลดลง 6.รายจ่ายมากกว่ารายรับเป็นส่วนใหญ่ -แนวทางการแก้ไขที่เสนอมา 1.ให้หาแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำมาแทนดอกเบี้ยสูง 2.ให้หาอาชีพเสริม 3.ให้หาพันธ์ปลา ไก่ หรือพันธ์ผักมาแจก

     

    50 80

    23. จัดเวทีสะท้อนข้อมูลที่ประชุมสภาหมู่บ้าน

    วันที่ 10 พฤศจิกายน 2557 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ชาวบ้านและผู้นำใช้เวทีนี้ในการสะท้อนข้อมูลขึ้นมาในที่ประชุมสภาหมู่บ้าน และร่วมกันหาแนวทางแก้ใขภาวะหนี้สิน ในการขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกันและร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้นำคือผู้ใหญ่บ้านหรือประธานโครงการฯ บอกเล่าและให้ชาวบ้านถาม ปรึกษาหารือกันในที่ประชุมสภาหมู่บ้าน และร่วมกันหาแนวทางแก้ใขภาวะหนี้สิน ในการขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกันและร่วมกัน โดยการอบรม การประนอมหนี้ การเจรจา การทำบัญชีครัวเรือน การรู้จักแบบพอเพียงและการส่งต่อ เพื่อการแก้ไขระยะสั่นและระยะยาว โดยมีการสรุปการสะท้อนของเวที ดังนี้ 1.ให้ส่งข้อมูลการลงทะเบียนเข้าไปในโครงการหนี้นอกระบบของรัฐบาลทุกคน 2.ให้กลุ่มกองทุนหมู่บ้านเป็นแม่งานหลักในการดูแลเรื่องนี้ด้วย ในการเก็บออมและปล่อยกู้ดอกเบี้ยต่ำ 3.ให้ทุกคนที่ลงทะเบียนเข้ารับการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่างๆ ที่เกียวกับการใช้จ่ายและเก็บออม 4.ให้ทุกคนทำบัญชีรายรับรายจ่ายด้วย โดยผ่านการอบรมของวิทยากร 5.ให้ทุกคนปลูกผักและดำรงชีวิตแบบพอเพียงด้วย 6.ให้เข้ารับการเจรจาประนอมหนี้สินด้วย

     

    50 80

    24. จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรีและการล้างอัดขยายภาพ

    วันที่ 11 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำป้าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำป้ายปลอดบุหรีและป้ายประชาสัมพันธ์โครงการฯ

     

    198 198

    25. ส่งเสริมการออมและเปิดทำการรับการออมของชาวบ้าน

    วันที่ 5 มกราคม 2558 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.คณะรับผิดชอบโครงการให้ความรู้เกี่ยวกับการเป็นสมาชิกและระเบียบต่างๆ 2.คณะรับผิดชอบโครงการรับสมัครสมาชิกและมีการออมสัจจะด้วย 3.คณะรับผิดชอบโครงการสรุปยอดสมาชิกและยอดเงินฝาก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะรับผิดชอบโครงการมีมติที่ประชุม  ให้มีการรับสมัครชาวบ้านเป็นสมาชิกและมีการฝากเงินสัจจะ 100 บาท ต่อคน เพราะจะแบ่งเงินส่วนนี้ไปเข้ากลุ่มต่างๆ ที่ยกร่างไว้เป็นเครือข่ายของการที่จะพลักดันให้เกิดสหกรณ์ต่อไป ซึ่งจะทำการตรงกับวันทำการของ กบท. และเวลาเดียวกัน เพราะส่วนใหญ่คณะรับผิดชอบโครงการเป็นคณะกรรมการของกทบ. อยู่แล้ว โดยแบ่งให้นางจรวย สุวรรณรัตน์ เป็นผู้เก็บเงินสัจจะทุกเดือน ส่วนท่านอื่นๆ คอยให้ความรู้เรื่องการออมการเข้าเป็นสมาชิก การรับเงินปันผล การบริหารจัดการ ในวันนี้มีชาวบ้านมาสมัครจำนวน 120 ท่านเป็น 12,000 บาท คาดว่าจะมีชาวบ้านมาสมัครเข้าเป็นสมาชิกทุกๆเดือน ของวันที่ 1 ของเดือน ทำให้คณะรับผิดชอบโครงการพอใจมากต่อการขับเคลื่อนกิจกรรมในวันนี้

     

    150 120

    26. ทำโรงเรือนเพาะชำ

    วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.สร้างโรงเรือน 1 โรงเรือน 2.ใส่ถุงดินเตรียมใส่ต้นกล้า 3.เตรียมที่เพาะเมล็ดกล้า 4.ต่อท่อน้ำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นายอภิเชฐ อุมะระโห ผู้รับผิดชอบโครงการฯ ได้ร่วมกับนักการภารโรง เยาวชนและชาวบ้าน ดำเนินการสร้างโรงเรือนไว้สำหรับเพาะพันธุ์กล้าไม้ พริก มะเขือ กระเพรา โหรภา และอื่นๆ สำหรับไว้แจกจ่ายชาวบ้าน และเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับให้เด็กนักเรียน เยาวชน ชาวบ้าน ได้เรียนรู้และเป็นการทำกิจกรรมร่วมกันของชาวบ้าน หลังจากว่างจากการทำงาน เป็นการออกกำลังแบบอบอุ่น ที่สำคัญช่วยผ่อนคลายความดึงเครียดไปได้ เป็นแหล่งกล้าไม้ของหมู่บ้าน ที่เรียกว่า ธนาคารต้นไม้ ชาวบ้านจะได้นำไปปลูกข้างบ้าน ริมถนน หรือในสวนในไร่ เป็นการประหยัดรายจ่าย หรือเป็นการส่งเสริมรายได้อีกวิธีหนึ่ง ให้กับชาวบ้าน ได้เก็บกิน แบ่งปันเพื่อนบ้าน ที่สำคัญปลอดสารพิษแน่นอนและเป็นการไปทำกิจกรรมร่วมกันของคนในครัวเรือนอีกด้วย ทั้งการทำสวนข้างบ้าน หลังบ้าน การแบ่งหน้าที่กันรดน้ำ การปลูกเพิ่ม หรือกิจกรรมการเอาหญ้าออกจากพื้นที่ปลูก ตอบสนองวัตถุประสงค์ของโครงการเป็นอย่างดี

     

    20 20

    27. ให้ความรู้การปลูกผักไว้กินเอง แจกพริกมะเขือ

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ให้ประธานกล่าวเปิดและขี้แจ้งถึงธนาคารต้นไม้หรือเรือนเพาะชำของหมู่บ้าน 2.ประธานได้ดำเนินการอธิบายการการปลูกผักไว้กินเองข้างบ้าน 3.ประธานได้อธิบายการแบ่งปันต้นกล้า เมล็ดพันธ์ุ และผลผลิตให้เพื่อนบ้าน 4.ประธานได้กล่าวถึงงบประมาณการสนับสนุนจากโครงการของสสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นายม่าหมัด เมืองเล่ง ผู้ใหญ่บ้าน  และประชาชน  ได้ดำเนินการเปิดประชุมในการให้ความรู้แก่เวทีประชุมหมู่บ้าน ในเรื่องการปลูกพืชผักสวนครัว ไว้ข้างบ้านพร้อมกับนำต้นพริก มะเขือ จากธนาคารต้นของหมู่บ้านมาแจกจ่ายให้กับชาวบ้านที่เข้าร่วมประชุม เพื่อนำไปปลูกที่บ้าน  ที่สำคัญปลอดสารพิษด้วย ผู้ใหญ่บ้านได้กล่าวว่า เป็นต้นทุนเล็กๆ ที่ทางผู้นำ ได้คิดขึ้น เพื่อเน้นการปลูกผักไว้กินเอง ประหยัดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ตามโครงการปฏิรูปครัวเรือน มุ่งสู่แบบพอเพียง ที่ได้รับการสนับสนุนงบจาก สสส.และดินจาก ส.อบต ในกิจกรรมครั้งนี้ทำให้ชาวบ้าน พอใจมาก ได้มีอแหล่งต้นกล้าเล็กๆ ในพื้นที่โรงเรียนของหมู่บ้าน นำไปปลูกที่บ้านได้

     

    56 70

    28. บรรยายสรุปปรัปปฏิทิน การขับเคลื่อนโครงการในงวดที่ 2 กับพี่เลี้ยง

    วันที่ 5 พฤษภาคม 2558 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานได้มีการปรัปปฏิทิน การขับเคลื่อนโครงการในงวดที่ 2 เพื่อการขับเคลื่อนที่ได้ประสิทธิภาพ ให้กับนางนภาภรณ์ แก้วเหมือน พี่เลี้ยงโครงการ ร่วมกับโครงการอีก 3 โครงการของอำเภอมะนัง ได้ข้อเสนอแนะจากพี่เลี้ยงและคำปรึกษามากมาย 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานปฏิทินงานที่ชัดเจนในการขับเคลื่อนโครงการงวดที่ 2 ดังนี้ 1.จัดให้วิทยากรอบรมการจัดทำบัญชีครัวเรือน ในวันที่ 10/5/58  เวลา 10.00-15.00 น.
    2.หาแนวทางการจัดการหนี้สินของชุมชน ครั้งที่ 4 ในวันที่ 12/5/58  เวลา 13.00-14.00 น. 3.หามาตรการของชุมชนในการลดรายจ่าย-เพิ่มรายได้ ในวันที่ 13/5/58  เวลา 13.00-14.00 น. 4.หาแนวทางการจัดการหนี้สินของชุมชน ครั้งที่ 5 ในวันที่ 14/5/58  เวลา 13.00-14.00 น. 5.จัดกระบวนการกลุ่ม เพื่อชุมชนมีส่วนร่วมรับรู้และแก้ปัญหาหนี้สินของครัวเรือน ในวันที่ 19/5/58  เวลา 10.00-15.00 น. 6.หาแนวทางการจัดการหนี้สินของชุมชน ครั้งที่ 6 ในวันที่ 20/5/58  เวลา 13.00-14.00 น. 7.หาแนวทางการจัดการหนี้สินของชุมชน ครั้งที่ 7 ในวันที่ 25/5/58  เวลา 13.00-14.00 น. 8.หาแนวทางการจัดการหนี้สินของชุมชน ครั้งที่ 8 ในวันที่ 27/5/58  เวลา 13.00-14.00 น. 9.หาแนวทางการจัดการหนี้สินของชุมชน ครั้งที่ 9 ในวันที่ 30/5/58  เวลา 13.00-14.00 น. 10.หาแนวทางการจัดการหนี้สินของชุมชน ครั้งที่ 10 ในวันที่ 1/6/58  เวลา 13.00-14.00 น.

     

    5 3

    29. จัดให้วิยากรอบรมการจัดทำบัญชีครัวเรือน

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดให้มีการอบรม โดยมีวิทยากรเพื่อให้ความรู้ในการจัดทำบัญชีครัวเรือนและแจ้งยอดรายจ่ายและรายได้ 2.ส่งเสริมกระบวนการกลุ่มทำบัญชีครัวเรือน โดยประชุมการทำบัญชีและให้สมาชิกไปทำ
    -มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทุก 2 สัปดาห์ - ชวนคิด ชวนคุย"ในจากการทำบัญชีครัวเรือน -รับทราบปัญหาที่เกิดขึ้นจากการทำบัญชีครัวเรือน และร่วมกันประเมินติดตามให้กำลังใจ ชี้ให้เห็นประโยชน์ของการทำบัญชีครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วันนี้คณะขับเคลื่อนโครงการได้จัดให้มีการอบรม โดยมีวิทยากรเพื่อให้ความรู้ในการจัดทำบัญชีครัวเรือน จำนวน 2 ท่าน คือ นายสุรชัย  เกื้อหน่วย และนางวรรณา  ส่งศรี เป็นวิทยากรในการให้ความรู้แก่สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ ขั้นตอนการกรอกข้อมูลที่ถูกต้อง  มีการแจกตัวอย่างให้สมาชิกทดลองทำครั้งนี้ด้วย มีการสอนละเอียดมาก
    มีการส่งเสริมกระบวนการทำบัญชีครัวเรือน โดยให้มีการทำบัญชีและให้สมาชิกไปทำต่อ โดยการชวนคิด ชวนคุย"ในจากการทำบัญชีครัวเรือน รับทราบปัญหาที่เกิดขึ้นจากการทำบัญชีครัวเรือน โดยสมาชิกต่างก็คิดว่าเป็นเรื่องง่ายๆ เพราะเป็นสิ่งที่ไม่จำเป็น แต่พอไ้รับการหัดทำ  ก็ทำให้เกิดการรู้ถึงความละเอียดในการกรอกข้อมูล และรับทราบการใช้จ่ายที่ไม่มีการบันทึกมาก่อน ทำให้ไม่ทราบถึงการจ่ายที่ไม่จำเป็นในแต่ละวัน และร่วมกันประเมินติดตามให้กำลังใจ ชี้ให้เห็นประโยชน์ของการทำบัญชีครัวเรือน ทุกคนต่างตั้งใจและรับปากว่ากลับไปทำที่บ้านต่อ

     

    198 151

    30. หาแนวทางการจัดการหนี้สินของชุมชน ครั้งที่ 2

    วันที่ 12 พฤษภาคม 2558 เวลา 17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันนี้ นายม่าหมัด เมืองเล่ง ผู้ใหญ่บ้าน พร้อมด้วยผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน และคณะขับเคลื่อนโครงการปฎิรูปครัวเรือน มู่งสู่แบบพอเพียง บ้านผังปาล์ม 3  วันนี้คณะขับเคลื่อนโครงการได้นั่งพูดคุยกัน ในเรื่องอบรมการทำบัญชีครัวเรือนที่ผ่านมาและการหามาตรการลดรายจ่าย-เพิ่มรายได้ เนื่องจากวันนี้มีแผนปฏิทินในการจัดกิจกรรมหามาตรการลดรายจ่าย-เพิ่มรายได้ แต่ต้องยกเลิกเพราะสมาชิกและชาวบ้านได้ติดประชมผู้ปกครองนักเรียนพอสมควร จึงหาหารือกันในการหาวันจัดกิจกรรม ตกลงได้วันที่แน่นอนคือ วันที่ 25 พฤษภาคม 2558 เวลา 10.00 น.-15.00 น. จะมีวิทยากรกลุ่มในการช่วยความคิดและหาแนวทางในการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ และเพิ่มเติมในการจัดทำบัญชีครัวเรือนอีก เพื่อเน้นให้สมาชิกและชาวบ้านตื่นตัวมากขึ้นอีก ชี้แจงให้เห็นประโยชน์ของการทำบัญชีครัวเรือน และการดึงเอาเยาวชนมามีบทบาทในครัวเรือนมากขึ้น  เพื่อตอบสนองแนวความคิดและนโยบายของ สสส. มากขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วันนี้คณะขับเคลื่อนโครงการได้นั่งพูดคุยกัน ในเรื่องอบรมการทำบัญชีครัวเรือนที่ผ่านมาและการหามาตรการลดรายจ่าย-เพิ่มรายได้ เนื่องจากวันนี้มีแผนปฏิทินในการจัดกิจกรรมหามาตรการลดรายจ่าย-เพิ่มรายได้ แต่ต้องยกเลิกเพราะสมาชิกและชาวบ้านได้ติดประชมผู้ปกครองนักเรียนพอสมควร จึงหาหารือกันในการหาวันจัดกิจกรรม ตกลงได้วันที่แน่นอนคือ วันที่ 25 พฤษภาคม 2558 เวลา 10.00 น.-15.00 น. จะมีวิทยากรกลุ่มในการช่วยความคิดและหาแนวทางในการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ และเพิ่มเติมในการจัดทำบัญชีครัวเรือนอีก เพื่อเน้นให้สมาชิกและชาวบ้านตื่นตัวมากขึ้นอีก ชี้แจงให้เห็นประโยชน์ของการทำบัญชีครัวเรือน และการดึงเอาเยาวชนมามีบทบาทในครัวเรือนมากขึ้น  เพื่อตอบสนองแนวความคิดและนโยบายของ สสส. มากขึ้น

     

    20 18

    31. หามาตรการชุมชนในการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้

    วันที่ 19 พฤษภาคม 2558 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมสภาหมุ่บ้านหามาตรการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้  โดยการเปิดประชุมของผู้ใหญ่บ้านในช่วงเช้า  เพื่อเป็นการแตกความคิดให้กับสมาชิกหรือชาวบ้านได้คิดตามไป ทั้งเรื่องในการบริหารจัดการในครัวเรือนและนอกครัวเรือน  โดยเฉพาะรายได้และรายจ่ายที่ไม่สมดุลกันตั้งแต่เสนอมาตั้งแรกตอนเปิดโครงการ จนถึงการอบรมทำบัญชีครัวเรือน เพื่อให้ทราบถึงการได้และจ่ายที่เกิดความสมดุลกัน จนมีเหลือเก็บออม และในช่วงบ่าย ได้แบ่งสมาชิกชาวบ้านให้มีการเสนอวิธีการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ เพิ่มเติมการทำบัญชีครัวเรือน และการเสนอมาตราการชุมชนที่เหมาะสมกับหมู่บ้าน  ในการดำเนินชีวิตและอาชีพของคนในชุมชน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทางคณะขับเคลื่อนโครงการฯ ได้แบ่งสมาชิกหรือชาวบ้านให้มีการเสนอวิธีการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ และการเสนอมาตราการชุมชนที่เหมาะสมกับหมู่บ้าน  ในการดำเนินชีวิตและอาชีพของคนในชุมชน เป็นกลุ่มๆ โดยชาวบ้านได้เสนอ โดยมีวิทยากรช่วยจดและแตกความคิดให้   วิธีลดรายจ่ายมาหลายด้าน ดังนี้
    1.ด้านบริโภคอุปโภคในครัวเรือน เช่น การประหยัดน้ำ ดื่มน้ำฝนแทนน้ำขวด 2.ด้านสื่อสาร เช่น การเติมเงินโทรศัพท์ โทรเฉพาะที่จำเป็น 3.ด้านการทำการเกษตร เช่น การใส่ปุ๋ยชีวภาพแทนใช่้ปุ๋ยเคมี
    4.ด้านการซื้อสินค้า เช่น การซื้อในสิ่งที่จำเป็นและไว้ได้นาน
    5.ด้านการประหยัดพลังงานและหาพลังงานทดแทน เช่น การปิดไฟทุกครั้งหลังใช้ การใช้ไม่ฟื้นแทนแก๊ส
    6.ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมส่วนตัวของสามีภรรยา เช่น งดการดื่มเหล้า เที่ยวกลางคืน เครื่องสำอาง 7.ด้านการอบรมลูกหรือหลานในการใช้จ่ายเงินให้ถูกวิธี เช่น การเล่นอินเตอร์เน็ต การใช้โทรศัพท์   วิธีการเพิ่มรายจ่าย ดังนี้
    1.ด้านการปลูกผักสวนครัวไว้ข้างบ้าน 2.ด้านการทำอาชีพเสริม ขายขนม หัดงานฝีมือ 3.ด้านการเกษตร เช่น การปลูกพืชที่ขายได้ไว้ระหว่างกลางสวนปาล์ม ยาง 4.ด้านการเลี้ยงสัตว์ เช่น ไก่ เป็ด วัว
      มาตราการ ในการเป็นสมาชิกกลุ่ม 1.ทุกครัวเรือนต้องเข้าร่วมประชุมเวทีของกลุ่มหรือหมู่บ้านไม่ต่ำกว่า 10 ครั้ง/ต่อปี
    2.ทุกครัวเรือนที่เข้าร่วมกลุ่ม ต้องมีการทำบัญชีครัวเรือนด้วย 3.ทุกครัวเรือนต้องปลูกผักสวนครัวไว้ข้างบ้าน อย่างน้อย 2-3 ชนิด 4.ทุกครัวเรือนต้องเลี้ยงสัตว์ไว้กินเองบ้าง 5.ทุกครัวเรือนต้องมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง 6.ทุกครัวเรือนต้องมีการออมอย่างน้อยเดือนละ 100 บาท 7.ทุกครัวเรือนต้องมีเวลาให้ลูกหลานในการทำกิจกรรมร่วมกัน อย่างน้อย สัปดาห์ละ 1 วันเต็ม เช่น วันอาทิตย์ 8.ทุกครัวเรือนต้องมีการออกกำลังกายบ้าง 9.คณะกรรมการต้องมีการประชุมไม่น้อยกว่า 1 ครั้งต่อเดือน 10.ทุกครัวเรือนต้องออกมามีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมของหมู่บ้านเดือนละไม่น้อยกว่า 1 ครั้ง 11.ทุกคนต้องยิ้มให้ต่อกันเสมอ

    ตามที่ท่านนายกรัฐมนตรี ได้พูดผ่านทีวี ในรายการของ คสช. เพื่อให้ชาวบ้านหรือประชาชน ได้มีการจัดทำบัญชีครัวเรือน เพื่อให้ทราบถึงรายรับและรายจ่าย พร้อมทั้งให้สมาชิในบ้านได้รับรู้ด้วย ซึ่งตรงกับการขับเคลื่อนโครงการของหมู่บ้านนี้พอดี ในการตอบสนองนโยบายภาครัฐและตอบสนอง สสส. ในการปรับสภาพจิตใจ ให้คนในสังคมมีส่วนร่วมและไม่เครียดกับการดำรงชีวิตในยุคปัจจุบัน ให้มีสุขภาพจิตที่ดีและแจ่มใสอยู่เสมอ

     

    198 200

    32. หาแนวทางการจัดการหนี้สินของชุมชน ครั้งที่ 3

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ในเวทีพูดคุยต่อจากครั้งที่ 4 เรื่องการลดรายจ่ายให้แก่สมาชิก เพื่อสนับสนุนส่งเสริมให้การลดรายจ่าย-เพิ่มรายได้  ในกลุ่มสมาชิกมากขึ้น โดยที่ประชุมคณะทำงานให้มีการเพาะพันธ์กล้าไม้พืชครัวเรือนเพิิมขึ้นอีก ในการนำมากแจกจ่ายให้สมาชิกเพิ่มขึ้นอีก 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ที่ประชุมส่งเสริมให้การลดรายจ่าย ในกลุ่มสมาชิกอย่างต่อเนื่อง โดยที่ประชุมให้มีการเพาะพันธ์กล้าไม้พืชครัวเรือนเพิิ่มขึ้นอีก ในการนำมากแจกจ่ายให้สมาชิกเพิ่มขึ้นอีก ส่วนการการเพิ่มรายได้ในคณะทำงานหาแนวทางหาเงินสนับสนุนของหน่วยงานภาครัฐมาฝึกอาชีพหรือเพิ่มความถนัดให้แก่สมาชิกในด้านการมีรายได้ในครัวเรือน เช่น การทำขนมหวาน หั9ถกรรม หรือการฝึกกรีดยางพาราในกลุ่มสตรี หรือเยาวชนต่อไป

     

    20 20

    33. จัดกระบวนการกลุ่ม เพื่อชุมชนมีส่วนร่วมรับรู้ และแก้ปัญหาหนี้สินของครัวเรือน

    วันที่ 10 มิถุนายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ที่ประชุม มีการเปิดการประชุม โดยนายม่าหมัด  เมืองเล่ง ประธานโครงการฯ มีคณะทำงาน ในการชี้แจ้งการหาแนวทางร่วมคิดในการช่วยเหลือสมาชิกทุกด้าน ทุกกลุ่ม ในหมู่บ้าน มีการเสนอการหาแนวทาง ในส่วนที่ามาชิกลำบาก ให้ทาง กทบ. เข้ามาดูแล และสวนปาล์มหมู่บ้านด้วย เพื่อเป็นกาพลักดันให้เกิดการพึ่งพากันในกลุ่ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นายม่าหมัด  เมืองเล่ง ประธานโครงการฯ มีคณะทำงาน ได้ให้สมาชิกที่มาประชุม ให้มีการเสนอแนวความคิดเข้ามาในที่ประชุม เพื่อช่วยกันแก้ไขปัญหาในกลุ่มและหมู่บ้าน ให้เกิดความยั่งยืนและมั่นคงมากขึ้น การแก้ไขปัญาที่ตรงจุด  การจัดการหนี้สินในครัวเรือนและชุมให้ทยอยหายไปให้ได้มากที่สุด โดยมีการเพิ่มองค์ความรู้ ทั้งการจัดทำบัญชีคร้วเรือนอย่างต่อเนื่อง และการให้มีการปลูกผักไว้กินเอง และการสนับสนุนของกลุ่มต่างๆ ในหมู่บ้าน

     

    50 52

    34. หาแนวทางการจัดการหนี้สินของชุมชน ครั้งที่ 4

    วันที่ 12 มิถุนายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประธานชี้แจ้งผลการจัดกระบวนการกลุ่ม เพื่อประชาชนมีส่วนร่วม ในการแก้ไขหนี้สินของชุมชน 2.ผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินการแสดงความคิดที่ได้จากการจัดกระบวนการกลุ่ม 3.ให้ที่ประชุมแสดงความคิดเห็น และเสนอแนวทางการแก้ไขหนี้สิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นายม่าหมัด  เมืองเล่ง  ผู้ใหญ่บ้าน/ประธาน  กล่าวเปิดประชุม ชี้แจ้งผลการจัดกระบวนการกลุ่ม ในการแก้ไขปัญหาหนี้สินของชุมชน ซึ่งได้ให้ทางนายอภิเชฐ อุมะระโห ผู้รับผิดชอบโครงการ ดำเนินการสำรวจ รวบรวมข้อมูล จัดส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งจัดตั้งธนาคารต้นไม้หรือโรงเรือนเพาะชำไว้แจกจ่าย การจัดฝึกอบรมการจัดทำบัญชีครัวเรือน ต่อไปเป็นการส่งเสริมให้มีการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ และพลักดันให้เกิดสหกรณ์หรือธนาคารขึ้นในหมู่บ้านของเรา นายอภิเชฐ อุมะระโห  ได้เสริมในที่ประชุมให้คณะทำงานและชาวบ้าน เยาวชน เน้นประหยัด ใช้จ่ายในสิ่งที่จำเป็น นางนวลลัดดา สังธรรม  คณะทำงานได้เสนอที่ประชุมว่าตอนนี้มีชาวบ้านสนใจในการทำกิจกรรมดี โดยเฉพาะการได้รับกล้าไม้ไปปลูกที่บ้าน การให้ภาคคีเครือข่าย กทบ. ปล่อยให้ยืมเงินไปปิดหนี้นอกระบบ การไปลงทุนในการสร้างงานสร้างอาชีพ นอกเหนือจากธนาคาร ธกส. ที่มีการช่วยเหลือชาวบ้านของเราไปบางส่วนแล้ว ที่ประชุมพอใจกับการขับเคลื่อนโครงการของคณะทำงานและการสนับสนุนงบประมาณ

     

    20 20

    35. ให้ชาวบ้านรู้จักการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

    วันที่ 23 มิถุนายน 2558 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.วิทยากรจำนวน 2 ท่าน ให้ความรู้เรื่องประโยชน์ของปุ๋ยหมักชีวภาพ 2.ร่วมรับประทานอาหาร 3.ลงมือปฏิบัติการสับผักต่างๆ และการผสมน้ำหมัก 4.พักกินอาหารว่าง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นายสมชาย พรหมมาน นางวรรณา ส่งศรีและนายอภิเชฐ อุมะระโห  ร่วมกันเป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้เรื่องประโยชน์ของการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ สามารถใช้ในการผสมนำ้ไปรดพืชผักสวนครัว สวนยาง สวนปาล์มน้ำมัน และสวนผลไม้ได้ ไม่มีสารเคมีตกค้าง แถมยังมีต้นทุนที่ถูกด้วย  ประหยัดต้นทุนการผลิต หรือนำไปผสมแล้วนำไปกำจัดศัตรูพืชได้ด้วย ที่สำคัญชาวบ้านได้มาทำกิจกรรมร่วมกัน มีการนั้งพูดคุยกัน ช่วยในการคลายเครียด มีสุขภาพจิตที่ดี มีการออกกำลังบ้างสำหรับผู้สูงอายุ ตอบสนองการส่งเสริมสุขภาพของสสส. มีขั้นตอนคือ การนำถังใบใหญ่ขนาดไหนก็ได้ มาใส่น้ำอีเอ็ม กากน้ำตาล ผักหรือกากอาหารก็ได มาผสมกับ พ.ด. ต่างๆ ที่ต้องการนำไปใช้ แล้วหมักทิ้งไว้ พอประมาณ สามารถน้ำไปใช้ได้เลย ส่วนหนึ่งได้งบสนับสนุนจากเกษตรอำเภอด้วย

     

    30 35

    36. ให้ความรู้แก่ประธานกลุ่มต่างๆ เพื่อรวมตัวกันเป็นรูปแบบสหกรณ์

    วันที่ 26 มิถุนายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ให้ประธานกล่าวเปิดและขี้แจ้งการทำงานที่ผ่านมาหรือการประชุมครั้งที่ผ่านมา 2.ประธานได้ดำเนินการอธิบายการเข้าร่วมเป็นสมาชิกของกลุ่มต่างๆ ในหมู่บ้าน 3.ประธานได้อธิบายการเก็บออมในรูปแบบของเก็บสัจจะในแต่ละเดือนของกลุ่มต่างๆ 4.ประธานได้ถามตัวแทนกลุ่มต่างๆ ถึงคณะกรรมการกลุ่มเป็นปัจจุบันหรือใหม่ ซึ่งบางกลุ่มต้องตั้งตั้งปรับเปลี่ยนใหม่ 5 กลุ่ม 5.ประธานกล่าวปิดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นายอภิเชฐ อุมะระโห ผู้รับผิดชอบโครงการทำหน้าที่แทนผู้ใหญ่บ้าน พร้อมด้วยคณะกรรมการสภาชุมชน บ้านผังปาล์ม 3 ม.2 ต.ปาล์มพัฒนา อ.มะนัง จ.สตูล ได้มีการประชุมปรึกษาหารือในการขับเคลื่อนสภาชุมชน เพื่อสรุปการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา พร้อมพลักดันให้เกิด "สหกรณ์พอเพียงหรือธนาคารพอเพียง"โดยการร่วมกันร่างแผนการรวมตัวของกลุ่มต่างที่ในหมู่บ้าน ที่มีการตอบรับสมัครเข้าร่วมจำนวน 17 กลุ่ม  โดยคณะกรรมการสภาชุมชนหรือประธานกลุ่มต่าง เป็นพี่เลี้ยงหลักเกิดการรวมตัว พึ่งพาอาศัยกันในชุมชน เกิดกระบวนการเรียนรู้และสังเคราะห์ความรู้ที่ได้ในครัวเรือน ชุมชน ก้าวไปสู่การการเพิ่มการเก็บออม ปรับการดำเนินชีวิต ลดภาวะหนี้สิน และลดสภาวะการเครียด การมีสุขภาพจิตที่ดี มีการพูดคุยกันไปมา  ตามนโยบายของสสส. ให้คนในชุมชน มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีภายใต้โครงการฯ คณะกรรมการสภาชุมเกิดความพึ่งพอใจในการขับเคลื่อนกิจกรรมครั้งนี้

     

    20 20

    37. ให้ชาวบ้านรู้จักการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ ครั้งที่ 2

    วันที่ 29 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.วิทยากรจำนวน 2 ท่าน บอกขั้นตอนการผสมแต่ละอย่างในการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ 2.ลงมือปฏิบัติการโดยการขนกากปาล์มน้ำมัน ดินดำและการผสมน้ำหมัก 3.ร่วมรับประทานอาหาร 4.ลงมือปฏิบัติการโดยการขนกากปาล์มน้ำมัน ดินดำและการผสมน้ำหมัก 5.พักกินอาหารว่าง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นายสมชาย พรหมมาน นางวรรณา ส่งศรีและนายอภิเชฐ อุมะระโห  ร่วมกันเป็นวิทยากรในการผสมทำปุ๋ยหมักชีวภาพทั้งที่ 2 สามารถใช้เป็นหัวเชื้อในการผสมไปใส่ใต้โคนพืชผักสวนครัว สวนยาง สวนปาล์มน้ำมัน และสวนผลไม้ได้ ไม่มีสารเคมีตกค้าง แถมยังมีต้นทุนที่ถูกด้วย  ประหยัดต้นทุนการผลิต  ที่สำคัญชาวบ้านได้มาทำกิจกรรมร่วมกัน มีการนั้งพูดคุยกัน ช่วยในการคลายเครียด มีสุขภาพจิตที่ดี มีการออกกำลังบ้างสำหรับผู้สูงอายุ ตอบสนองการส่งเสริมสุขภาพของสสส. มีขั้นตอนคือ การนำถังใบใหญ่ขนาดไหนก็ได้ มาใส่น้ำอีเอ็ม กากน้ำตาล ผักหรือกากอาหารก็ได มาผสมกับ พ.ด. ต่างๆ ที่ต้องการนำไปใช้ แล้วหมักทิ้งไว้ ประมาณ 1 เดือน สามารถนำไปใช้ได้เลย ส่วนหนึ่งได้งบสนับสนุนจากเกษตรอำเภอด้วย

     

    30 25

    38. รับฟังการอบรมการปิดโครงการ

    วันที่ 30 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้พี่เลี้ยง สจรส.ตรวจเอกสาร ตรวจหน้าเวบและรับฟังการปิดโครงการ เพื่อให้ถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ให้พี่เลี้ยง สจรส.ตรวจเอกสาร ตรวจหน้าเวบและรับฟังการปิดโครงการ เพื่อให้ถูกต้อง ตามหลักเกณฑ์ของ สสส.

     

    3 3

    39. หาแนวทางการจัดการหนี้สินของชุมชน ครั้งที่ 5

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมอธิบายให้มีการพลักดันกลุ่มให้เกิดสหกรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เชิญคณะสภาชุมชนมาประชุมอธิบายให้มีการพลักดันกลุ่มให้เกิดสหกรณ์ขึ้นในหมู่บ้าน คัดคณะกรรมการชุดเก่าเสริมชุดใหม่บางคน  เพื่อให้มีการขับเคลื่อนกลุ่มได้เต็มที

     

    20 20

    40. หาแนวทางการจัดการหนี้สินของชุมชน ครั้งที่ 6

    วันที่ 7 กรกฎาคม 2558 เวลา 17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์และการเตรียมความพร้อมให้การทำกิจกรรมวันที่ 10 กรกฎาคม 2558

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประธานและคณะสภาชุม  ได้นัดประชุมเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์และการเตรียมความพร้อมให้การทำกิจกรรมวันที่ 10 กรกฎาคม 2558

     

    20 25

    41. ชี้แจ้ง ติดตาม ประเมินผลโครงการ

    วันที่ 10 กรกฎาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ส่งเสริมบุคคลที่ปฏิบัติในวันสำคัญของหมู่บ้าน 2.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทีมงาน โดยการถอดบทเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      ที่ประชุม ซึ่งมีนายม่าหมัด  เมืองเล่ง ผญ.บ. และนายสมพร .เกลี้ยงกลม กำนันตำบลปาล์มพัฒนา ประธานในที่ประชุม พร้อมด้วย ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สารวัตรกำนัน ส.อบต ชาวบ้านและบอส. โดยได้มีวิทยากรบรรยาย ให้ความรู้ดังนี้ 1.ถอดบทเรียนหลังเสร็จสิ้นโครงการเพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และสังเคราะห์ความรู้ที่ได้ส่งเสริมบุคคลที่ปฏิบัติตามมาตรการของชุมชนโดยมอบเกียรติบัตรในวันสำคัญของหมู่บ้านโดยประสานหน่วยงานราชการมามอบเกียรติบัตรเชิดชุเกียรติ 2.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทีมงานโดยการถอดบทเรียนหลังจบโครงการปฏิรูปครัวเรือน มุ่งสู่แบบพอเพียงบ้านปาล์ม 3(สสส.)

     

    30 30

    42. เก็บออมจัดตั้งสมาชิก ครัวเรือนพึ่งพาตัวเอง โดยสมาชิกช่วยกันส่งเสริมอาชีพ อบรมการจัดทำสหกรณ์หมู่บ้าน ถอดบทเรียนหลังเสร็จสิ้นโครงการเพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และสังเคราะห์

    วันที่ 10 กรกฎาคม 2558 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.อบรมการจัดทำสหกรณ์หมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ที่ประชุม ซึ่งมีนายม่าหมัดเมืองเล่ง ผญ.บ. และนายสมพร .เกลี้ยงกลม กำนันตำบลปาล์มพัฒนา ประธานในที่ประชุม พร้อมด้วย ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สารวัตรกำนัน ส.อบต ชาวบ้านและบอส. โดยได้มีวิทยากรบรรยาย ให้ความรู้ดังนี้1.จัดตั้งสมาชิก ครัวเรือนพึ่งพาตัวเอง โดยสมาชิกช่วยกันส่งเสริมอาชีพ แนะนำการแก้ปัญหาจากการประกอบอาชีพ 2.อบรมการจัดทำสหกรณ์หมู่บ้าน เพื่อ -อำนาจในการต่อรองการซื้อวัตถุดิบ ปัจจัยการผลิต อำนาจต่อรองในการขายผลผลิต ผลกำไรตอบแทนกลับคืน เกิดความเข้มแข็งในกระบวนการผลิตและความหลากหลายของผลผลิต

     

    200 150

    43. สรุปปิดโครงการ

    วันที่ 25 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปริ๊นกระดาษสรุปปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการ ร่วมกันสรุปปิดโครงการเป็นรูปเล่ม

     

    5 5

    44. ล้างอัดภาพโครงการ

    วันที่ 25 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ช่วยกันคัดเลือกภาพเพื่อนำมาปริ๊นสรุปปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คัดเลือและล้างอัดภาพ

     

    5 5

    45. พบพี่เลี้ยง สสส.และสจรส.

    วันที่ 8 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ดูหน้าเวบและเอกสารเพิ่มเติม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ให้ทางพี่เลี้ยงตรวจดูหน้าเวบและเอกสารการประกอบเบิกจ่าย และเอกสารปิดโครงการ

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนให้เกิดการเรียนรู้ ภายใต้ข้อมูล และหาแนวทางลดรายจ่าย - เพิ่มรายได้ จัดการหนี้ให้ถูกต้องและเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ 198 ครัวเรือน (ครัวเรือนละ 1 คน) 2. เกิดสภาชุมชน 1 แห่ง 3. เกิดการดำเนินงานของแกนนำทุก 1 เดือนคิดเป็นร้อยละ 100 4. เกิดข้อมูลหนี้สินของชุมชน 1 ชุด ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ผู้นำชุมชนหรือคนในชุมชน มีความรู้อย่างถูกต้องและสามารถนำมาใช้และอบรมคนรุ่นหลังต่อไปได้

    ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

    1.จำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ 198 ครัวเรือน (ครัวเรือนละ 1 คน)
    มีจำนวนครัวเรือนเข้าร่วมเกินเป้าหมายที่วางไว้ ประมาณ 20 ครัวเรือนที่เพิ่มขึ้น

    2.เกิดสภาชุมชน 1 แห่ง คือ สภาชุมชน ประกอบด้วย ผู้นำฝ่ายปกครอง
    ฝ่ายท้องถิ้น และประธานกลุ่มต่างๆ 1 สภา 3.เกิดการดำเนินงานของแกนนำทุก 1 เดือนคิดเป็นร้อยละ 100 มีการประชุมเข็มแข็งครบ 100 %
    4.เกิดข้อมูลหนี้สินของชุมชน 1 ชุด มีทั้งนอกระบบและในระบบ และมีการทยอยปลดหนี้ ไปเกินครึ่งของข้อมูลที่จัดเก็บได้

    ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
    -ผู้นำชุมชนหรือคนในชุมชน มีความรู้อย่างถูกต้องและสามารถนำมาใช้และอบรมคนรุ่นหลังต่อไปได้
    มีการประชุมอย่างต่อเนื่องและนำเยาวชน เด็กจบใหม่เข้ามาร่วมกิจกรรมทุกครั้ง ทำให้เกิดการเรียนรู้การมีสวนร่วมของการทำงานมากขึ้นและประชาชนเข้าใจขั้นตอนมากขึ้น

    2 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการจัดทำบัญชีครัวเรือน
    ตัวชี้วัด : 1. จำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ 198 ครัวเรือน (ครัวเรือนละ 1 คน) 2. จำนวนบัญชีครัวเรือน 198 เล่มของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ 3. เกิดมาตรการชุมชนเพื่อลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ 1 มาตรการ ข้อตกลงหรือกฎระเบียบในการเข้าร่วมโครงการครั้งต่อไป ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ตระหนักเห็นถึงความสำคัญของการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้

    ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1.จำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ 198 ครัวเรือน (ครัวเรือนละ 1 คน)
    เพิ่มขึ้น เป็น 218 ครัวเรือน 2.จำนวนบัญชีครัวเรือน 198 เล่มของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ
    มีการทำบัญชีครัวเรือนต่อเนื่องเกินครึ่งหนึ่งของกลุ่มเป้าหมาย 3.เกิดมาตรการชุมชนเพื่อลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ 1 มาตรการ
    ข้อตกลงหรือกฎระเบียบในการเข้าร่วมโครงการครั้งต่อไป
    ทำให้มีการเข้าร่วมประชุมมากขึ้นและเร็วขึ้น

    ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
    -ตระหนักเห็นถึงความสำคัญของการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้
    มีการปลูกพืชผักสวนครัวไว้กินเองและแบ่งปันเพื่อนบ้าน ที่สำคัญประกอบอาชีพเสริมมากขึ้น

    3 เพื่อให้ครัวเรือนพึ่งพาตนเองได้ โดยการออม
    ตัวชี้วัด : 1. จำนวนครัวเรือนที่มีภาวะหนี้สินลดลงร้อยละ 50 ของสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ 2. ครัวเรือนร้อยละ 50 มีการเก็บออม ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ตระหนักเห็นถึงความสำคัญของการพึงพาตนเองได้ โดยเน้นหลักเศรษฐกิจพอเพียง

    ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1.จำนวนครัวเรือนที่มีภาวะหนี้สินลดลงร้อยละ 50 ของสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ มีครัวเรือนลดลงจริง เพราะได้มีการช่วยในการปลดหนึ้จากนอกระบบมาในระบบ หรือมาได้ในส่วนของดอกเบี้ยต่ำหรือปลอดดอกเบี้ยแทน เกินครึ่งหนึงของกลุ่มเป้าหมาย

    2.ครัวเรือนร้อยละ 50 มีการเก็บออม มีการเก็บออมเพิ่มขึ้นทุกเดือนผ่าน
    กองทุนหมู่บ้าน ในรูปของการออมทรัพย์

    ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
    -ตระหนักเห็นถึงความสำคัญของการพึงพาตนเองได้ โดยเน้นหลักเศรษฐกิจพอเพียง
    อย่างน้อยมีการเก็บออมทุกเดือน และมีการเรียนรู้การประหยัด หลักคิดและปลูกผักไว้กินเองมากขึ้น

    4 สรุปขยายผลและประเมินผล
    ตัวชี้วัด : 1. มาตรการชุมชนเพื่อเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย และเพิ่มการออม 1 มาตรการ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ประชาชนเห็นถึงความสำคัญของการเก็บออมและมีการปลูกผักไว้กินเองข้างบ้าน เช่น พริกสด ตะไคร้ เป็นต้น

    1.มาตรการชุมชนเพื่อเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย และเพิ่มการออม 1 มาตรการ
    ทำให้เกิดกลุ่มที่เข้มแข็งขึ้น สามารถขอเพิ่มทุนต่อรัฐบาลได้ ผ่านกองทุนหมู่บ้าน เพื่อจะได้เข้าไปสู้การตั้งสหกรณ์ชุมชนได้อย่างเต็มรูปแบบ มีการทำปุ๋ยหมัก
    และธนาคารต้นไม้ ไว้ให้ชาวบ้านมาเอาต้นกล้าไปปลูกใกล้บ้าน

    ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
    -ประชาชนเห็นถึงความสำคัญของการเก็บออมและมีการปลูกผักไว้กินเองข้างบ้าน
    เช่น พริกสด ตะไคร้ เป็นต้น ทำให้กลุ่มกองทุนหมู่บ้านมียอดการออมจากยอดสมาชิกไม่ถึงร้อย
    เพิ่มขึ้นเป็น 158 คนและมียอดการออมเพิ่มขึ้นเดือนละ 15,000 บาท จากสมาชิกทั้งหมด
    ในนามหมู่บ้าน ผ่านกลุ่มและมีการปลูกผักใกล้บ้านมากขึ้น ลดรายจ่ายและสามารถไปขายในตลาด ได้เพิ่มรายได้อีกทางหนึ่งด้วย

    5 เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลโครงการ
    ตัวชี้วัด :

    การจัดทำโครงการนี้ สามารถสร้างกระบวนการเรียนรู้ ผ่านเวทีประชุมของสภาชุมชน
    และกิจกรรมได้มาก ทำให้มีการตื่นตัวของประชาชนในพื้นที่มากขึ้น มีการเข้าใจการทำงานมากขึ้น
    และมีการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้มากขึ้น โโยการช่วยปลดหนี้สิน หรือการปลูกผักไว้กินเอง
    ผ่านกระบวนการพูดคุยการมีส่วนร่วมของเวทีชาวบ้าน ทำให้มีสุขภาพ จิตใจดีขึ้นมาก ส่งผลให้ชาวบ้านมีร่างกาย จิตใจดี ไม่กังวล ไม่เครียดมาก อย่างน้อยได่หันหน้ามาคุย กันมากขึ้นทั้งในครัวเรือนและเพื่อนบ้าน ทุกขึ้นปรับตัวดีขึ้นมาก ทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้นกว่าเดิม

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนให้เกิดการเรียนรู้ ภายใต้ข้อมูล และหาแนวทางลดรายจ่าย - เพิ่มรายได้ จัดการหนี้ให้ถูกต้องและเหมาะสม (2) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการจัดทำบัญชีครัวเรือน (3) เพื่อให้ครัวเรือนพึ่งพาตนเองได้ โดยการออม (4) สรุปขยายผลและประเมินผล (5) เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ปฎิรูปครัวเรือน มุ่งสู่แบบพอเพียงบ้านปาล์ม 3

    รหัสโครงการ 57-01405 รหัสสัญญา 57-00-1037 ระยะเวลาโครงการ 10 มิถุนายน 2557 - 10 กรกฎาคม 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการจัดการหนี้สินและออมของหมู่บ้าน

    ชุดข้อมูลหนี้สินหมู่บ้าน 1 ชุดและยอดเงินออมของหมู่บ้าน

    ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยเหลือแนะนำ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    การทำงานแบบสภาชุมชน โดยมีการประชุมหมู่บ้านทุกครั้งที่จัดกิจกรรมเพื่อของความร่วมมือ

    จำนวนคนที่เข้าร่วมกิจกรรมมากขึ้นทุกคร้ัง/ภาพถ่ายกิจกรรม

    ประชุมสภาหมู่บ้านต่อเนื่องทุกเดือน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    แกนนำชุมชนเข้มแข็ง

    รายงานการประชุมหมู่บ้าน/ภาพถ่ายกิจกรรม

    ประชุมสภาหมู่บ้านต่อเนื่องทุกเดือน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    การบริโภคอาหารปลอดสารพิษ / การลดความเครียดจากปัญหาหนี้สิน

    ภาพถ่ายกิจกรรม/ความขัดแย้งในครอบครัวลดลง

    ทำกิจกรรมต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    การบริโภคผักปลอดสารพิษที่ปลูกเองในหมู่บ้าน

    ภาพถ่ายกิจกรรม

    การหาน้ำที่ใช้อย่างพอเพียงในช่วงหน้าแล้ง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    จากการลดปัญหาหนี้สินได้

    บัญชีครัวเรือนที่ลดหนี้สินได้

    ทำบัญชีครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    การสร้างสิ่งแวดล้อมให้สะอาด สวยงาม

    ภาพถ่ายกิจกรรม

    ทำอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    จากการเกิดสภาชุมชนมีการพูดคุยปัญหาในหมู่บ้านลดความขัดแย้งเกิดชุมชนอบอุ่น

    รายงานการประชุมหมู่บ้าน

    ประชุมหมู่บ้านทุกเดือน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    เกิดกลุ่มสร้างรายได้ เช่น เลี้ยงแพะ

    รายชื่อสมาชิกกลุ่มและการดำเนินงาน

    ควรมีการประชุมกลุ่มทุกเดือน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    เกิดกติกาลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ชุมชน

    ภาพถ่ายกติกาหมู่บ้าน

    ควรมีการนำกติกามาติดตามการปฏิบัติตาม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    เชื่อมโยงกับที่ว่าการอำเภอ เกษตรอำเภอ สหกรณ์หมู่บ้าน โรงเรียน กลุ่มอาชีพ

    ภาพถ่ายกิจกรรม

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    จากการทำกิจกรรมโครงการ

    ภาพถ่ายกิจกรรม

    ควรทำต่อเนื่องปีที่ 2 ได้เห็นผลชัดเจน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    ใช้ทรัพยากรบุคคลสูงสุด ได้แก่ แกนนำระดมหาบุคคลในชุมชนที่มีความสามารถได้แก่ ปลูกผักดี ทำบัญชีครัวเรือนมาก่อน

    ภาพถ่ายกิจกรรม

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    กิจกรรมในโครงการดำเนินได้ด้วยดี

    ภาพถ่ายกิจกรรม

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    จากกิจกรรมจัดการหนี้สิน และเพิ่มรายได้ของโครงการ

    ชุุดข้อมูลหนี้สินหมู่บ้าน 1 ชุด

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    ความภาคภูมิใจของแกนนำ

    ภาพถ่ายกิจกรรม

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    การดำเนินกิจกรรม เช่น ปลูกผักรับประทานเอง ไม่ฟุ้งเฟ้อใช้จ่ายอย่างประหยัด

    ภาพถ่า่ยกิจกรรม

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    มีการช่วยเหลือกันและพูดคุยแก้ปัญหาในที่ประชุมสภา เกิดการร่วมกันพัฒนามัสยิด

    ภาพถ่ายกิจกรรม

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    ปฎิรูปครัวเรือน มุ่งสู่แบบพอเพียงบ้านปาล์ม 3 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 57-01405

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( 1.นายม่าหมัด เมืองเล่ง 2.นายอภิเชฐ อุมะระโห )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด