แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 กระบวนการเรียนรู้ในการผลิตและบริโภคที่ปลอดภัยในโรงเรียนและชุมชน 2 เพื่อหนุนเสริมให้ชุมชนมีการทำเกษตรอินทรีย์
ตัวชี้วัด : 1. คณะทำงานได้รับทราบและมีความเข้าใจในการทำงานกับโครงการ 20 คน 2. คณะทำงานมีชุดข้อมูลพฤติกรรมการกิน ของประชาชนในหมู่บ้าน 1 ชุด 3. ประชาชนและคณะทำงานได้เรียนรู้ข้อมูลของชุมชน ร้อยละ 80 4.ประชาชนเข้าร่วมทำนาโยนแบบเกษตรอินทรีย์ จำนวน 20 คน 5.ผู้ปกครองโรงเรียนวัดควนขี้แรดเรียนรู้อาหารขยะและผลกระทบต่อเด็ก ร้อยละ 80 6.นักเรียนโรงเรียนวัดควนขี้แรดได้เรียนรู้อาหารขยะและผลกระทบ ร้อยละ 80 7โรงเรียนวัดควนขี้แรดและชุมชนมีมาตรการหรือข้อตกลงร่วมกันในการกำหนดอาหารปลอดภัย 8.แกนนำ คณะทำงาน นักเรียน และครู ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างพื้นที่ 50 คน 9.โรงเรียนวัดควนขี้แรดมีเมนูอาหารสุขภาพสำหรับเด็กนักเรียน 1 ชุด 10.นักเรียนโรงเรียนได้เรียนรู้การทำปุ๋ย การปลูกผักปลอดสารพิษ และการเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก 40 คน 11โรงเรียนวัดควนขี้แรดมีแปลงผักสำหรับเรียนรู้และนำประกอบอาหารเที่ยงในโรงเรียน 1 แปลง 12.โรงเรียนวัดควนขี้แรดมีบ่อเลี้ยงปลาดุกสำหรับเรียนรู้และประกอบอาหารกลางวันในโรงเรียน 1 แห่งประชุม ให้ความรู้ในการจัดทำเมนูอาหารกลางวันเด็ก 13.ชุมชนมีหลักสูตรการทำนาโยนแบบเกษตร์อินทรีย์ 1 ชุด 14.นักเรียนในโรงเรียนวัดควนขี้แรดได้เรียนรู้และปฏิบัติจริงในการทำนาโยนแบบเกษตรอินทรีย์ 40 คน 15.มีนักเรียนในโรงเรียนวัดควนขี้แรดสามารถเป็นวิทยากรในเรื่องทำปุ๋ยหมักชีวภาพได้ 5 คน

 

 

1คณะทำงานได้รับทราบและมีความเข้าใจในการทำงานกับโครงการ
2คณะทำงานมีชุดข้อมูลพฤติกรรมการกิน ของประชาชนในหมู่บ้าน 3.ประชาชนเข้าร่วมทำนาโยนแบบเกษตรอินทรีย์
4ผู้ปกครองโรงเรียนวัดควนขี้แรดเรียนรู้อาหารขยะและผลกระทบต่อเด็ก 5แกนนำ คณะทำงาน นักเรียน และครู ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างพื้นที่ ุ6โรงเรียนวัดควนขี้แรดมีเมนูอาหารสุขภาพสำหรับเด็กนักเรียน 7นักเรียนโรงเรียนได้เรียนรู้การทำปุ๋ย การปลูกผักปลอดสารพิษ และการเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก
8.โรงเรียนวัดควนขี้แรดมีบ่อเลี้ยงปลาดุกสำหรับเรียนรู้และประกอบอาหารกลางวันในโรงเรียน 9ชุมชนมีหลักสูตรการทำนาโยนแบบเกษตร์อินทรีย์นักเรียนในโรงเรียนวัดควนขี้แรดได้เรียนรู้และปฏิบัติจริงในการทำนาโยนแบบเกษตรอินทรีย์
10มีนักเรียนในโรงเรียนวัดควนขี้แรดสามารถเป็นวิทยากรในเรื่องทำปุ๋ยหมักชีวภาพได้ 5 คน

2 เพื่อหนุนเสริมให้ชุมชนมีการทำเกษตรอินทรีย์
ตัวชี้วัด : 1. มีโรงปุ๋ยในชุมชน 1 แห่ง 2. แกนนำได้เรียนรู้การทำปุ๋ยหมักแห้ง/หมักน้ำชีวภาพ จำนวน 20 คน 3. มีแปลงนาแบบเกษตรอินทรีย์ใช้วิธีทำนาโยน จำนวน 20 ไร่ 4. มีธนาคารพันธ์ข้าว 1 แห่ง

 

 

1มีโรงปุ๋ย1แห่ง 2ชุมชนได้รู้จักการทำปุ๋ยหมักแห้งและทำนำ้หมักชีวภาพ 3ชุมชนรู้จักทำแปลงนาแบบเกษตรอินทรีย์ใช้วิธีทำนาโยน 4มีธนาคารพันธ์ข้าว1แห่ง

3 เพื่อให้มีกลไกการเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. มีคณะทำงาน 1 คณะโดยทีมงานคณะกรรมคุ้มครองผู้บริโภคหรือ อย.น้อยจากโรงเรียนวัดควนขี้แรด 2. มีการประชุมชาวบ้านและคณะทำงานต่อเนื่องทุกเดือน

 

 

1มีคณะทำงาน 1 คณะ 2

4 เพื่อการบริหารจัดการและติดตามประเมินผลโครงการ
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับสสส.และสจรส.

 

 

5 ครั้ง