stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ สานมือ รวมพลังสร้างสุขภาพบ้านหลาไม้ไผ่
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01448
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 พฤษภาคม 2557 - 19 มิถุนายน 2558
งบประมาณ 210,400.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายกฤษกร มาตีด
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ ประเทือง อมรวิริยะชัย
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 8 บ้านศาลาไม้ไผ่ ต.ท่าแค อ.เมือง จ.พัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.5278936833236,100.04760861397place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 พ.ค. 2557 15 ต.ค. 2557 20 พ.ค. 2557 5 พ.ย. 2557 84,160.00
2 16 ต.ค. 2557 15 พ.ค. 2558 6 พ.ย. 2557 12 ก.ค. 2558 105,200.00
3 16 พ.ค. 2558 19 มิ.ย. 2558 21,040.00
รวมงบประมาณ 210,400.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญและเกิดความตระหนักในผลกระทบของปัญหาโรคอ้วน

1.มีแบบสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบของปัญหาโรคอ้วน 1 ชุด 2.มีชุดข้อมูลเรื่องผลกระทบต่อสุขภาพของโรคอ้วนของคนในชุมชนบ้านหลาไม้ไผ่ 1 ชุด 3.มีประชาชนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ข้อมูลอย่างน้อย ร้อยละ 80 4.แกนนำและคณะทำงานได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างพื้นที่ 1 แห่ง 5.มีเมนูอาหารสำหรับคนโรคอ้วนและกลุ่มเสี่ยง 1 ชุด 6.มีท่าทางการออกกำลังกายสำคนโรคอ้วนและกลุ่มเสี่ยงตามวัยต่างๆ 1 ชุด

2 2.เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาโรคอ้วน

1.กลุ่มคนโรคอ้วนและกลุ่มเสี่ยงได้เข้าร่วมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อย่างน้อยร้อยละ 80 2.กลุ่มคนโรคอ้วนและกลุ่มเสี่ยง ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม จำนวน 6 ครั้ง 3.มีแปลงผักรวมขนาด 1 ไร่ จำนวน 1 แห่ง 4.มีผักสวนครัวรั้วกินได้ อย่างน้อย 50 หลังคาเรือน 5.มีการรณรงค์การออกกำลังกาย จำนวน 2 ครั้ง 6.ประชาชนในชุมชนได้เข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายอย่างน้อยร้อยละ 80 7.ประชาชนได้เรียนรู้ข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การกิน,การใช้ชีวิต,การออกกำลังกาย อย่างน้อยร้อยละ 80 8.กลุ่มคนโรคอ้วนมีรอบเอวลดลง ร้อยละ 80

3 เพื่อส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพกลไกในการบริหารจัดการปัญหาโรคอ้วน

1.คณะทำงานมีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 2.มีแผนการเฝ้าระวัง  3.มีมาตรการทางสังคม อย่างน้อย 3 เรื่อง -มาตรการเรื่องการดื่มน้ำอัดลม -มาตรการใช้ถุงพลาสติกใส่ข้าวในงาน -มาตรการการทำอาหารลดหวาน มัน เค็ม ในงานของหมู่บ้าน

4 เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมิณผล

จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส.และสจรส.

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2557 16:58 น.