directions_run

บวร ไตรพลังสร้างสุขสู่บ้านนากวดน่าอยู่ (ต่อเนื่อง)

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการหมู่บ้าน คณะกรรมการวัดนาท่อม สภานักเรียนโรงเรียนวัดนาท่อม สู่หลักคิด" บวร ไตรพลังสร้างสุขสู่บ้านนากวดน่าอยู่"
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. คณะกรรมการหมู่บ้าน 15 คน 2. คณะกรรมการวัด 15 คน 3. สภานักเรียน 20คน เชิงคุณภาพ 1. ทั้ง 3 ฝ่ายเรียกว่าคณะทำงาน บวร ไตรพลัง สร้างสุขสู่บ้านนากวดน่าอยู่ 2. ทั้ง 3 ฝ่ายเรียนรู้ ทบทวนแผนชุมชนบ้านนากวด โดยวิธี -การจัดเก็บข้อมูลโดยเด็กและกรรมการหมู่บ้าน -รวบรวมวิเคราะห์ก่อนจัดทำร่างแผ่นชุมชน -ประชุมเพื่อประชาพิจารณ์ ให้ประชาชนเติมเต็ม -ประชุมเพื่ออนุมัติแผนที่ผ่านประชาพิจารณ์เพื่อนำไปทำแผนชุมชน -จัดทำแผนชุมชนหลังจากได้ผ่านขั้นตอนแยกหมวดหมู่ -ให้ความเห็นชอบรับรองแผน -การประสานแผน -การตรวจสอบและติดตามการดำเนินการ โดยกรรมการหมู่บ้าน กรรมการวัด สภานักเรียน ด้วยการคืนข้อมูลสู่ชุมชน
  • เกิดสภาแกนนำหมู่บ้านที่ได้รับเลือกจากที่ประชุมหมู่บ้าน จำนวน 15 คน
2 2. เพื่อใช้หลัก บวร ไตรพลังสร้างสุขฯเป็นเครือข่าย ร่วมขับเคลื่อนงานพัฒนาชุมชนนากวดอย่างมีคุณภาพ ด้านสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. คณะ บวร ไตรพลังสร้างสุขสู่นากวดน่าอยู่ เป็นแกนนำเพื่อแก้ไขปัญหาชุมชน จำนวน 50คน 2. โรงเรียนสร้างและพัฒนาธนาคารขยะเป็นแหล่งเรียนรู้ใน โรงเรียนวัดนาท่อม1 แหล่ง 3. วัดมีแหล่งเรียนรู้ชุมชนทางด้านศิลป วัฒนธรรมชุมชน 1 แหล่ง 4. ชุมชนมีกิจกรรมสืบชะตาคลองนาท่อมเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน 1 แหล่ง เชิงคุณภาพ 1.แหล่งเรียนรู้สืบชะตาคลองนาท่อมในชุมชน โดยใช้เด็กเป็นสื่อในการทำกิจกรรม ใช้กิจกรรมหุ่นเงาเด็กเด็กเล่าเรื่อง หนังตะลุง กลองยาว มโนราห์เด็ก 2. แหล่งเรียนรู้วัดเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ใช้ภาพกิจกรรมเล่าเรื่องราว เช่น ภาพในผนังโบสถ์ โดยนายสมัยหมวดมณี 3. แหล่งเรียนรู้ธนาคารขยะในโรงเรียนโดยมีกิจกรรมทอดผ้าป่าขยะขยะแลกไข่ ตลาดนัดขยะ เป็นระยะโดยใช้สภานักเรียน 4.กลุ่มเด็กและเยาวชน กลุ่มผู้สูงอายุ่ร่วมทำกิจกรรมที่หลากหลายในการขับเคลื่อนกิจกรรมของชุมชน 5.ประชาชนใช้วัดเป็นศูนย์กลางโดยสร้างการมีส่วนร่วมของคน 3 วัยชวนเข้าวัดพัฒนาวัฒนธรรมด้วยกิจกรรม 6.มีการติดตามรายงานความก้าวหน้าของสามแหล่งเรียนรู้โดยคณะกรรมการแต่ละฝ่าย
  • เกิดแหล่งเรียนรู้ธนาคารขยะ โดยวิธีการ 3R ที่โรงเรียนวัดนาท่อม
  • เกิดแหล่งเรียนรู้วัดนาท่อม ที่ทำเป็นพิพิธภัณฑ์ชุมชน มีกิจกรรม 4 กิจกรรม คือ การจัดการขยะ การปลูกไม้ การปล่อยปลา และขยายเขตเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ
  • เกิดครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมจำนวน 70 ๕รัวเรือน
3 3. เพื่อพัฒนากลไก บวร ไตรพลังสร้างสุขสู่บ้่านนากวดน่าอยู่สู่การจัดการตนเอง ด้วยข้อตกลงร่วมกัน กฎกติกาอยู่ร่วมกัน และมีบทบาทหน้าที่แต่ละฝ่าย
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. มีการประชุม 12ครั้ง 2. แต่ละฝ่ายมีบทบาทหน้าที่ร่วมออกกฎกติกา เช่น ธนาคารขยะจัดการขยะด้วยวิธี 3 R โดยใช้สภานักเรียน, แหล่งเรียนรู้สืบชะตาคลองนาท่อมใช้ สภาเด็กและเยาวชน และครอบครัวจักรยานสานฝันวันอาทิตย์ ในการสื่อสารรณรงค์ เชิงคุณภาพ 1. ชุมชนบ้านนากวดน่าอยู่อย่างมีกฏกติกาของชุมชนที่ทุกคนในชุมชนเข้าใจ ยอมรับ และปฏิบัติตาม เช่น มีเขตอภัยทานชัด การกำหนดจุดให้อาหารปลา ,จุดทิ้งขยะ 2. กำหนดประชุมทุกวันที่ 9 ทุกเดือน 3.กฎกติกาเผยแพร่และเป็นข้อปฎิบัติของบุคคลภายนอก เช่นเขตอภัยทานขยะเขตอภัยทานห้ามจับปลาป้ายปฏิญญาของผู้นำ 4.พัฒนาหอกระจายข่าวของชุมชนวัด โรงเรียนสื่อสารกิจกรรมโครงการโดยใช้เด็กเป็นผู้สื่อสาร 5. ใช้วัดเป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชนฝึกให้เด็กเรียนรู้ชุมชน ฝึกเด็กเป็นไกด์นำเสนอ 6.การใช้เด็กและเยาวชนสื่อสารสาธารณะ จำนวน 5 คนสื่อสารผ่านสื่อ 7.สรุปชุดความรู้ถอดบทเรียนไว้เป็นเอกสารเผย
  • มีการรวมตัวกันจัดการสิ่งแวดล้อมในระดับชุมชน เดือนละครั้ง
  • จัดกิจกรรมรณรงค์ด้วยเด็กเป็นสื่ออาทิตย์ละ 1 ครั้ง
4 4.การบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลตัวชี้วัดเข้าร่วมกับสสส.
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งที่เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส.และ สจรส.

จำนวน 4 ครั้ง
- เข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศ - เข้าร่วมกิจกรรมตรวจรายงานความก้าวหน้า - เข้าร่วมกิจกรรมถอดบทเรียน - เข้าร่วมกิจกรรมตรวจรายงานฉบับสมบูรณ์

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการหมู่บ้าน คณะกรรมการวัดนาท่อม สภานักเรียนโรงเรียนวัดนาท่อม สู่หลักคิด" บวร ไตรพลังสร้างสุขสู่บ้านนากวดน่าอยู่" (2) 2. เพื่อใช้หลัก บวร ไตรพลังสร้างสุขฯเป็นเครือข่าย ร่วมขับเคลื่อนงานพัฒนาชุมชนนากวดอย่างมีคุณภาพ ด้านสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง (3) 3. เพื่อพัฒนากลไก บวร ไตรพลังสร้างสุขสู่บ้่านนากวดน่าอยู่สู่การจัดการตนเอง ด้วยข้อตกลงร่วมกัน กฎกติกาอยู่ร่วมกัน และมีบทบาทหน้าที่แต่ละฝ่าย (4) 4.การบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลตัวชี้วัดเข้าร่วมกับสสส.

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh