แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญและเกิดความตระหนักในผลกระทบของปัญหาโรคอ้วน
ตัวชี้วัด : 1.มีแบบสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบของปัญหาโรคอ้วน 1 ชุด 2.มีชุดข้อมูลเรื่องผลกระทบต่อสุขภาพของโรคอ้วนของคนในชุมชนบ้านหลาไม้ไผ่ 1 ชุด 3.มีประชาชนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ข้อมูลอย่างน้อย ร้อยละ 80 4.แกนนำและคณะทำงานได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างพื้นที่ 1 แห่ง 5.มีเมนูอาหารสำหรับคนโรคอ้วนและกลุ่มเสี่ยง 1 ชุด 6.มีท่าทางการออกกำลังกายสำคนโรคอ้วนและกลุ่มเสี่ยงตามวัยต่างๆ 1 ชุด

 

 

  1. เกิดชุดข้อมูลเรื่องผลกระทบต่อสุขภาพของโรคอ้วน จำนวน 1 ชุด
  2. ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมเรียนรู้ข้อมูลร้อยละ 80
  3. แกนนำและคณะทำงานร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1 ครั้ง
  4. มีเนูอาหารสำหรับคนอ้วนและกลุ่มเสี่ยง 1 ชุด 5.มีการกำหนดทาทางการออกกำลังกาย 2 แบบ คือ แอโบิค และโยคะ
2 2.เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาโรคอ้วน
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มคนโรคอ้วนและกลุ่มเสี่ยงได้เข้าร่วมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อย่างน้อยร้อยละ 80 2.กลุ่มคนโรคอ้วนและกลุ่มเสี่ยง ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม จำนวน 6 ครั้ง 3.มีแปลงผักรวมขนาด 1 ไร่ จำนวน 1 แห่ง 4.มีผักสวนครัวรั้วกินได้ อย่างน้อย 50 หลังคาเรือน 5.มีการรณรงค์การออกกำลังกาย จำนวน 2 ครั้ง 6.ประชาชนในชุมชนได้เข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายอย่างน้อยร้อยละ 80 7.ประชาชนได้เรียนรู้ข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การกิน,การใช้ชีวิต,การออกกำลังกาย อย่างน้อยร้อยละ 80 8.กลุ่มคนโรคอ้วนมีรอบเอวลดลง ร้อยละ 80

 

 

  1. กลุ่มคนโรคอ้วนและกลุ่มเสี่ยงได้เข้าร่วมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 80
  2. กลุ่มคนโรคอ้วนและกลุ่มเสี่ยง ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม จำนวน 6 ครั้ง
  3. มีแปลงผักรวมขนาด 3 ไร่ จำนวน 1 แห่ง
  4. มีผักสวนครัวรั้วกินได้87 หลังคาเรือน
  5. มีการรณรงค์การออกกำลังกาย จำนวน 2 ครั้ง 6. ประชาชนในชุมชนได้เข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย ร้อยละ 80 7.ประชาชนได้เรียนรู้ข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การกิน,การใช้ชีวิต,การออกกำลังกาย ร้อยละ 90
    8.กลุ่มคนโรคอ้วนมีรอบเอวลดลง ร้อยละ 100
3 เพื่อส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพกลไกในการบริหารจัดการปัญหาโรคอ้วน
ตัวชี้วัด : 1.คณะทำงานมีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 2.มีแผนการเฝ้าระวัง 3.มีมาตรการทางสังคม อย่างน้อย 3 เรื่อง -มาตรการเรื่องการดื่มน้ำอัดลม -มาตรการใช้ถุงพลาสติกใส่ข้าวในงาน -มาตรการการทำอาหารลดหวาน มัน เค็ม ในงานของหมู่บ้าน

 

 

  1. คณะทำงานมีการประชุมทุกเดือน
  2. มีแผนการเฝ้าระวัง 
  3. มีมาตรการทางสังคม 2 เรื่อง คือ มาตรการเรื่องการดื่มน้ำอัดลม และมาตรการใช้ถุงพลาสติกใส่ข้าวในงานในงานของหมู่บ้าน
4 เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมิณผล
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส.และสจรส.

 

 

เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส และ สจรส.จำนวน 6 ครั้ง