แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้มีกลไก สร้างความเข้มแข็ง พลังขับเคลื่อนชุมชน จัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนที่มีบทบาท เข้มแข็งในการพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1.จัดตั้งสภาเยาวชน โดยมีคณะกรรมการ จำนวน 30 คน เชิงคุณภาพ 1. ร้อยละ 80 ครอบครัว เข้าร่วมกิจกรรม 2. ร้อยละ 80 ครอบครัว มีความพึงพอใจกิจกรรม 3. เยาวชน มีพื้นที่ เวลาในการแสดงความคิด กิจกรรม ความสามารถ อย่างน้อย 3 ครั้ง

 

 

1.การจัดตั้งสภาเยาวชน จำนวน 45 คน โดยมีคณะกรรมการเยาวชน 14 คน และมีสมาชิกสภาเยาวชน 31 คน

2.ครอบครัว มากกว่าร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรมและมีความพึงพอใจในกิจกรรม

3.เยาวชนมีพื้นที่แสดงความคิดเห็นในกิจกรรมของโครงการ มีพื้นที่เล่นดนตรี การแสดงในงานต่างๆ มากกว่า 3 ครั้ง

2 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญ ปัญหาในชุมชนและมีความตระหนักในปัญหา และนำไปสู่การปรับเปลี่ยน เปลี่ยนแปลงเยาวชนที่มีบทบาท เข้มแข็งในการพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของเยาวชน ครอบครัว ชุมชน
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. เยาวชน ครอบครัว แกนนำ จัดกิจกรรม อบรมและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 112 คน เชิงคุณภาพ 1. เยาวชน ครอบครัว แกนนำ จัดกิจกรรม ร่วมสำรวจชุมชน เรียนรู้ชุมชนร่วมกัน จำนวน 112 คน 2. เยาวชน ครอบครัว แกนนำชุมชน เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ80 3. เยาวชน ครอบครัว แกนนำชุมชน เข้าร่วมกิจกรรมสำรวจชุมชน เรียนรู้ชุมชนร่วมกัน ร้อยละ 80

 

 

4.เยาวชน ครอบครัว แกนนำ จัดกิจกรรม อบรมและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 120 คน ประกอบด้วย ผู้ใหญ่บ้าน ม.6 หนองราโพธิ์ จำนวน 1 คนผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหนองราโพธิ์ จำนวน 1 คน ส.อบต.หนองราโพธิ์ จำนวน 2 คน คณะกรรมการโครงการ
กลุ่มเยาวชนดนตรีต้นกล้าแห่งหนองราโพธิ์ จำนวน6 คน
ประชาชนจำนวน 63 คน เยาวชน ธิ์ จำนวน 47 คน

5.เยาวชน ครอบครัว แกนนำชุมชน เข้าร่วมกิจกรรมสำรวจชุมชน เรียนรู้ชุมชนร่วมกัน มากกว่าร้อยละ 80

3 เพื่อสร้างความเข้มแข็งของเยาวชน ครอบครัว ชุมชน
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. จัดกิจกรรมเปิดพื้นที่ วันครอบครัว ให้กับเยาวชนแสดงความสามารถ จำนวน 4 ครั้ง เชิงคุณภาพ 2. ร้อยละ 80 ครอบครัว เข้าร่วมกิจกรรม 3. ร้อยละ 80 ครอบครัว มีความพึงพอใจกิจกรรม 4. เยาวชน มีพื้นที่ เวลาในการแสดงความคิด กิจกรรม ความสามารถ อย่างน้อย 3 ครั้ง

 

 

6.จัดกิจกรรมเปิดพื้นที่ วันครอบครัว ให้กับเยาวชนแสดงความสามารถและแสดงความคิดเห็น จำนวน 12 ครั้ง โดยมีกิจกรรมประชุมสภาเยาวชน สำรวจปัญหาหมู่บ้าน งานประเพณีในชุมชน การพบปะพี่สอนน้องเล่นเครื่องดนตรี

4 เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามผลโครงการ
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. จำนวนครั้งในการเข้าร่วม สสส/สจรส

 

 

7.เข้าร่วมกับ สจรส.และ สสส.จำนวน 5 ครั้ง ได้แก่ กิจกรรมปฐมนิเทศ กิจกรรมปิดงวด 1 กิจกรรมปิดโครงการ ประชุมถอดบทเรียน และประชุมกับพี่เลี้ยงจังหวัด