แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ คนจงเก สร้างบ้านให้ปลา ด้วยป่าริมเล ”

บ้านจงเก หมู่ที่ 3 ตำบลจองถนน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายคล้อย เเก้วภักดี

ชื่อโครงการ คนจงเก สร้างบ้านให้ปลา ด้วยป่าริมเล

ที่อยู่ บ้านจงเก หมู่ที่ 3 ตำบลจองถนน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 57-01446 เลขที่ข้อตกลง 57-00-0948

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2557 ถึง 30 มิถุนายน 2558


กิตติกรรมประกาศ

"คนจงเก สร้างบ้านให้ปลา ด้วยป่าริมเล จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านจงเก หมู่ที่ 3 ตำบลจองถนน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
คนจงเก สร้างบ้านให้ปลา ด้วยป่าริมเล



บทคัดย่อ

โครงการ " คนจงเก สร้างบ้านให้ปลา ด้วยป่าริมเล " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านจงเก หมู่ที่ 3 ตำบลจองถนน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 57-01446 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2557 - 30 มิถุนายน 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 209,200.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 70 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้คนในชุมชนเห็นความสำคัญในการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรชายฝั่งทะเลหน้าบ้านจงเก
  2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมในปฏิบัติการการเฝ้าระวังป้องกัน ฟื้นฟูและพัฒนาทะเลสาบหน้าบ้านจงเก
  3. พัฒนากลไกการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝั่งให้มีกฏระเบียบที่ชัดเจนที่เกิดจากการวางแผนของคนในชุมชน
  4. เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามผลประเมินโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศโครงการ สจรส.

    วันที่ 15 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำความเข้าใจรายละเอียดของโครงการฯ

    ฝึกการกรอกข้อมูลผ่านเว็ปไซด์

    ลงปฏิทินปฏิบัติงานของเเต่ละโครงการ

    รายงานผลการดำเนินงานข้อมูลผ่านเว็ปไซด์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ ได้ความรู้จากการฝึกอบรมที่สามารถนำไปปฏิบัติการได้จริงในพื้นที่ เเละสามารถประเมินจุดเด่น จุดด้อยของตนเอง ในด้านของการใช้เทคโนโลยี สื่อสารได้

    1. สามารถวางแผนกิจกรรมที่จะดำเนินงานของโครงการได้อย่างดี  เพื่อนำไปปฏิบัติในพื้นที่ได้อย่างตามแผนที่วางไว้

     

    2 2

    2. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อเเบ่งบทบาทหน้าที่

    วันที่ 18 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเเต่งตั้งคณะทำงานในพื้นที่ เเบ่งบทบาทหน้าที่ในการดำเนินงานเเต่ละฝ่าย เเลกเปลี่ยนหน้าที่ บทบาทการทำงานของโครงการ ชี้เเจงรายละเอียดของโครงการ วางแผนการทำงานลงปฏิทินการทำงานโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จำนวนคณะทำงานโครงการทั้งหมด 6  คน เเละเเต่ละคนมีบทบาทหน้าที่ในการช่วยเหลือกันโดยคคณะทำงานในเเต่ละฝ่ายจะมีผู้ช่วยจำนวน  1  คน

    กติกาในการทำงานโครงการ คือ จะเป็นการวางแผนการทำงานเในเเต่ละเดือน เพื่อลงปฏิทินให้ตรงกับความเป็นจริงในการดำเนินงาน

     

    12 11

    3. ประชุมคณะทำงานประจำเดือน มิถุนายน

    วันที่ 25 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการร่วมกันประเมินกิจกรรมการทำงานที่ผ่านมาของโครงการ เพื่อสรุปเเละปรับปรุงในการดำเนินงานโครงการต่อไป วางแผนการทำงานโครงการ เพื่อให้เป็นไปตามแผนงานตามไตรมาสที่วางไว้ คณะทำงานมีการเเสดงความคิดเห็นเรื่องของเเนวทางการทำงานของโครงการในพื้นที่ ต.จองถนน จ.พัทลุง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทบทวนแผนการดำเนินงานที่ผ่านมาของโครงการ คือ การเเบ่งบทบาทหน้าที่ในการทำงานของคณะทำงานโครงการให้เกิดความชัดเจน เพื่อเป็นประโยชน์สในการเเบ่งหน้าที่ของคณะทำงานที่ชัดเจน วางแผนการทำงานเเบ่งบทบาทหน้าที่ในการเตรียมตัวเปิดโครงการ สจรส.ในพื้นที่ ต.จองถนน โดยเเบ่งกลุ่มเป้าหมายในการประสานงานผู้เข้าร่วมอย่างชัดเจน

     

    12 0

    4. ทำความเข้าใจ เปิดตัวโครงการฯ

    วันที่ 8 กรกฎาคม 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เเนะนำคณะทำงานโครงการ
    2. บอกเล่ารายละอียดที่มา ที่ไปของโครงการ สร้างบ้านให้ปลา ด้วยป่าริมเล ให้กับเเกนนำในชุมชนได้ทราบ
    3. ชี้เเจงรายละเอียดโครงการเเละงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุน จากสสส. 4.เเลกเปลี่ยน เสนอเเนะต่อโครงการฯ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจวัตถุประสงค์ ความเป็นมาของโครงการเเละสามารถบอกเล่าแผนงาน การทำงานของโครงการได้ ชุมชนพร้อมให้ความช่วยเหลือโครงการเเละมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมให้เป็นไปตามแผนงานที่วางไว้

     

    35 41

    5. ประชุมคณะทำงาน เดือน กรกฏาคม

    วันที่ 25 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปการดำเนินงานที่ผ่านมาของโครงการ วางแผนการทำงานต่อภายใต้โครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เเผนการทำงานที่ชัดเจนโดยมีการลงปฏิทินการทำงานของพื้นที่อย่างชัดเจน มีแผนงาน ทิศทางการทำงานของโครงการในเดือน  สิงหาคม  เเละได้ทบทวนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ เพื่อหาเเนวทางเเก้ไขการทำงานที่ผ่านมา

     

    12 12

    6. เบิกเงินเปิดบัญชีโครงการ สร้างบ้านให้ปลา ด้วยป่าริมเล

    วันที่ 30 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เปิดบัญชชีธนาคารกรุงไทยของโครงการ สร้างบ้านให้ปลา ด้วยป่าริมเล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำเงินเปิดบัญชีโครการ สร้างบ้านให้ปลา ด้วยป่าริมเล จำนวน 500 บาท 

     

    1 1

    7. พัฒนาศักยภาพเเละติดตามรายงานผลโครงการ

    วันที่ 7 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวทีทำความเข้าใจ ทบทวนการรายงานโครงการ. รายงานกิจกรรม รวมถึงการรายงานทางการเงิน. และรูปแบบการเขียนรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ทบทวน ทำความเข้าใจ แนวทางการทำงานโครงการที่ชัดเจนขึ้น ในเรื่องของรูปแบบการเขียนรายงาน และรูปแบบการรายงานการเงิน และปฎิทินการดำเนินโครงการ

     

    3 3

    8. ประชุมคณะทำงาน เดือน ส.ค 57

    วันที่ 25 สิงหาคม 2557 เวลา 11:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.สรุปการดำเนินงานของโครงการภายใต้เเผนงานกิจกรรม 2.รายงานความก้าวหน้าของโครงการ 3.ทำความเข้าใจรายละเอียด งบประมาณกิจกรรมโครงการ 4.วางแผนการทำงานโครงการ ในเดือน ก.ค - ก.ย 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีแผนงาน กิจกรรมที่จะทำในเดือน ต.ค คือ เรื่องของการเก็บข้อมูลเเบบสอบถาม โดยกำหนดระยะเวลาในการเก็บ จำนวน  15  วัน  โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ เเกนนำเยาวชนในพื้นที่บ้านจงเก
    รายละเอียดของการเเก็บเเบบสอบถาม คือ  เเบบสอบถามทั้้งหมด 50  ชุด  โดยเเบ่งเก็บพื้นที่ ม.1 จำนวน 20  ชุด เเละ พื้นที่ ม. 3 จำนวน 30 ชุด หลังจากนั้นก็จะเป็นการรวบรวมข้อมูลเเบบสอบถามเเละเก็บข้อมูลซ่อมในส่วนที่ไม่สมบูรณ์

     

    12 14

    9. เวทีติดตามประเมินผล การดำเนินงานเข้าร่วมภายใต้เครือข่าย เขา นา เล ครั้งที่1

    วันที่ 3 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ลงทะเบียนร่วมงานรณรงค์ รวมพลคนรักษ์ลุ่มน้ำเลสาบ ครั้งที่ 7
    2. ร่วมกิจกรรมเสวนาเด็กเเละเยาวชน 3. เเลกเปลี่ยนประเด็นการเสวนาในงาน เเละร่วมงานเเสดงสินค้า เขา นา เล
    4. ร่วมเดินรณรงค์ พร้อมกับเครือข่าย เขา นา เล เพื่อการประชาสัมพันธ์เครือข่าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เเกนนำเครือข่าย สจรส.ในพื้นที่เเลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานร่วมกันของเครือข่าย เขา นา เล 2.เกิดการทำงานร่วมกันระหว่าง เขา นา เล เพื่อเชื่อมร้อยประสานการทำงานต่อไปในอนาคต 3. เเกนนำที่เข้าร่วมมีการเเลกเปลี่ยน การทำงานเเละเห็นรูปแบบการทำงานที่ขับเคลื่อนภายใต้นโยบายที่สอดคล้องกับคนเมืองลุง 4. เด็กนักเรียนเข้าร่วมเเละสามารถบอกเล่าเรื่องราวการทำงานของเครือข่ายชุมชนคนรักษ์ลุ่มน้ำ เขา นา เล

     

    15 36

    10. วางแผน ออกเเบบข้อมูล เพื่อเก็บเเบบสอบถาม ครั้งที่ 1

    วันที่ 12 กันยายน 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประสานผู้เข้าร่วมทั้งคณะทำงานเเละเเกนนำในพื้นทีท
    2. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วม
    3. พูดคุยรูปแบบของการออกเเบบสอบถาม
    4. เเลกเปลี่ยนข้อมูล/สรุปเเบบสอบถาม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้เเบบสอบถาม จำนวน 1 ชุด โดยมาจากการพูดคุยเเลกเปลี่ยนเเละข้อสรุปจากการประชุม
    2. เนื้อหาในการเก็บข้อมูล ครอบคลุมเรื่องราวของชาวประมงในพื้นที่
    3. จากการประชุมในการเก็บเเบบสอบถามจะเก็บจำนวน 50 ชุด โดยเเบ่งเป็น พื้นที่บ้านจองถนน ม.1จำนวน 20 ชุดเเละพื้นที่บ้านจงเก ม.3 จำนวน 30 ชุด
    4. ในการเก็บข้อมูลจะเเบ่งบทบาทให้กับนักเรียนเเละเยาวชน ในพื้นที่ร่วมกับคณะทำงานร่วมกันเก็บข้อมูล 5.  กำหนดส่งเเบบสอบถามทั้งหมด ภายในวันที่ 15 ตุลาคม 2557 เพื่อรวบรวมเอกสารเเบบสอบถาม
    5. ตรวจสอบข้อมูลเเบบสอบถามทั้งหมด เพื่อดูข้อมูลเเละเก็บเเก้ไขข้อมูล เเบบสอบถามซ่อมเเซม

     

    12 15

    11. จัดทำป้ายโครงการเเละป้ายห้ามสูบบุหรี

    วันที่ 16 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เตรียมรูปภาพเเละข้อความในการเขียน ออกเเบบโครงการในพื้นที่ ต. จองถนน จำนวน 1 ป้าย 2. ออกเเบบป้าย เขตปลอดบุหรี่ จำนวน 1 ป้าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีป้ายโครงการ" สร้างบ้านให้ปลา ด้วยป่าริมเล ". จำนวน 1 ป้าย
    2. มีป้ายงดสูบบุหรี่ จำนวน 1 ป้าย

     

    0 0

    12. ประชุมคณะทำงาน เดือน ก.ย 57

    วันที่ 25 กันยายน 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประสานคณะทำงานในพื้นที่โครงการ
    2. ออกเเบบเนื้อหาในการประชุม
    3. ปรึกษาหารือ/ เเลกเปลี่ยนการทำงานในพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วม
    2. เเลกเปลี่ยนผลการดำเนินงานตามแผนงานที่ดำเนินการมาของโครงการ
    3. วางแผนรูปเเบบการดำเนินงานของโครงการในเดือน ตุลาคม
    4. สรุปผลการดำเนินงาน/ พูดคุยร่วมกับคณะทำงานในพื้นที่

     

    12 0

    13. ประชุมวางแผนเก็บข้อมูลเเบบสอบถาม ครั้งที่ 2

    วันที่ 30 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม นำข้อมูลเเบบสอบถามที่ได้มีการพูดคุยเเล้วในครั้งที่  1 มาเพิ่มเติมข้อมูลอีกครั้ง พูดคุยเเลกเปลี่ยนการเก็บข้อมูลเเบบสอบถามเพิ่มเติม สรุปเเบบสอบถามเพื่อนำไปใช้
    ปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เเบบสอบถามที่มีความถูกต้องเเละมีรายละเอียด เนื้อหา การเก็บข้อมูลที่ครบถ้วนเเละสามารถนำไปใช้ในการสำรวจเเบบสอบถามได้ มีเเบบสอบถามที่มีเนื้อหาครบถ้วนเเละสามารถเข้าใจในการตอบเเบบสอยถามได้ดี

     

    20 23

    14. ศึกษาดูงาน การจัดการทรัพยากรชายฝั่งอย่างมีส่วนร่วม

    วันที่ 8 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประสานงานพื้นที่บ้านช่องฟืน เพื่อศึกษาดูงาน
    2. เเลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงานของชุมชน
    3. ร่วมซักถาม ประเด็นการทำงานของชุมชนในด้านการอนุรักษ์
    4. กล่าวขอบคุณ มอบของที่ระลึกให้กับเเกนนำพื้นที่บ้านช่องฟืน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เเลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงานกับชุมชนบ้านช่องฟืน ตั้งเเต่ก้าวเเรกของการรวมกลุ่มของชุมชน
    2. ชุมชนที่เข้าร่วมเเลกเปลี่ยนประสบการณ์การรวมกลุ่มของออมทรัพย์ฯในพื้นที่ทะเลสาบ
    3. ทราบชุดประสบการณ์ ความสำเร็จ ปัญหา เเละเเนวทางเเก้ปัญหาของชุมชน
    4. ได้เเนวทางในการรวมกลุ่มเเละการบริหารจัดการทรัพยากร ด้านการอนุรักษ์ ประมงอาสา เเละวิทยุเฝ้าระวังของพื้นที่บ้านช่องฟืน
    5. สามารถนำประสบการณ์เเละความสำเร็จมาปรับใช้กับพื้นที่ของตนเอง

     

    15 20

    15. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเเบบสอบถาม

    วันที่ 15 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เเบบสอบถามจำนวน 50 ชุด
    2. เเบ่งเเบบสอบถามให้เยาวชนเเละคณะทำงานร่วมกันเก็บ
    3. ชี้เเจงรายละเอียดการเก็บเเบบสอบถามให้เยาวชนได้เข้าใจ
    4. กำหนดวันส่งเเบบสอบถามวันที่ 15 ตุลาคม 57

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เยาวชนเเละเเกนนำในพื้นที่เข้าใจเเละสามารถเก็บเเบบสอบถามได้อย่างถูกต้อง
    2. เยาวชนฝึกทักษะการเก็บข้อมูลชุมชน เพื่อเป็นประสบการณ์ในการเรียนรู้ นอกเหนือจากห้องเรียน
    3. เด็กเเละเยาวชนในพื้นที่ เรียนรู้ข้อมูล ของชุมชนประมง จากการเก็บข้อมูลประมงในพื้นที่

     

    20 24

    16. วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากเเบบสอบถาม

    วันที่ 22 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม เเจกเอกสารประกอบการประชุม นำข้อมูลเเบบสอบถามที่ได้มาตรวจดูความถูกต้อง ้ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ มาทบทวนเนื้อหาเเละข้อมูลของชาวประมง สรุปการประชุมเเละเเลกเปลี่ยนซักถาม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลเอกสาร 1 ชุด จากการเก็บข้อมูลเเบบสอบถามในพื้นที่ของผู้ประกอบอาชีพประมง ชาวบ้านในพื้นที่ร่วมมือกันในการตอบข้อมูลเเบบสอบถามเเละให้ความคิดเห็นต่อการเก็บข้อมูล คณะทำงานที่เก็บข้อมูลได้เห็นรูปเเบบของการทำงานของชุมชนเพิ่มมากยิ่งขึ้น

     

    50 52

    17. ประชุมคณะทำงาน เดือน ต.ค 57

    วันที่ 25 ตุลาคม 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประสานงานผู้เข้าร่วมประชุม 2.วางกรอบรายละเอียดในการพูดคุย 3.ปรึกษาหารือเเลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการดำเนินโครงการ 4.การดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการวางแผนการทำงานในเดือนพ.ย57โดยจะมีกิจกรรมอบรมการทำ EM Ball. โดยเป็นการฝึกอบรมเเละโยนลงสู่ทะเลครั้งที่1 เเละจะมีการนัดเตรียมงานกันอีกครั้งในต้นเดือนพ.ย57 คณะทำงานมีการสรุปการทำงานของเดือนที่ผ่านมาโดยมีชีอเสนอเเนะในเรื่องของการเคลียร์ค่าใช้จ่ายให้เสร็จหลังการประชุมในเเต่ละครั้ง

     

    12 12

    18. ประชุมคณะทำงานประจำเดือนพ.ย.57

    วันที่ 8 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงทะเบียนผู้เข้าร่วม เตรียมเอกสารในการประชุม เริ่มการประชุมเเละมีการพูดคุยสรุปงานเเละวางแผนการทำงานโครงการต่อ เเลกเปลี่ยนซักถามเเละสรุปการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปการดำเนินงานของโครงการที่ได้ดำเนินการโดยคณะกรรมการทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกันด้วยดี วางแผนงานการดำเนินงานของโครงการในพื้นที่โดยดูตามความเหมาะสมของโครงการฯเเละช่วงฤดูกาลด้วย

     

    12 18

    19. ติดตามการดำเนินโครงการโดยพี่เลี้ยงประจำจังหวัด

    วันที่ 12 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เตรียมเอกสาร การเงินเเละบัญชีโครงการเพื่อตรวจสอบ ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารบัญชี กรณีเกิดความผิดพลาดของเอกสารการเงินของโครงการจะต้องเเก้ไขให้ถูกต้อง ตรวจสอบเอกสารเเละสรุปการเงิน บัญชีโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ตรวจสอบรายละเอียดการเงินบัญชีโครงการ สร้างบ้านให้ปลา ด้วยป่าริมเล  เสร็จเรียบร้อยเเล้วเเละผู้รับผิดชอบโครงการ ตรวจสอบรายงานการปิดงวดที่ 1 ของโครงการเเละผู้รับผิดชอบโครงการเซ็นต์รับรอง

     

    2 2

    20. ทำความเข้าใจจัดหากล้าไม้ เพื่อเพาะพันธุ์

    วันที่ 18 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประสานเเกนนำเเละคณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรม เตรียมวาระในการประชุม เเบ่งบทบาทหน้าที่ของคณะทำงานเเละเเกนนำในพื้นที่ให้เกิดความชัดเจน เเลกเปลี่ยนเเละสรุปการประชุม ปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการวางแผนจัดหากล้าไม้ลำพูเพื่อการเพาะปลูก จำนวน  200  ต้น เเบ่งคณะทำงานโครงการช่วยกันจัดหาพันธ์ลำพู เพื่อเพาะปลูกในพื้นที่ที่มีโรงเรือนจัดเตรียมไว้ เยาวชนในพื้นที่ได้มีบทบาทในการร่วมกันเพาะพพันธ์กล้าาไม้ลพูในพื้นที่บ้านจงเก ต.จองถนน จ.พัทลุง

     

    20 17

    21. ทำความเข้าใจเตรียมปลูกต้นลำพู ในพื้นที่ บ้านจงเก

    วันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประสานงานผู้เข้าร่วมทั้งคณะทำงานเเละเเกนนำในพื้นที่บ้านจงเก จ.พัทลุง มีการเเบ่งบทบาทหน้าที่ทั้งคณะทำงานเเละเเกนนำในพื้นที่บ้านจงเก เเลกเปลี่ยนวางแนวทางในการจัดการกิจกรรมปลูกต้นลำพูในพื้นที่ บ้านจงเก จ.พัทลุง สรุปการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้มีการเเบ่งบทบาทหน้าที่โดยคณะทำงานจะรับผิดชอบเรื่องของการจัดหาพันธ์ลำพู เพื่อปลูกในพื้นที่ ม. 3 ต.จองถนน จ.พัทลุง พื้นที่ในการเพาะปลูกเเบ่งเป็น พื้นที่ คือ ม.3 บ้านจงเก และ ม.1 บ้านจองถนน จ.พัทลุง
    ระยะทางในการเพาะปลูก จำนวน 3 กิโลเมตร
    ลักษณะในการปลูกต้นลำพูจะมีไม้ค้ำยัน จำนวน  1 ด้น ต่อต้นลำพู 1  ต้น จำนวนต้นลำพูที่ปลูกทั้งหมด  300  ต้น

     

    20 20

    22. ประชุมคณะทำงานเดือน ธ.ค 57

    วันที่ 25 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงทะเบียนผู้เข้าร่วม เริ่มประเด็นการพูดคุยการดำเนินงานที่ผ่านมา  ปัญหา อุปสรรค เเละการเเก้ปัญหา วางแผนการดำเนินงานโครงการเเละเเบ่งบทบาทหน้าที่ สรุปการประชุม/ปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ที่ประชุมมีการวางแผนการทำงาน เพื่อให้เกิดความสะดวกในการดำเนินงาน คือ การเเบ่งบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการเเต่ละคนให้เกิดความชัดเจน เพื่อความสะดวกในการจัดกิจกรรมเเต่ละครั้ง วางแผนการดำเนินงานในเรื่องของการปลูกต้นลำพู โดยจะมีการขายรระยะเวลาในกรปลูก ในช่วงเดือนเมษายน 2558

     

    12 8

    23. คืนข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์เเบบสอบถาม

    วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำข้อมูลที่ได้จากเเบบสอบถาม เเจกให้กับผู้เข้าร่วมทุกคน เริ่มการระดมความคิดเห็น เสนอเเนะการรวบรวมข้อมูลเอกสาร เพิ่มเติมข้อมูลจากเอกสารเเละเสนอเเนะข้อมูล สรุปเเละประมวลผลการจัดทำเเบบสอบถาม ปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เห็นกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ที่เห็นเรื่องของการอนุรักษ์ทรัพยากรไม่ใช่เป็นเรื่องของบุคคลใดคนหนึ่ง เเต่ ทุกคนเริ่มมีความตระหนักในบทบาทของคนหาปลา เพิ่มมากขึ้น

     

    50 50

    24. ประชุมคณะทำงาน เดือน ม.ค 58

    วันที่ 22 มกราคม 2558 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม พูดคุยสรุปเนื้อหาของการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา วางแผนการดำเนินงานโครงการในเดือนต่อไป เลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการประชุม สรุปเเละปิดการประชุม


    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปการดำเนินงานโครงการในเดือนที่ผ่านมา ผลที่พบคือ การเเบ่งบทบาทหน้าที่ของคณะทำงานยังไม่ชัดเจน วางแผนการดำเนินงานในเเต่ละเดือน โดยคณะทำงานเเต่ละคนมีบทบาทหน้าที่ตามความถนัดของตนเอง คณะทำงานมีการพูดคุยเเเละเเบ่งบทบาทการทำงานที่ชัดเจนมากขึ้น

     

    12 9

    25. ประชุมทำแผนการจัดการทรัพยากร บ้านจงเก

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงทะเบียนผู้เข้าร่วม ชี้เเจงวัตถุประสงค์ของการดำเนินงานโครงการ เเลกเปลี่ยนข้อมูลที่ได้จากการเก็บเเบบสอบถาม เพิ่มเติม เนื้อหารายละเอียดของการดำเนินโครงการที่ได้จากเเบบสอบถาม สรุปการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการเพิ่มเติมข้อมูล เนื้อหาจากการเก็บข้อมูลเเบบสอบถามของชุมชนในพื้นที่ ได้ผลตอบรับจากการประชุมที่ชาวบ้านในชุมชนมีส่วนร่วมในการเเสดงความคิดเห็นของโครงการ จัดทำแผนที่ทรัพยากรในพื้นที่บ้านจงเก

     

    20 55

    26. ประชุมติดตามการดำเนินงานความคืบหน้าโครงการ ร่วมกับ สจรส.พัทลุง

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงทะเบียนผู้เข้าร่วม

    ชี้เเจงรายละเอียดของการจัดกิจกรรม

    เเลกเปลี่ยนการดำเนินงานโครงการของเเต่ละพื้นที่ จ.พัทลุง

    คัดเลือกโครงการของพื้นที่ จ.พัทลุง เพื่อการถอดบทเรียน ที่ได้จากการดำเนินโครงการ

    สรุปการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมสามารถบอกเล่าความคืบหน้าของการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ของตนเองได้

    เกิดการซักถาม บทเรียน ประสบการณ์ที่ได้จากการดำเนินงานของโครงการในพื้นที่

    ผู้เข้าร่วมเเต่ละโครงการ มีเเนวความคิดในการร่วมกับสร้างชุมชนของตนเองให้น่าอยู่เพื่อบ้านของตนเองที่ดีขึ้น

     

    2 4

    27. ประชุมคณะทำงานเดือน ก.พ 57

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงทะเบียนในการประชุม

    ชี้เเจงรายละเอียดของการดำเนินงานโครงการ

    พูดคุยเเลกเปลี่ยนการดำเนินงานของโครงการที่ผ่านมา

    วางแผนการดำเนินงานนเดือนต่อไป

    สรุปประชุม/ปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เเกนนำมีบทบาทเเละหน้าที่ในการดำเนินงานโครงการที่ชัดเจนขึ้น

    สรุปปัญหาของการประชุมโครงการคือ การสื่อสารของคณะทำงานที่ไม่ชัดเจนจึงทำให้เกิดความผิดพพลาดในเรื่องของระยะเวลาในการดำเนินงาน

    วางแผนในเรื่องของการจัดค่ายเยาวชน รูปแบบของกิจกรรมที่ดำเนินงาน

     

    12 8

    28. อบรมการทำ EM บอล

    วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประสานงานวิทยากรในการฝึกอบรม จำนวน 2 คน ซึ่งเป็นหมอดิน จ.พัทลุง

    ประสานเเกนนำ เยาวชน เเละคณะทำงานในพื้นที่เพื่อเข้าร่วมการอบรมทำ EM บอลในพื้นที่

    เริ่มฝึกอบรมในการทำ EM บอลในพื้นที่บ้านจงเก โดยการนำส่วนผสมที่ได้เตรียมไว้ นำมาคลุกเคล้าให้เข้ากัน  จากนั้นก็ให้เเกนนำเเละเยาวชนในพื้นที่ ร่วมกันปันเป็นก้อนกลมๆ  จำนวน 100 ลูก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เเกนนำในพื้นที่รวมทั้งผู้เข้าร่วมสามารถฝึกทำ EM บอลเองได้

    เพิ่มทักษะการทำ EM บอลให้เยาวชนในพื้นที่ได้ฝึกทำเองที่บ้าน

    ผู้เข้าร่วมสามารถนำความรู้ที่ได้จากการฝึกอบรมมาใช้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรในบ้านของตนเองได้

    เกิดความร่วมมือที่ดีของเยาวชนเเละเเกนนำในพื้นที่ในการร่วมกันดูเเลทรัพยากรหน้าบ้านของตนเอง

     

    40 41

    29. โยน EM Ball ครั้งที่ 1

    วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมในพื้นที่บ้านจงเก

    ชี้เเจงรายละเอียดของการโยนEM บอล

    สอนทักษะการโยน EM บอล

    คณะทำงานเเละเยาวชนในพื้นที่ร่วมกันปั้น EM บอลในพื้นที่เพื่อโยนในทะเลสาบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมได้ทราบความจำเป็นในการปรับสภาพน้ำของทะเลสาบในพื้นที่ทะเลสาบ

    สามารถฝึกทำ EM บอลเพื่อปรับสภาพน้ำในพื้นที่ได้เอง

    เพื่อสามารถฝึกเยาวชนให้ปั้น EM บอลเเละศึกษาเทคนิก ส่วนผสมของการทำ EM บอล

    สามารถนำไปโยนในทะเลสาบเพื่อปรับสภาพน้ำได้ เเละเป็นการเพิ่มเเหล่งอาหารใหกับสัตว์น้ำในพื้นที่ทะเลสาบได้

     

    30 17

    30. ฝึกอบรมวิทยุเฝ้าระวังในพื้นที่ ต.จองถนน

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงทะเบียนผู้เข้าร่วม เเลกเปลี่ยนการใช้วิทยุของเครือข่ายสมาคมวิทยุเฝ้าระวังในพื้นที่ ประโยชน์ของการใช้วิทยุเฝ้าระวังในพื้นที่ ต้นน้ำ กลางน้ำ  ปลายน้ำ ฝึกการใช้วิทยุเฝ้าระวังของเครือข่าย สรุปเเละปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมเข้าใจเเละรู้เเนวทางการใช้เครื่องมือวิทยุสื่อสารเฝ้าระวังในพื้นที่  โดยสามารถใชในการออกตรวจตราในทะเลสาบ ระหว่างที่ทำการประมง

    สามารถใช้วิทยุสื่อสารเฝ้าระวังในทางที่ถูกต้อง รวมทั้งสามารถเป็นสื่อในการติดต่อสื่อสารกับเครือข่ายวิทยุอื่นๆ ได้เป็นอย่างดี

    ได้เพิ่มทักษะการใช้วิทยุให้เกิดความชำนาญในการใช้งานมากยิ่งขึ้น

     

    5 3

    31. ประชุมคณะทำงาน เดือน มี.ค 57

    วันที่ 7 มีนาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม สรุปปัญหา ปลการดำเนินงานที่ผ่านมา วางแผนการดำเนินงานของโครงการต่อ ตามรายละเอียดของโครงการที่วางไว้ สรุปเนื้อหาการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีการสรุปการดำเนินงานที่ผ่านมาของโครงการ โดยคณะกรรมการร่วมกันเเสดงความคิดเห็น เเละร่วมกันเเก้ปัญหาของกิจกรรมที่่ผ่านมา

    2. วางแผนการทำงาน โดยในเดือน เมษายน จะมีการปลูกป่าลลำพูเเละต้นลาโพ  เพื่อเพิ่มปริมาณพื้นที่ป่าให้กับสัตว์น้ำในพื้นที่หน้าบ้านจงเก จ.พัทลุง

    3. คณะทำงานเเบ่งบทบาทการทำงานอย่างชัดเจน เพื่อง่ายต่อการติดตามงานในพื้นที่

     

    12 8

    32. จัดทำป้ายรณรงค์ พื้นที่ปลูกป่า บ้านจงเก

    วันที่ 26 มีนาคม 2558 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำป้ายเขตอนุรักษ์ จำนวน 1 ป้าย ปักลงไปในทะเลสาบหน้าบ้าน บริเวณที่มีการปลูกป่าริมเลไว้เเล้ว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 1 ป้าย  เพื่อเผยเเพร่การทำงานของหน่วยงานที่สนับสนุนโครงการ

     

    100 100

    33. ประชุมคณะทำงาน เดือน เม.ย 57

    วันที่ 17 เมษายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม สรุปผลการดำเนินงานโครงการ วางแผนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่บ้านจงเก สรุปผลการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานมีเเนวทางในการร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรในพื้นที่หน้าบ้านได้เป็นอย่างดี เเละจากการดำเนินงานที่ผ่านมา หลายๆกิจกรรมทำให้เห็นกระบวนการดำเนินงานของเด็ก เยาวชนในพื้นที่ที่ร่วมกันจัดการระบบการทำงานของทะเลหน้าบ้านของตนเองอย่างรับผิดชอบ

     

    12 7

    34. กิจกรรมปลูกป่าริมเล "สร้างบ้านให้ปลา ด้วยป่าริมเล"

    วันที่ 23 เมษายน 2558 เวลา 09.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์เพื่อเตรียมพร้อมในการลงพื้นที่ปลูกป่า
    เเบ่งกลุ่มผู้เข้าร่วมให้ลงเรืออย่างเหมาะสม เริ่มมีการปลูกป่าบริเวณหน้าบ้านจงเก
    สรุปผลการดำเนินกิจกรรม ปลูกป่าริมเล โดยคณะทำงานเเละผู้เข้าร่วมกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เกิดการมีส่วนร่วมจากการทำงานของหน่วยงานในพื้นที่เเละคณะทำงานที่มีความร่วมมือกันด้วยดี
    2. เห็นภาคีความร่วมมือจากหลายๆหน่วยงานที่มีความช่วยเหลือกัน
    3. เกิดการเชื่อมร้อยการทำงานในพื้นที่
    4. มีการขับเคลื่อนงานอย่างเป็นระบบเเละสามารถร่วมกันจัดการระบบการทำงานของชุมชนได้เป็นอย่างดี

     

    50 56

    35. ติดตามประเมินผลการปลูกลำพู ครั้งที่ 1

    วันที่ 29 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พูดคุยวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรมประเมินผล ลงพื้นที่ในการสำรวจการเจริญเติบโตของต้นลำพูที่ปลูกไว้ในพื้นที่ ม. 3
    สรุปการเเนวโน้ม ของการเจริญเติบโตของลำพู ปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการสำรวจเเละประเมินการเจริญเติบโตของต้นลำพูในพื้นที่ ม. 3 บ้านจงเก ผลปรากฏว่า ต้นลำพูที่ปลูกเมื่อเดือน เมษายน 58 อัตราการรอดของลำพู 90 เปอร์เซ็นต์ เเละยังมีต้นลำพูที่ต้องซ่อมเเซม จำนวน 30 ต้น
    โดยมติที่ประชุม จะมีการซ่อมเเซมต้นลำพูให้เเล้วเสร็จในวันที่ 16 พ.ค 58 โดยคณะทำงานเเละเยาวชนรวมถึงเเกนนำในพื้นทีจะมีการไปหาต้นลำพูเพื่อมาซ่อมเเซมในวันดังกล่าว 

     

    17 17

    36. เพาะพันธ์กล้าไม้ริมเล บ้านจงเก

    วันที่ 4 พฤษภาคม 2558 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์ในการเพาะพันธ์ุกล้าไม้ริมเล
    ประสานผู้เข้าร่วมในการทำกิจกรรม ทีมคณะทำงานเเละเเกนนำร่วมกันเพาะพันธ์ุกล้าไม้ริมเล สรุปการเพาะพันธ์ุกล้าไม้เเละวางแผนการติดตามการเจริญเติบโตของพันธ์ุไม้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  เเกนนำ คณะทำงาน เเละเยาวชนในพื้นที่มีความเข้าใจเเละตระหนักในการร่วมกัน เพาะพันธ์กล้าไม้ริมเล เนื่องจากในปัจจุบันไม้ริมเลมีปริมาณจำนวนน้อยลงเรื่อยๆ คณะทำงานในพื้นที่จึงร่่วมกันหาเเนวทางในการรักษาเเละอนุรักษ์พันธ์ไม้ริมเล เพื่อให้ลูกหลานได้รู้จักต่อไป

    2 เกิดการทำงานที่คนในชุมชนมีความพร้อมในการร่วมกันอนุรักษ์พันธ์ไม้ริมเลในพื้นที่

     

    20 24

    37. ประชุมคณะทำงาน เดือน พ.ค 58

    วันที่ 6 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงทะเบียนผู้เข้าร่วม เริ่มการประชุมโดยผู้รับผิดชอบโครงการ สรุปการดำเนินงานที่ผ่านมาของโครงการ วางแผนการดำเนินงานต่อของโครงการในเดือนต่อไป ที่ประชุมมีการเเลกเปลี่ยน/เสนอเเนะการดำเนินงานของโครงการ ปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการสรุปการดำเนินงานของโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อคณะทำงานโครงการโดย มีการเเบ่งรายละเอียดของกิจกรรมโดยมีการเเบ่งหน้าที่ของคณะทำงานที่ชัดเจนโดยคณะทำงานนเเต่ละคนมีบทบาทที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น

     

    12 11

    38. กิจกรรมโยน EM บอล ครั้งที่ 2

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้เข้าร่วมลงทะเบียน เเบ่งกลุ่มเเกนนำ เพื่อร่วมกันปั้นก้อน Em Ball เริ่มนำส่วนผสมต่างๆในการทำ Em Ball มาผสมรวมกันเเละรวมให้เข้ากัน ปั้นเป็นก้อนเเละวางตากเเดดไว้ 30 นาที นำEm Ball ที่ปั้นเสร็จเเล้วโยนในทะเลสาบหน้าบ้านจงเก สรุปผลการโยน Em Ball ในทะเลสาบหน้าบ้านจงเก 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เยาวชนในพื้นที่มีคามรู้ในการนำน้ำหมักมาผสมกันเเละมีการจดรายละเอียดขั้นตอนการทำโดยเยาวชนสามารถนำกลับไปทำเองที่บ้านได้ เพื่อปรับสภาพน้ำในบ่อหน้าบ้านของตนเองได้

    เห็นการทำงานของชุมชนที่ร่วมกันอนุรักษ์เเละฟื้นฟูทรัพยกรในทะเลสาบหน้าบ้านจงเก 

     

    20 41

    39. ติดตามความคืบหน้าการปลูกลำพู ครั้งที่ 2

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2558 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประสานผู้เข้าร่วมในการติดตามการเจริญเติบโตของลำพู ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทำความเข้าใจกับเเกนนำเเละเยาวชน ถึงวัตถุประสงค์ของการติดตามการเจริญเติบโตของต้นลำพู สรุปเเละประเมินผลการติดตามการปลูกลำพูในพื้นที่ บ้านจงเก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการลงพื้นที่ติดตามการเจริญเติบโตของต้นลำพู พบว่า ต้นลำพูที่เพาะพันธ์ไว้ มีการล้มตายบ้าง เนื่องจากสภาพอากาศเเละการดูเเลที่ไม่ค่อยทั่วถึง จึงต้องมีการปลูกซ่อมเเซม เพื่อให้ได้จำนวนต้นลำพูที่เพิ่มขึ้นต่อไปในอนาคต

     

    20 17

    40. ปิดบัญชีโครงการ งวดที่ 2

    วันที่ 21 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายงานความก้าวหน้าของโครงการ ติดตามเเละตรวจสอบการดำเนินงานของโครงการ ตรวจสอบบัญชีโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พื้นที่เเละพี่เลี้ยงของโครงการฯ เเต่ละพื้นที่ประเมินการดำเนินงานของโครงการของตนเอง เพื่อให้สำเร็จลุล่วงภายในเดือน มิ.ย 58 นีี้ เพื่อทำการปิดโครงการฯของสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่

     

    3 5

    41. จัดค่ายเยาวชน อนุรักษ์เลหน้าบ้าน ครั้งที่1

    วันที่ 28 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมที่ได้ประสานไว้เเล้วของเเต่ละที่

    • ชี้เเจงรายละเอียดของกิจกรรมที่ดำเนินการในพื้นที่

    • พูดคุยรายละเอียดเเละวัตถุประสงค์ในการจัดค่าย

    • ให้นักเรียนเเละเยาวชนในพื้นที่ศึกษาระบบนิเวศน์หน้าบ้านของตนเองเพื่อมาเเลกเปลี่ยนกัน โดยเเบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มๆ เเละนำเสนอผลการเรียนรุ้ระบบนิเวศน์นอกห้องเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -  เห็นการทำงานร่วมกันระหว่างโรงเรียนเเละคนในพื้นที่รวมทั้งเเกนนำชาวบ้านที่ร่วมกันจัดกิจกรรมให้สามารถบรรลุผลตามเป้าหมายที่วางไว้

    • เกิดการทำงานร่วมกับหน่วยรักษาพันธุ์สัตว์ป่าในพื้นที่บ้านจงเก เทศบาลตำบลจองถนน โรงเรียนวัดเเตระ  โรงเรียนวัดเเหลมจองถนน ในการเข้าร่วมจัดกิจกรรมค่ายด้วยกัน

    • เยาวชนในพื้นที่มีความรู้เเละมีทักษะในการเข้าร่วมกิจกรรมที่ทางชุมชนได้จัดขึ้น โดยเป็นการเริ่มต้นการทำงานที่ดีเเก่ชุมชนเเละหน่วยงานในพื้นที่

     

    70 71

    42. ติดตามประเมินผลการปลูกลำพู ครั้งที่ 3

    วันที่ 2 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงพื้นที่สำรวจโดยเเบ่งกลุ่มเเกนนำเเละเยาวชนในพื้นที่ เพื่อสำรวจการเจริญเติบโตของลำพูในพื้นที่

    • สรุปการลงพื้นที่ประเมินผลการเจริญเติบโตของลำพูในพื้นที่บ้านจงเก ม. 3 ต.จองถนน  จ.พัทลุง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -  เยาวชนในพื้นที่มีความเข้าใจเเละตระหนักต่อการปลูกต้นลำพูโดยมองเห็นความสำคัญ คือ สามารถเป็นที่หลบภัยให้กับสัตว์น้ำ เป็นที่อยู่ของสัตว์น้ำวัยอ่อน  สามารถวางไข่บริเวณรากของลำพูได้ เเละที่สำคัญคือ ช่วยป้องกันการกัดเซาะพังทลายของหน้าดินเเละป้องกันลม ฝน ในตอนที่เกิดภัยพิบัติได้

    • การบันทึกการเจริญเติบโตของลำพู ทำให้เยาวชนเเละเเกนนำได้ทราบถึงลักษณะการเจริญเติบโตของลำพูในหลายๆลักษณะเช่น ต้นที่โตเต็มที่เเละลำพูชนิดไหนเหมาะกับสภาพน้ำเเบบใดบ้าง ทำให้ทราบบถึงชนิดเเละลักษณะของการปลูกต้นลำพู

     

    17 28

    43. กิจกรรมโยน EM บอล ครั้งที่ 3

    วันที่ 6 มิถุนายน 2558 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ฝึกเเกนนำเเล้วเยาวชนปั้น EM บอล  เพื่อให้เด็กสามารถนำกลับไปทำเองได้ที่บ้าน

    • นำ EM บอลที่ได้ไปโยนในทะเลสาบหน้าบ้าน ในพื้นที่ ม. 1,3 บ้านจองถนน อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง

    • สรุปการโยน EM บอลในพื้นที่ร่วมกับเเกนนำเเละเยาวชนในพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • การโยน EM บอล เป็นภูมิปัญญาที่สามารถเรียนรู้ได้ จึงทำให้เด็กเเล้วเยาวชนมีความสนใจในการร่วมกิจกรรม โดยเยาวชนสามารถทำเองได้ที่บ้าน

    • เยาวชนเเละเเกนนำมีความรู้เเละเข้าใจการอนุรักษ์ทรัพยากรหน้าบ้านของตนเองได้ โดยเเกนนำเเละเยาวชนสามารถเรียนรู้เองได้

     

    20 35

    44. จัดค่ายเยาวชนอนุรักษ์สิ่งเเวดล้อม ครั้งที่ 2

    วันที่ 10 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนเข้าร่วมของเยาวชนเเละเเกนนำในพื้นที่

    • ชี้เเจงรายละเอียดเเละวัตถุประสงค์ของการจัดค่ายฯ

    • เเนะนำผู้เข้าร่วมค่ายเยาวชนเเละปราชญ์ชาวบ้านทั้งในพื้นที่เเละพื้นที่ใกล้เคียง

    • เเกนนำเเละเยาวชนในพื้นที่ เข้าร่วมกิจกรรมของค่ายเเละร่วมเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

    • สรุปการดำเนินกิจกรรมค่ายเยาวชน โดยกลุ่มเยาวชนเเละเเกนนำในพื้นที่

    -ปิดค่ายเยาวชนรักษ์ทะเลสาบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -  เยาวชนในพื้นที่ได้เเลกเปลี่ยนเรื่องของภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนบ้านจองถนน โดยปราชญ์ชาวบ้าน

    • เยาวชนในพื้นที่มีความร่วมมือกันในการอนุรักษ์ทรัพยากรหน้าบ้านของตนเองร่วมกับเเกนนำเยาวชนในพื้นที่

    • ชุมชนเห็นความสำคัญในการร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรหน้าบ้าน

     

    30 50

    45. ประชุมคณะทำงานโครงการ เดือน มิถุนายน

    วันที่ 13 มิถุนายน 2558 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะะเบียนคณะทำงานเเละผู้ที่สนใจเข้าร่วมการประชุม

    -สรุปผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา

    -วางแผนการทำงานต่อของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานเเละเเกนนำของโครงการร่วมกันออกเเบบการทำงานของโครงการให้มีประสิทธิผลสูงสุดตามรายละเอียดของโครงการที่ได้วางแผนงานไว้

    -คณะทำงานมีการสรุปการทำงานของโครงการโดยคณะทำงานร่วมกันประเมินการทำงานของตนเองร่วมกับคณะทำงานท่านอื่นๆ

     

    15 21

    46. ประชุมวางแผนกฏกติกา ชุมชน

    วันที่ 16 มิถุนายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม

    • ชี้เเจงวัตถุประสงค์ของโครงการเเละกิจกรรมการจัดทำกติกาชุมชนบ้านจงเก

    • เเลกเปลี่ยนสถานการณ์ของพื้นที่บ้านจงเก เรื่องของการทำประมงหน้าบ้านเเละกฏกติกาเดิมของชุมชน

    • วางรูปเเบบรายละเอียดของการจัดทำแผนกติกาชุมชน โดยเเต่งตั้งคณะทำงานในเเต่ละหมู่บ้านโดยเริ่มจากหมู่ที่ 3 เเละ 1 เพื่อดูเเลเป็นประมงอาสาให้กับชุมชนร่วมกับเขตอนุรักษ์ในพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -เเต่งตั้งคณะทำงานของชุมชนในพื้นที่ ม. 1,3 บ้านจงถนน เพื่อเป็นประมงอาสา ช่วยดูเเลเฝ้าระวังทะเลหน้าบ้านจงเก

    • ชุมชนมีความเข้าใจในการร่วมกันปฏิบัติตามกฏกติกาของชุมชนที่มีการพูดคุยเเละปรับปรุงอย่างเคร่งครัด

    -เเกนนำชาวบ้านในพื้นที่ร่วมกันพูดคุยถึงปัญหาเเละผลกระทบของการทำประมงในพื้นที่ทะเลหน้าบ้าน บ้านจงเก

     

    25 42

    47. จัดทำรายงานปิดโครงการ

    วันที่ 19 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -จัดทำเอกสารการเงินของโครงการเเละรวบรวมเอกสารการเงินโครงการตั้งเเต่งวดที่1 เเละ 2 ของโครงการ "สร้างบ้านให้ปลา ด้วยป่าริมเล"

    • จัดทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการ

    -รายงานกิจกรรมการดำเนินงานโดยเสร็จสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -มีการรายงานสรุปโครงการ "สร้างบ้านให้ปลา ด้วยป่าริมเล " โดยคณะทำงานโครงการร่วมกันสรุปเเละประเมินผลการทำงานโครงการ เเละบอกเล่าความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการที่่ผ่านมา โดยเป็นที่พึงพอใจให้กับชาวบ้านในพื้นที่เเละคณะทำงาน 

     

    2 2

    48. ติดตามผลการดำเนินงานปิดโครงการร่วมกับพี่เลี้ยงประจำจังหวัด

    วันที่ 11 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการ เจ้าหน้าที่การเงิน คณะทำงานโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการได้จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ได้ครบทุกขั้นตอน โดยมี รายละเอียดแบบประเมินคุณค่า รายงานฉบับสมบูรณ์ รวมถึงการตรวจสอบเอกสารการเงิน ได้สมบูรณ์ ครบถ้วน

     

    3 4

    49. จัดทำภาพถ่ายกิจกรรมโครงการแนบรายงานปิดโครงการ

    วันที่ 11 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เรียบเรียงข้อมูลกิจกรรมที่ทำมาทั้งหมดในรอบปีที่ผ่านมา สรุปปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ป่าชายเลนเป็นไม้หลายชนิด เช่น ต้น ลำพู ค้นราโพ ต้นแสม ฯ เป็นไม้ทื่มีรากหยั่งลึก กว้างขวางลักษณะเช่นนี้จะช่วยเป็นเกาะกำบังป้องกันลมพายุทางทะเล และเป็นที่ทำมาหากินของประชาชนและยังเป็นที่อนุบาลสัตว์น้ำทะเลทั้งหลาย และจะมาเพาะพันธ์บริเวณชายฝั่้ง ตัวอ่อนจะอาศัยรากไม้ของป่าชายเลนเป็นเกาะคุ้มกันอันตราย และใช้เป็นแหล่งอาหาร จนกว่าตัวอ่อนจะเจริญเติบโตแข็งแรงพอที่จะออกสู่่ทะเลได้ เพืุ่อเพิ่มพื้นที่ป่าชายเลนให้มากขึ้น
    เพื่อสร้า่งความรักสามัคคีและสืบสานอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
    เพื่อเป็นการเรียนรู้ในระบบนิเวศ เพื่อเป็นที่ขยายพันธ์และเพิ่มปริมาณของประชากรสัตว์น้ำ เพื่อมิให้คลื่นกัดเซาะชายฝั่ง
    เพื่อใ้ห้ชุมชนมีความรู้มีความเข้าใจและตระหนักถึงหน้าที่และความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมของชุมชน เพื่อให้ชุมชนได้รู้จักแก้ปํญหาและปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม


     

    3 4

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1 สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้คนในชุมชนเห็นความสำคัญในการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรชายฝั่งทะเลหน้าบ้านจงเก
    ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1.1.คนในชุมชนมีความรู้และเข้าใจเห็นความสำคัญของการเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการแก้ไขปัญหาเลหน้าบ้านเสื่อมโทรมร้อยละ 50 ของคนในชุมชน ี 1.2.มีข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพประมงของชาวบ้านในพื้นที่ ม. 3 บ้านจงเก 1.3.ได้ชุดข้อมูลเเละแผนในการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝั่งทะเลฯ จำนวน 1 ชุด เชิงคุณภาพ 1.1 คนในชุมชนมีความตระหนักเเละสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการเก็บข้อมูลมาวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล 1.2 มีการไปเรียนรู้รูปธรรมความสำเร็จในการจัดการทรัพยากร ณ บ้านช่องฟืน ต.เกาะหมาก อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง

    1.ชุมชนมีความเข้าใจถึงระบบการทำงานของชุมชนที่ต้องมีการเอื้อเฟื้อกันในเรื่องของการดูเเลทรัพยากรของทะเลหน้าบ้าน


    2. เกิดการทำงานที่เห็นการมีส่วนร่วมของคตนในชุมชนเเละได้แประสบการณ์จากการศึกษาดูงาน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการกลับมาทำงานในพื้นที่ของตคนเองต่อไป

    2 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมในปฏิบัติการการเฝ้าระวังป้องกัน ฟื้นฟูและพัฒนาทะเลสาบหน้าบ้านจงเก
    ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 2.1. เพิ่มชนิดของไม้ป่าริมเล จำนวน 6 ชนิด จำนวน 300 ต้น ในพื้นที่บ้านจงเก ม. 3 ต.จองถนน อ.เขาชัยสน จ.พัทลุงในระยะทาง 3 กิโลเมตร 2.2 มีสื่อรณรงค์/ป้ายประชาสัมพันธ์ของพื้นที่บ้านจงเก 2.3 เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของสัตว์น้ำและปรับสภาพน้ำในทะเลสาบ โดยผลิต อีเอ็มบอล เพื่อปรับสภาพน้ำจำนวน 8,000 ลูก 2.4มีการขยายพันธ์กล้าไม้ริมเล จำนวน 6 ชนิดๆละ 100 ต้น รวมทั้งหมด 600 ต้น 2.5 มีแผนในการเฝ้าระวัง และมีชุดอาสาสมัครฯจำนวน 5 คน 2.6 มีกฏกติกาของชุมชนในการรักษาดูเเลพื้นที่เขตอนุรักษ์ บ้านจงเก เชิงคุณภาพ 2.1. เป็นที่อยู่ของสัตว์น้ำวัยอ่อนและป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลหน้าบ้าน 2.2. เพิ่มปริมาณพันธุ์ไม้หายากที่สามารถปลูกได้ในพื้นที่ริมทะเลสาบ เช่น ต้นลำพู ต้นจาก ต้นจิก ต้นปอ ต้นคุระ ต้นหว้า และมีกฏกติกาในการดูแลรักษาร่วมกัน 2.3 มีการอบรมเครือข่ายวิทยุสื่อสาร CB เพื่อเฝ้าระวังฯ/มีแผนที่ทรัพยากรที่คนในชุมชนร่วมกันกำหนด/มีกิจกรรมการเฝ้าระวังฯออกตรวจตราพื้นที่เขตอนุรักษ์ในทะเล
    1. เกิดข้อตกลง กติกาชุมชนที่ผ่านการพูดคุยจากพื้นที่เเละหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในเรื่องของการดูเเลรักษาทะเลหน้าบ้านจงเก เเละมีแผนการดูเเลทะเลสาบกหน้าบ้านอย่างต่อเนื่อง

    2. ชาวบ้านในพื้นที่สามารถจับสัตว์น้ำได้เพิ่มขึ้นเเละมีพันธ์ุไม้ริมเลเพิ่มขึ้นโดยในการปลูกป่าริมเล เเกนนำชาวบ้านได้มีการซ่อมเเซมอยู่ตลอด โดยให้เด็กเเละเยาวชนในพื้นที่ เข้าร่วมในการเพาะกล้าไม้

    3 พัฒนากลไกการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝั่งให้มีกฏระเบียบที่ชัดเจนที่เกิดจากการวางแผนของคนในชุมชน
    ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 3.1 มีคณะทำงานจำนวน12คน มีการประชุมร่วมกันอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อวางแผนติดตามการประเมินผลโครงการอย่างต่อเนื่อง 3.2 มีสรุปการเรียนรู้จากรูปธรรมความสำเร็จในการจัดการพื้นที่อนุรักษ์ บ้านจงเก เชิงคุณภาพ 3.1 เเกนนำชุมชนในท้องถิ่นเเละหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นกลไกในการดำเนินงาน 3.2 ยกระดับการทำงานอาสาสมัครเฝ้าระวังในพื้นที่/เพิ่มอาสาสมัครในชุมชน 3.3 มีการติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการฯ 4 เดือน/1ครั้ง

    มีคณะทำงานของโครงการทั้งหมด 12 คน โดยในการปฏิบัติจริง คณะกรรมการ จำนวน 8 คน เข้าร่วมในการดำเนินงานทุกครั้งเเละมีเเกนนำของชุมชนที่เกิดความสนใจในการทำงานร่วมกับกลุ่มคณะทำงาน ทำให้งานเกิดประสิทธิผลมากยิ่งขึ้นอีกทั้งหน่วยงานในพื้นที่ร่วมดกันส่งเสริมให้เกิดการทำงานที่ดีร่วมกับชุมชนบ้านจองถนน

    4 เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามผลประเมินโครงการ
    ตัวชี้วัด : 1. จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับสสส. และ สจรส.

    ในการประชุมเเต่ละครั้ง เเกนนำเเละคณะทำงานในพื้นที่ร่วมกันเเลกเปลี่ยนการดำเนินงานกับพี่น้องเครือข่ายอื่นๆ ทุกครั้ง เพื่อรายงานความก้าวหน้าของโครงการเเละบอกเล่าเรื่องราวการดำเนินงานที่เป็นประโยชน์ให้กับโครงการอื่นๆเเละเจ้าหน้าที่ สสส.ได้รับทราบเเละร่วมกันเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่่อเป็นประโยชน์ต่อไป

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้คนในชุมชนเห็นความสำคัญในการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรชายฝั่งทะเลหน้าบ้านจงเก (2) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมในปฏิบัติการการเฝ้าระวังป้องกัน ฟื้นฟูและพัฒนาทะเลสาบหน้าบ้านจงเก (3) พัฒนากลไกการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝั่งให้มีกฏระเบียบที่ชัดเจนที่เกิดจากการวางแผนของคนในชุมชน (4) เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามผลประเมินโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ คนจงเก สร้างบ้านให้ปลา ด้วยป่าริมเล

    รหัสโครงการ 57-01446 รหัสสัญญา 57-00-0948 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2557 - 30 มิถุนายน 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    มีความรู้ใหม่ ในเรื่องของการฝึกอบรมทำ EM บอล เพื่อปรับสภาพน้ำในพื้นที่ทะเลสาบหน้าบ้านจงเก

    พื้นที่ทะเลที่มีการโยน EM บอล มีปริมาณสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น เเละปรับสภาพน้ำให้เกิดความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

    เมื่อผ่านการฝึกอบรม ชุมชนสามารถรวมกลุ่มกันในการจัดทำEMบอลในการโยนลงไปในทะเลสาบได้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    1.ชุมชนมีความตระหนักในการร่วมกันดูเเลทรัพยกรในพื้นที่ทะเลสาบ

    2.มีความเข้าใจในการไม่ใช้เครื่องมือที่ทำลยล้าง เพราะจะมีผลต่อชีวิตของสัตว์น้ำวัยอ่อนในทะเลสาบ

    เครื่องมือในการใช้ประกอบอาชีพประมง เช่น อวน มีขนาดไม่ต้่ำกว่า 5 ซ.ม

    1.การออกกฏกติกาในชุมชน เพื่อให้เกิดการรับรู้เเละตระหนักในการใช้เครื่องมือในการทำมาหากิน

    1. มีการประกาศใช้กฏกติกาอย่างจริงจังในพื้นที่ ม.1 เเละม. 3 ต.จองถนน จ.พัทลุง
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    1.ครอบครัวที่อาศัยอยู่ติดกับชายฝั่งทะเล จะมีการปลูกป่ากันคลื่นลม บริเวณหน้าบ้านเเละพื้นที่ใกล้เคียง

    1. การร่วมกันปลูกป่าริมเลร่วมกัลบหน่วยงานที่รับผิดชอบในพื้นที่ เช่น เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าทะเลหลวง

    1.ปริมาณ ป่าริมเล เช่น ลำพู ลาโพ จาก เพิ่มมากขึ้นในพื้นที่ ม.1 เเละ ม. 3 ต.จองถนน จ.พัทลุง

    ให้หน่วยงานในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมของกิจกรรมด้านการอนุรักษ์สิ่งเเวดล้อมในพื้นที่บ้านจงเก คือ เทศบาลตำบลจองถนน เเละเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าทะเลหลวง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
    1. มีการจัดทำเขตอนุรักษ์ในพื้นที่ทะเล เพื่อเป็นเเหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้ำที่วางไข่ โดยมีการออกกฏกติกาของชุมชนที่ชัดเจนโดยผ่านกระบวนการการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

    มีแผนงานของชุมชนที่ชัดเจนในเรื่องของการจัดการทรัพยากร โดยมีแผนที่ทรัพยากรเเละกฏกติกาของชุมชนที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น

    ประกาศเป็นกฏกติกาของชุมชนในพื้นที่โดยผ่านกระทรวงเกษตรเเละสหกรณ์เป็นรูปธรรมที่ชัดเจน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    เกิดการทำงานร่วมกับ เทศบาลตำบลจองถนน เขตห้ามล่าพันธ์ุสัตว์ป่าทะเลหลวง  สมาคมรักษ์ทะเลไทย มูลนิธิเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มออมทรัพย์ในพื้นที่ทะเลสาบ

    ข้อมูลจากหน่วยงานที่หนุนเสริมทำให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนในพื้นที่

    สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานในชุมชนให้เกิดการทำงานเเบบบูรณาการกันได้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    เกิดการจัดการความรู้ของชุมชน โดยการเก็บข้อมูลผู้ประกอบอาชีพประมงในพื้นที่บ้านจงเก โดยมีฐานข้อมูลที่ได้จากเเบบสอบถามที่สามารถนำมาใช้เป็นฐานข้อมูลของชุมชนต่อไปได้

    ชุดข้อมูลเรื่องของการจัดการทรัพยากรในพื้นที่บ้านจงเก จำนวน 1 ชุด

    คืนข้อมูลที่ได้จากการเก็บข้อมูลให้กับผู้ประกอบอาชีพประมงได้เกิดการเติมเต็มข้อมูล

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    คนจงเก สร้างบ้านให้ปลา ด้วยป่าริมเล จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 57-01446

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายคล้อย เเก้วภักดี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด