directions_run

ร้อยเรียงวิถีชุมชน ชุบชีวิตแบบยั่งยืน คืนชุมชนสู่ธรรมชาติ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ร้อยเรียงวิถีชุมชน ชุบชีวิตแบบยั่งยืน คืนชุมชนสู่ธรรมชาติ ”

ชุมชน้านท่าข้ามควาย ตำบลนาทอน อำเภอทุ้งหว้า

หัวหน้าโครงการ
นายดำริษ์ ประกอบ

ชื่อโครงการ ร้อยเรียงวิถีชุมชน ชุบชีวิตแบบยั่งยืน คืนชุมชนสู่ธรรมชาติ

ที่อยู่ ชุมชน้านท่าข้ามควาย ตำบลนาทอน อำเภอทุ้งหว้า จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 57-01452 เลขที่ข้อตกลง 57-00-1453

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2557 ถึง 15 กันยายน 2557


กิตติกรรมประกาศ

"ร้อยเรียงวิถีชุมชน ชุบชีวิตแบบยั่งยืน คืนชุมชนสู่ธรรมชาติ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชุมชน้านท่าข้ามควาย ตำบลนาทอน อำเภอทุ้งหว้า

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ร้อยเรียงวิถีชุมชน ชุบชีวิตแบบยั่งยืน คืนชุมชนสู่ธรรมชาติ



บทคัดย่อ

โครงการ " ร้อยเรียงวิถีชุมชน ชุบชีวิตแบบยั่งยืน คืนชุมชนสู่ธรรมชาติ " ดำเนินการในพื้นที่ ชุมชน้านท่าข้ามควาย ตำบลนาทอน อำเภอทุ้งหว้า รหัสโครงการ 57-01452 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2557 - 15 กันยายน 2557 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 213,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 350 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างให้ชุมชนมีความแข้มแข็งร่วมแรงร่วมในพัฒนาชุมชน
  2. เพื่อให้คนในชุมชนตระหนังถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
  3. กิจกรรมติดตามสนับสนุนโครงการสสส.และสจรส.มอ.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. แนะนำการเขียนข้อมูลผ่านระบอินเตอร์เน็ด การประเมินผล และการติดตามโครงการ

    วันที่ 15 สิงหาคม 2557 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. อบรมการติดตามและสนับสนุนและประเมินผล 2.อบรมการใช้เว็บไซต์ 3.การบันทึกข้อมูลต่างๆลงเว็บไซต์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เข้าร่วมการปฐมนิเทศการพัฒนาโครงการและการติดตามสนับสนุนและประเมินผลโครงการและการเขียนรายงานข้อมูลที่ทำผ่านเว็บไซต์คนใต้สร้างสุข

     

    2 2

    2. ติดตามโครงการแต่ละชุมชน

    วันที่ 15 สิงหาคม 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พี่เลี้ยงสอบถามการดำเนินโครงการว่าทางชุมชนมีปัญหาในการดำเนินโครงการอย่างไรและได้รับตัวสัญญาในการดำเนินโครงการหรือยังและสอนการคีย์ข้อมูลให้ใส่ข้อมูลให้มากและให้บอกถึงการทำงานที่ชัดเจนและครวบคุมการดำเนินงานในการคย์ข้อมูล  และทางสถาชุมชนได้สอบถามพี่เลี้ยงว่าจะได้รับสัญญาวันไหนพี่เลี่ยงบอกว่าสิ้นเดือนสิงหาคมนี้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -พี่เลี่ยงได้ทราบถึงปัญหาของชุมชน -ทางชุมชนได้ทราบถึงการคีย์ข้อมูลที่ถูกต้อง -ทางพี่เลี้ยงได้พูดคุ่ยกับสภาชุมชนในการดำเนินโครงการ

     

    25 25

    3. คืนเงินเปิดบัญชี

    วันที่ 2 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนเงินค่าเปิดบัญชีให้ นายดำริษ์ ประกอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เจ้าหน้าที่ผู้จ่ายเงิน  พร้อมคณะกรรมการ คืนเงินค่าเปิดบัญชีให้ นายดำริษ์ ประกอบ

     

    4 4

    4. กิจกรรมจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และการล้างอัดขยายภาพ

    วันที่ 8 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำป้ายไปติดสถานที่จัดกิจกรรม และแหล่งชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการโครงการนำป้ายเขตปลอดบุหรี่โดยมีตราสัญลักษณ์สสส. นำป้ายไปติดสถานที่จัดกิจกรรม และแหล่งชุมชน

     

    8 8

    5. ชี้แจ้งรายละเอียดของโครงการที่ได้รับงบประมาณมากจากสสส.และสรรหาคณะกรรมการสภาเพื่อร่วมดำเนินโครงการ

    วันที่ 9 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดการประุชุมเพื่อสรรหาคณะกรรมการสภาเพื่อให้คณะกรรมการในการดำเนินโครงการมาจากตัวแทนกลุ่มต่างๆในชุมชนจำนวน25คนและเพื่อจัดตั้งเป็นคณะทำงานและยกร่างกฎกติกาข้อบังคับ ได้มีการจัดประชุมประชาคมและชี้แจงรายละเอียดของโครงการที่ได้รับงบประมาณมาจากสสส.  และชี้แจงว่าจะดำเนินการในส่วนใดบ้าง  และให้ชาวบ้านเสนอตัวแทนคณะกรรมการสภาที่ได้รับความเห็นชอบจากเวทีประชาคมจำนวน  25 คนได้แก่1. นายประคิ่น  ศรีนวล (ประธานกรรมการสภา) 2. นายย๊ะโก๊ป  นิยมเดชา (รองประธานกรรมการสภา) 3. นายสุขยิ่ง  ตันติโรจนกุล (ฝ่ายกิจกรรม) 4. นายประสิทธิ์  สรรเพ็ชร (ฝ่ายกิจกรรม) 5. นายสันติ  เอียดเกิด (ฝ่ายกิจกรรม) 6. นางบังอร  ประกอบ  (ฝ่ายอำนวยการ) 7. นายสมพร  ควนข้อง (ฝ่ายอำนวยการ) 8. นางรุ่งนภา  ประกอบ (ฝ่ายอำนวยการ) 9. นายเจริญ  ประกอบ (ฝ่ายรักษาความปลอดภัย/ชุดลาดตระเวร) 10. นายกระจ่าง  ประกอบ (ฝ่ายชุดลาดตระเวร)
    11. นางขวัญเรือน  ง๊ะสมัน (ฝ่ายปฏิคม) 12. นางกมลทิพย์  ช่วยเอียด (ฝ่ายเหรัญญิก) 13. นางกัญหา  เทพศิริ (ฝ่ายเหรัญญิก) 14. นายสุรินทร์  ช่างไม้ (ประชาสัมพันธ์) 15. นางอุไร  ประกอบ (กรรมการ) 16. นางวาสนา  หลังเถาะ  (กรรมการ) 17. นางเพชรศรี  ประกอบ (กรรมการ) 18. นายสมัย  ละเมาะ  (กรรมการ) 19. นางสุภาวดี  ลาทัพ (กรรมการ) 20. นายบุญเลิศ  ชูชื่น  (กรรมการ) 21. นางสุดใจ  ควนข้อง (กรรมการ) 22. นายสมรัก  เกิดสมศรี  (ฝ่ายตรวจสอบ) 23. นางสุจิน  ยังปากน้ำ  (ฝ่ายตรวจสอบ) 24. นายปราโมทย์  คล้ายศรีบุญ  (เลขานุการ) 25. นางธิดารัตน์  ประกอบ (ผู้ช่วยเลขานุการ)

    และได้ดำเนินการใช้ชาวบ้านเสนอกฎกติกาข้อบังคับในการใช้ประโยชน์จากการใช้ป่ายเลนร่วมกัน โดยกฎกติกานี้มาจากการรับรองจากเวทีการประชุมประชาคมหมู่บ้านและมาจากสภาคณะกรรมการชุมชนเป็นผู้เห็นชอบ 1. ห้ามตัดไม้บริเวณป่าชายเลน 2. ส่งเสริมให้มีการปลูกป่าทดแทน 3 . ห้ามบุกรุกพื้นที่ป่าชายเลน 4 . ห้ามมีการทำประมุงผิดประเภทในชุมชน 5. ส่งเสริมการทำบ้านปลา  (ธนาคารปลา) 6 . จัดให้มีชุดลาดตระเวรเพื่อจับคุมผู้กระทำผิด 7. สร้างจิตสำนึกร่วมกันในการอนุรักษ์ธรรมชาติ 8. ไม่ทำลายแหล่งอาหารของสัตว์น้ำ 9 . ห้ามล่าสัตว์สงวนภายในชุมชน 10 . ชุมชนต้องยอมรับกฎกติการะเบียบข้อบังคับอย่างเคร่งครัด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้คณะกรรมการสภาชุมชนจำนวน  25 คนและชาวบ้านมีความดื้นตัวในการเข้าร่วมประชุมและหน่วยงานอื่นๆให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
    • ได้กฎกติกาข้อบังคับในการใช้ประโยชน์จากป่าชายเลน ได้แก่ 1.ห้ามตัดไม้บริเวณป่าชายเลน 2.ส่งเสริมให้มีการปลูกป่าทดแทน 3 . ห้ามบุกรุกพื้นที่ป่าชายเลน 4 . ห้ามมีการทำประมุงผิดประเภทในชุมชน 5. ส่งเสริมการทำบ้านปลา  (ธนาคารปลา) 6 . จัดให้มีชุดลาดตระเวรเพื่อจับคุมผู้กระทำผิด 7. สร้างจิตสำนึกร่วมกันในการอนุรักษ์ธรรมชาติ 8. ไม่ทำลายแหล่งอาหารของสัตว์น้ำ 9 . ห้ามล่าสัตว์สงวนภายในชุมชน 10 .ชุมชนต้องยอมรับกฎกติการะเบียบข้อบังคับอย่างเคร่งครัด

     

    70 75

    6. รับรองกฎกติกาโดย4ภาคีต่างๆ

    วันที่ 13 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • มี 4 ภาคีเครือข่าย และสภาชุมชนบ้านท่าข้ามควายและผู้รับผิดชอบโครงการ  โดยทางนายประคิ่น  ศรีนวล  ได้อธิบายถึงวัสถุประสงค์ของโครงการและบอกถึงความสำคัญในการยกร่างกฎกติกาการใช้ทรัพยากรป่าชายเลนร่วมกันในชุมชน

    • จากนั้น  นายสมยศ  ฤทธิ์ธรรมนาถ  นายยกองค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน  พูดเกี่ยวกับโครงการชุมชนน่าอยู่ที่ได้เงินสนับสนุนจาก สสส.ว่า ชมคณะทำที่ได้สามารถเสนอโครงการนี้ผ่านเพื่อมาพัฒนาชุมชนของตนให้น่าอยู่ตามวัสถุประสงค์ในการดำเนินโครงการ

    • และพบกับตัวแทนสถานีพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลนที่ 37 (ทุ่งหว้า-สตูล)  กล่าวว่า ทางสถานนี้คิดว่าโครงการที่ทางชุมชนได้ดำเนินการเป็นโครงการที่ดีและทางทรัพยากรป่าชายเลนจะมีการสนับสนุนช่วยเหลือในการดำเนินโครงการในครั้งนี้

    • จากนั้นนายพจน์  สุขลิ้ม กำนันตำบลนาทอน กล่าวว่า  ทางตำบลมีความยินดีกับหมู่บ้านท่าข้ามความที่ได้ดำเนินการโครงการนี้เพราะพื้นที่ของหมู่บ้านเป็นพื้นที่ติดกับป่าชายเลนและปัญหาเกี่ยวกับป่าชายเล่นก็มีอยู่ดีแล้วที่หมู่บ้านได้ทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อที่จะให้มีทรัพยากรป่าชายเลนที่ดีให้กับลูกหลาน

    • และทางผู้ใหญ่บ้าน  นายวิสูตร  ประกอบ  กล่าวว่าในชุมชนมีความกระดือรือร้นในการดำเนินโครงการ สสส.ในการอนุรักษ์ป่าชายเลน จากนั้น นายดำริษ์  ประกอบ กล่าวขอบคุณหน่ายงานต่างๆ และจะดำเนินงานโครงการนี้ให้ดีที่สุด

    • จากนี้ทาง 4 ภาคีเครือข่ายได้ถามในที่ประชุมว่าข้อการรับรองในที่ประชุมทุกคนยกมือเป็นการรับรอง  จากนั้นทาง 4 ภาคีเครือข่ายลงนามร่วมกัน รับรองกฎกติกา ได้แก่
      1 . ห้ามตัดไม้บริเวณป่าชายเลน 2 . ส่งเสริมให้มีการปลูกป่าทดแทน 3 . ห้ามบุกรุกพื้นที่ป่าชายเลน 4 . ห้ามมีการทำประมุงผิดประเภทในชุมชน 5 . ส่งเสริมการทำบ้านปลา  (ธนาคารปลา) 6 . จัดให้มีชุดลาดตระเวรเพื่อจับคุมผู้กระทำผิด 7 . สร้างจิตสำนึกร่วมกันในการอนุรักษ์ธรรมชาติ 8 . ไม่ทำลายแหล่งอาหารของสัตว์น้ำ 9 . ห้ามล่าสัตว์สงวนภายในชุมชน 10 . ชุมชนต้องยอมรับกฎกติการะเบียบข้อบังคับอย่างเคร่งครัด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ทางสภาอธิบายถึงตัวโครงการและงบประมาณที่ได้รับจากสสส.
    • ทาง 4 ภาคีเครือข่าย (คนะทำงานชุมชน, ผู้ใหญ่บ้าน, องค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน, สถานีพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลนที่ 37 (ทุ่งหว้า-สตูล))  ได้พูดคุ่ยและพร้อมจะช่วยเหลือในการดำเนินโครงการครั้งนี้ แสดงความยินดี ให้กำลังใจ และความร่วมมือสนับสนุนกิจกรรมของโครงการ
    • ทางชาวบ้านแสดงความคิดโดยการยกมือเห็นชอบกฎกติกาการใช้ทรัพยากรป่าชายเลนร่วมกัน 4 ภาคีลงนามกฎกติกาข้อตกลงร่วมกันในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลนร่วมกันในชุมชน โดยกฏกติกาครอบคลุมถึง การไม่ทำลายป่าไม้ ปลูกทดแทน สร้างแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ ใช้เครื่องมือจับสัตว์น้ำไม่ทำลายทรัพยากร แลสร้างจิตสำนึกให้คนนุ่นหลังช่วยกันดูแล

     

    120 123

    7. ติดตามและประเมินผลการปลูกป่าโกงกางและจำนวนปริมาณปลา

    วันที่ 29 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 13.00 น.ลงเรือที่ท่าเรือท่าข้ามควาย  จากนั้นขี่เรือไปที่คลองปลาดประมาณ 30 นาที และลงเดินสำรวจพื้นที่ที่มีการตัดทำลายต้นโกงกาง พบการทำลายจำนวนพื้นที่โดยประมาณ 4 ไร่ จากนั้นนั่งเรือไปพูดคุ่ยกับชาวบ้านที่ทำประมงบริเวณคลองปลาด  ผลการพูดคุ่ยชาวประมงบอกว่าคณะนี้บริเวณคลองปลาดนี้จการจับสัตว์น้ำมีปริมาณที่ลดลงและการจับในแต่ละครั้งมีแต่ปลาที่มีขนาดที่เล็กปลาที่มีขนาดใหญ่จะมีปริมาณที่น้อยลง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลในการลงติดตามและประเมิณผลการปลูกป่าโกงกางและจำนวนปริมาณปลา  พบว่าในคลองปลาดมีจำนวนที่เสียหายประมาณ 4ไร่  และผลกการประเมิณสัตว์น้ำ  พบว่าปลาลดลงจำนวนปลาขนาดใหญ่มีจำนวนน้อย และพบขยะจำนวนมาก จากการลงติดตามและประเมิณผลการปลูกป่าโกงกางและจำนวนปริมาณปลา  ครั้งนี้พบว่าคณะกรรมการหมู่บ้านและสภา  ได้ลงพื้นที่จริงและเห็นการทำลายที่มีจำนวนมาก  ทำให้มีหลายๆความคิดเห็นในการป้องกันการตัดไม้  ผลการประเมิณครั้นนี้จะเก็บรวบรวมพื้นที่ความเสรียหาย  เพื่อที่จะพื้นฐานในการลงพื้นที่ปลูกป่าทดแทน และการทำบ้านปลา

     

    30 30

    8. ให้ชุดชรบ.ลาดตระเวณตามแนวคลองต่างๆ

    วันที่ 30 ตุลาคม 2557 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลาดตระเวรคลองปลาด  เพื่อป้องปรามตักเตือนผู้กระทำประมงผิดประเภท และสังเกตการทำประมงของชาวบ้านว่ามีการใช้เครื่องมือที่ผิดกฎหมายหรือไม่ ผลการลาดตระเวรไม่พบผู้กระทำประมงผิดประเภท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลาดตระเวรแนวคลองปลาด เพื่อป้องปรามตักเตือนผู้กระทำประมงผิดประเภท  และเพื่อให้รู้ว่าทางชุมชนมีการลาดตระเวรมีความกลัวในการทำผิดอีกทางหนึ่ง

     

    20 23

    9. ประชุม ติดตามและประเมินผล โครงการโดยสภาชุมชน

    วันที่ 9 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประธานสภาประชุมสรุปการดำเนินกิจกรรมในรอบเดือน  การดำเนินกิจกรรมเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและได้รับความร่วมมือจากชาวบ้านในชุมชนเป็นอย่างดี และ แจ้งการกำหนดการโครงการร้อยเรียงวิถีชุมชนชุบชีวิตแบบยังยื่นคืนชุมชนสู่ธรรมชาติ ในเดือนธันวาคม พ.ศ.2557 วันที่ 2 ธันวาคม  เวลา 09.00น. จัดเวทีการคืนข้อมูลที่สำรวจกลับคืนชุมชน โดยการจัดทำแผนการจัดการทรัพยากร  วันที่ 9 ธันวาคม เวลา 13.00น . ประชุมติดตามและประเมินผลโครงการโดยสภาชุมชน  วันที่ 20 ธันวาคม  เวลา  16.00 น.  ลาดตระเวรตามแนวคลอง  วันที  22  ธันวาคม  เวลา 09.00น.  ติดตามการประเมิณป่าโกงกาและสัตว์น้ำ  วันที่ 30  ธันวาคม  เวลา 09.00น.  การให้ความรู้เกี่ยวกับการขยายพันธุ์ของสัตว์น้ำการฟื้นฟู  การสร้างบ้านปลา  และกการติดป้ายบริเวณการสร้างบ้านปลา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประธานสภาประชุมสรุปการดำเนินกิจกรรมในรอบเดือน การดำเนินกิจกรรมเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

    สรุปและแจ้งวันที่ดำเนินกิจกรรมในรอบเดือน

     

    70 72

    10. ให้ชุดสำรวจข้อมูลทำแบบสอบถามเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ของป่าชายเลน

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงการทำแบบสอบถามและวิที่การถามชาวบ้านอธิบายทำความเข้าใจเป็นข้อๆและดำเนินการจริงโดยให้นักเรียนโรงเรียนบ้านท่าข้ามควายและคณะกรรมการหมู่บ้านลงนำแบบสอบถามสำรวจในหมู่บ้านทุกครัวเรือนในการใช้ประโยชน์จากป่า

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ให้นักเรียนและกรรมการหมู่บ้านออกทำแบบสอบถามเพื่อให้ทราบถึงกระบวนการดำเนินงานและให้ได้ฐานข้อมูลที่ชาวบ้านได้ให้ประโยชน์  และให้นักเรียนตระหนักถึงการอนุรักษ์และให้รู้ว่าในหมู่บ้านมีการให้ประโยชน์ป่าชายเลน

     

    40 40

    11. ให้ชุดชรบ.ลาดตระเวณตามแนวคลองต่างๆ

    วันที่ 22 พฤศจิกายน 2557 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงลาดตระเวรโดย ชรบ.  ในการลาดตระเวรตามแนวคลองต่างๆเพืื่อตักเตือนผู้ที่ทำประมงผิดประเภท  โดยการลาดตระเวรแนวคลองปลาด ผลการลาดตระเวรพบเครื่องมือการทำประมงผิดประเภท  ที่รุ่นกุ้งอยู่ในคลองจำนวนหนึ่ง  โดยมีการพูกเชื่อกไว้อย่างดีและพร้อมใช้งาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการลาดตระเวรตามแนวคลองต่างๆ เพืื่อตักเตือนผู้ที่ทำประมงผิดประเภท  โดยการลาดตระเวรแนวคลองปลาด ไม่พบผู้กระทำผิด  พบแต่ครื่องมือการทำประมงผิดประเภท  โดยชรบ.คนหนึ่งบอกว่าการที่เครื่องมือประมงผิดประเภทนี้อยู่รอบบริเวณคลองนั้นเพื่อง่ายในการนำมาให้ทำการรุ่น  และผลในการลงลาดตระเวร  ทำให้มีผู้กระทำผิดที่น้อยลง

     

    20 20

    12. ติดตามและประเมินผลการปลูกป่าโกงกางและจำนวนปริมาณปลา

    วันที่ 30 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดำเนินการติดตามการประเมิณป่าโกงกางพื้นที่อ่าวไม้ขาวที่ถูกทำลายเป็นบริเวณประมาณ 12 ไร่ และประเมิณจำนวนสัตว์น้ำว่าในพื้นที่อ่าวไม้ขาวยังมีความสมบูรณ์อยู่ประมาณหนึ่งแพราะยังมีจำนวนปลาขนาดเล็กว่ายตามบริเวณหาด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เป็นการติดตามหาพื้นที่มีการบุกรุกทำลายและสำรวจจำนวนสัตวืน้ำ  เพื่อเป้นข้อมูลและแนวทางในการดำเนินกิจกรรมต่อไปเพื่อเป้นฐานข้อมูลในการพัฒนาและฟื้นฟูในสภานที่นี้

     

    30 32

    13. จัดเวทีการคืนข้อมูลที่สำรวจมากลับคือให้ชุมชนโดยการทำแผนการจัดการทรัพยากร

    วันที่ 2 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ชาวบ้านที่ทำการทำแบบสอบถามให้เล่าถึงการทำงานต่อไปเป็นการสรุปการใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ในการใช้ประโยชน์  และเสนอแนการจัดการทรัพยากรร่วม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เป็นการสรุปการทำแบบสอบถาม และเป็นเสนอแผนการจัดการทรัพยากรร่วมกันเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการทรัพยากรร่วมกับชาวบ้านและให้ชาวบ้านทราบและเห็นการทำงานและข้อมูลที่ชาวบ้านสำรวจแบบสอบถามที่ได้มาด้วยกระบวนการชาวบ้านและนำเอาแผนการจัดการทรัพยากรมาเป็นเป็นฐานข้อมูลเพื่อนำไปพัฒนาส่งเสริมต่อไป
    • ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจของคนในชุมชน พบว่า ปริมาณสัตว์ ที่พบมากในชุมชนคือ หอยตาแดง หอยกันปลากระบอก ปลาดุกทะเล กุ้ง เป็นต้น ในแต่ละวันมีปริมาณการใช้ทรัพยากรค่อนข้างมาก แต่จำนวนสัตว์น้ำที่จับได้ในแต่ละวันลดลง ถ้าอยากได้ปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการในแต่ละวัน ต้องใช้เวลาในการจับมากขึ้น หรือต้องเดินทางออกไปไกลว่าเดิมที่เคยจับ

     

    80 80

    14. ประชุม ติดตามและประเมินผล โครงการโดยสภาชุมชน

    วันที่ 9 ธันวาคม 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมกรรมการสภาและชาวบ้านท่าข่ามควาย  ในกิจรรมการดำเนินโครงการที่ผ่านมาในเดือนพฤศจิกายน การดำเนินกิจกรรมเป็นไปด้วยความเรียนร้อย และการดำเนินในรอบเดือนธันวาคม พูดถึงกระบวนการทำงานและชี้แจงวันดำเนินโครงการและกิจกรรม  ในกิจกรรมวันที่ 2 ธันวาคม เป้นกิจกรรมการคืนข้อมูลที่สำรวจมากลับคืนชุมชน  วันที่ 9 ธันวาคม กิจกรรมการประชุมติดตามการประเมิณโครงการ  วันที่ 20 ธันวาคม กิจกรรมลาดตระเวร  วันที่ 22 ธันวาคม กิจกรรมติตตามประเมิณป่าโกงกาง  วันที่ 25 ธันวาคม กิจกรรมการให้ความรู้การขยายพันธ์ุสัตว์น้ำและการฟื้นฟูสัตว์น้ำและการสร้างบ้านปลา  โดยให้ประธานสภาแบ่งงานตามความถนันของกรรมการสภา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมกรรมการสภาและชาวบ้านท่าข่ามควาย  เพื่อให้ทราบวัน เวลา กิจกรรม  ในการดำเนินโครงการเพื่อสะดวกในการทำกิจกรรมและต้องเตรียมงานในส่วนใดบ้าง

     

    70 73

    15. ติดตามและประเมินผลการปลูกป่าโกงกางและจำนวนปริมาณปลา

    วันที่ 22 ธันวาคม 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะที่จะดำเนินกิจกรรมติดตามและประเมิณผลการปลูกป่ากงกางและจำนวนปริมาณปลา  โดยการแบ่งเป็นกลุ่ม 2 กลุ่ม  ในการประเมิณครั้งนี้โดย  เรือลำกลุ่มที่ 1  สำรวจพื้นที่ป่าโกงกางที่ถูกทำลายเพือเป็นพื้นที่จะปลูกป่าโกงกางเสริม  เรือลำกลุ่มที่ 2 ให้สอบถามผู้ที่ทำการประมงในพื้นที่ต่างๆว่าคณะนี้การทำประมงในแต่ละครั้งจับปลาได้จำนวนปริมาณเท่าไร  หลังจากนั้นกลุ่มทั้ง  2 กลุ่ม  มาสรุปผลดำเนินงานที่ได้มา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการสรุปกิจกรรมติดตามและประเมิณผลการปลูกป่ากงกางและจำนวนปริมาณปลาในครั้งนี้ทราบว่าในบริเวณคลองหน้าหลุมถ่านมีการทำประมงที่ได้ผลดียังจับปลาได้ดีส่วนสัตว์น้ำที่อาศัยอยู่เขตนอกก็กลับมาอาศัยตามแนวคลองเพื่มขึ้นเพราะในแนวคลองมีความสมบูรณ์เพื่มมากขึ้นส่วนการสำรวจป่าโกงกางในพื้นที่คลองหน้าหลุมถ่านพบว่าป่าโกงกางในพื้นที่นี้โดยภาพรวมมีความสมบูรณ์ของป่าโกงกางเป็นจำนวนมากหลังจากนั้นสรุปว่าพื้นที่นี้ยังมีความอุมดสมบูรณ์อยู่มาก

     

    30 31

    16. มีการให้ความรู้เกี่ยวกับการขยายพันธุ์ของสัตว์น้ำขยายพันธุ์ที่เพิ่มขึ้น- ให้ความรู้ ฟื้นฟู สัตว์น้ำและการสร้างบ้านปลา-ติดป้ายบอกบริเวณการสร้างบ้านปลา- สร้างบ้านให้ปลา

    วันที่ 25 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีคณะวิทยากรมาบรรยายในการขยายพันธ์ุุุุสัตว์น้ำุุให้เื่พิ่มขึ้นให้ความรู้เกี่ยวกับการฟื้นฟู  สัตว์น้ำและการสร้างบ้านปลาและสอนวิธีการสร้างบ้านปลาและนำเอาบ้านปลาไปว่าง ณ จุดว่างบ้านปลา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะวิทยากรจากประมงอำเภอให้ความรู้็การขยายพันธ์ุุุุสัตว์น้ำุุว่าสตว์น้ำประเทภไหนมีการขยายพันธุ์ใรรูปแบบต่างๆและให้เื่พิ่มขึ้นให้ความรู้เกี่ยวกับการฟื้นฟูแหน่งขยายพันธุ์ของสัตว์น้ำอธิยายจึงการฟื้นฟูโดยธรรมชาติและโดยมนุษย์ิิ  และสอนวิธีการทำบ้านปลาบอกผลประโยชน์ในการว่างบ้านให้ปลาและแนะนำการว่างบ้านปลา  หลังจากที่วิทยากรให้ความรู้เสร็จแล้วผู้ที่รวมกิจกรรมได้ลงมือกันสร้างบ้านปลาและมีวิทยากรให้คำแนะนำจนดำเนินการสร้างบ้านปลาเสร็จสิ้นกระบวนการหลักจากนั้นเอาข้อมูลที่ได้สำรวจมาเป็นพื้นบานและขั้อมูลในการว่างบ้านปลา  หลังจากนั้นนำ้คณะผู้ร่วมกิจกรรมลงเรือไปว่างบ้านปลาและติดป้ายบอกบริเวณการสร้างบ้านปลาเพือให้รู้ว่าบริเวณนี้เป็นบริเวณการสร้างบ้านปลาเพื่อไม่ให้กระทบกับชาวบ้านที่ทำประมุง

     

    130 135

    17. ให้ชุดชรบ.ลาดตระเวณตามแนวคลองต่างๆ

    วันที่ 30 ธันวาคม 2557 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมการดำเนินลงเรือลาดตระเวณตามแนวคลองต่างๆในครั้งนี้ให้ ชรบ.และกรรมการสภารับทราบกระบวนการในการทำกิจกรรมหลังจากนั้นลงเรือลาดตระเวณตามแนวคลอง  และหลังเสร็จสิ้นมาสรุปการดำเนินกิจกรรมในครั้งนี้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปการประุชุมทราบว่าให้ชรบ.และกรรมการสภาซุ่มตามแนวคลองที่คาดว่าจะเป็นพื้นที่การทำประมงผิดประเภท  ผลการซุ่มพบว่ามีเรือที่ทำประมงผิดประเภทอยู่เลยเข้าไปพูดคุ่ยและตักเตือนและปล่อยตัวหลังจากนั้นก็ไปซุ่มอีกคลองหนึ่งก็พบอีกรายเลยตักเตือนไปอีกหลังจากนั้นกลับมาสรุปการดำเนินกิจกรรมในครั้งนี้พบว่ามีการพบการทำประมงที่ผิดประเภทจำนวน 2 รายและมีการพูดคุ่ยตักเตือนในเบื้องต้นแล้ว

     

    20 31

    18. ประชุม ติดตามและประเมินผล โครงการโดยสภาชุมชน

    วันที่ 9 มกราคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงการดำเนินงานและกิจกรรมในหมู่บ้านและกิจกรรมสสส.ในรอบเดือนต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน ประจำเดือน มกราคม ครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2558
    - เวลา 13.00 น. ณ อาคารเอนกประสงค์หมู่ที่ 6 บ้านท่าข้ามควาย หมู่ 6 ตำบลนาทอน  อำเภอทุ่งหว้า  จังหวัดสตูล    โดยมี นายวิสูตร ประกอบ ตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน  คณะกรรมการหมู่บ้านและประชาชน จำนวน 54 คน โดยมีวาระการประชุมดังต่อไปนี้

    1.  แจ้งการกำหนดการตรวจสวนยางรายใหม่เพื่อขอรับสิทธิ์ชดเชยราคายางพารา  ในวันที่ 23 มกราคม 2558  เวลา 9.00 น. ณ อาคารเอนกประสงค์บ้านท่าข้ามควาย  หมู่ที่ 6 ตำบลนาทอน  อำเภอทุ่งหว้า  จังหวัดสตูล

    2.  แจ้งกำหนดการเข้าร่วมงาน อบจ.เคลื่อนที่พบประชาชน  ณ โรงเรียนบ้านช่องไทร  หมู่ที่ 3  ตำบลนาทอน  อำเภอทุ่งหว้า  จังหวัดสตูล

    3.  แจ้งกำหนดการวันทำประชาคมร่วมกับ อบต.นาทอน  ในวันที่ 9 กุมภาพันธ์  2558  เวลา 13.00 น.  ณ อาคารเอนกประสงค์หมู่ที่ 6  ตำบลนาทอน  อำเภอทุ่งหว้า  จังหวัดสตูล

    4.  แจ้งกำหนดการดำเนินกิจกรรมร่วมกับทรัพยากรป่าชายเลนที่ 37 (ทุ่งหว้า-สตูล) ในการปลูกป่าโกงกางและปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ  ในวันที่ 4 กุมภาพันธ์  2558  เวลา 10.00 น. ณ แนวคลองบ้านท่าข้ามควาย  หมู่ 6 ตำบลนาทอน  อำเภอทุ่งหว้า  จังหวัดสตูล

    5.  แจ้งการกำหนดการโครงการร้อยเรียงวิถีชุมชนชุบชีวิตแบบยังยื่นคืนชุมชนสู่ธรรมชาติ
    5.1 กิจกรรมลาดตระเวรการทำประมุงผิดกฎหมาย เมื่อวันที่  14  กุุมภาพันธ์  เวลา 16.00 น. 5.2 กิจกรรมสำรวจป่าโกงกาง  เมื่อวันที่  16 กุมภาพันธ์  เวลา 10.00 น. 5.3 กิจกรรมประชุมกรรมการสภา  วันที่ 9  กุมภาพันธ์  เวลา  13.00 น. 5.4 กิจกรรมไปเก็บต้นกล้าและจัดทำแปลง  วันที่ 1  กุมภาพันธ์  เวลา 09.00 น.

     

    70 79

    19. ให้ชุดชรบ.ลาดตระเวณตามแนวคลองต่างๆและจัดซือเสื่อชูชีบ

    วันที่ 17 มกราคม 2558 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ในช่วงตอนเช้ากรรมการสภาและคณะดำเนินโครงการไปชื้อดสื้อชูชืพและในช่วงตอนเย็นชุดชรบ. และกรรมการสภาออกลาดตระเวณและนำผลการลาดตระเวณครั้งนี้มาสรุป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกกรมการสภาและผู้รับผิดชอบโครงการได้ดำเนินการจัดซื้อเสื้อชูชืพและชรบ. และกรรมการสภาออกลาดตระเวณตามแนวคลองหน้าเกาะสะบันไม่พบผู้ที่ทำประมงผิดประเภทและมาสรุปและวิเคระาห์การดำเนินกิจจกรรมในวันนี้ทราบว่ากิจกรรมวันนี้ไม่พบผู้กระทำประมงผิดประเภทน่าจะเกิดจากการที่ในเดือนธันวาคมได้มีการตักเตือนไป 2 รายจึงไม่มีการทำประมงผิดประเภทในครั้งนี้

     

    20 30

    20. ติดตามและประเมินผลการปลูกป่าโกงกางและจำนวนปริมาณปลา

    วันที่ 23 มกราคม 2558 เวลา 11:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมการดำเนินกิจกรรมติดตามและประเมิณผลการปลูกป่ากงกางและจำนวนปริมาณปลาและให้สำรวจพื้นที่ที่มีขยะว่าอยู่ในพื้นที่ไดบ้างและสำรวจพื้นที่ว่างบ้านปลาหลังจากนั้นนำข้อมูลที่สำรวจมาสรุปการดำเนินกิจกรรมในครั้งนี้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการชี้แจงรายละเอียนในการดำเนินกิจกรรมในครั้งนี้ให้ผู้เข้าร่มกิจกรรมทราบเพือเป็นแนวในการดำเนินกิจกรรมร่วมกันผลการดำเนินกิจกรรมในครั้งนี้ทราบว่ายังมีจำนวนขยำที่นำ้พัดพามาจากแหน่งชุมนที่อาศัยรอบบริเวณชายฝั่งขยะมีมากในพื้นที่ท้ายอ่าวไม้ขาวหน้าเกาะสะบันและตามคลองต่างๆและการสำรวจพื้นที่ว่างบ้านปลาพบว่ามีปลาและสัตว์น้ำประเภทต่างๆอาศัยกันเป็นจำนวนมากคณะกรรมการการดำเนินงานเลยสรุปได้ว่าการดำเนินกิจกรรมสร้างบ้านปลาได้ผลน่าพอใจ

     

    30 31

    21. ประชุม ติดตามและประเมินผล โครงการโดยสภาชุมชน

    วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดการประชุมเพื่อแจ้งข้อมูลและข่าวสารการดำเนินงานในการพัฒนาหมู่บ้านทราบวันและเวลาดังกล่าว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน ประจำเดือน กุมภาพันธ์  พ.ศ. ๒๕๕๘ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ อาคารเอนกประสงค์หมู่ที่ ๖ บ้านท่าข้ามควาย หมู่ ๖ ตำบลนาทอน  อำเภอทุ่งหว้า  จังหวัดสตูล    โดยมี นายวิสูตร ประกอบ ตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน  คณะกรรมการหมู่บ้านและประชาชน จำนวน ๗๖ คน โดยมีวาระการประชุมดังต่อไปนี้
    ๑.  แจ้งกำหนดการงานจังหวัดเคลื่อนที่การออกหน่วยบำบัดทุกข์  บำรุงสุข  สร้างรอยยิ้มให้กับประชาชน  จังหวัดสตูล  ในวันที่  ๒๔  กุมภาพันธ์  พ.ศ. ๒๕๕๘  เวลา ๐๘.๐๐น. – ๑๒.๐๐น.  ณ สนามกีฬากลางนาทอน  อำเภอทุ่งหว้า  จังหวัดสตูล
    ๒.  แจ้งการประดับธงตราสัญลักษณ์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพฯ  ตั้งแต่วันที่  ๑ มกราคม  พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๓๑  ธันวาคม พ.ศ.  ๒๕๕๘  ตามส่วนราชการบ้านเรือนประชาชน  และในเดือนเมษายนแต่งการด้วยเสื่อสีม่วง ๓.  การส่งรายชื่อและเข้าร่วมบริจาคโลหิต  ในวันที่ ๒๔  มีนาคม  พ.ศ. ๒๕๕๘  เวลา ๐๙.๐๐น. – ๑๒.๐๐น. ณ หอประชุม ๑๐๐ ปี  อำเภอทุ่งหว้า  จังหวัดสตูล
    ๔.  แจ้งการกำหนดการโครงการร้อยเรียงวิถีชุมชนชุบชีวิตแบบยังยื่นคืนชุมชนสู่ธรรมชาติ
    ๔.๑  กิจกรรมลาดตระเวรการทำประมุงผิดกฎหมาย ในวันที่  ๒๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘  เวลา ๑๖.๐๐น. ๔.๒  กิจกรรมสำรวจป่าโกงกาง  ในวันที่  ๒๔  กุมภาพันธ์  พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๐.๐๐ น. ๔.๓  การทำแปลงป่าโกงกาง  ในวันที่  ๒๓  กุมภาพันธ์  พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๐๙.๐๐ น.

     

    70 72

    22. ให้ชุดชรบ.ลาดตระเวณตามแนวคลองต่างๆ

    วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การลาดตระเวรตามแนวคลองต่างๆเพืื่อตักเตือนผู้ที่ทำประมงผิดประเภท  โดยการลาดตระเวรแนวคลอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การนำเรือลาดตระเวรตามแนวคลองเพื่อยับยั้งการทำประมงผิดประเภทการปฏิบัติเป็นการขี่เรือตามแนวคลองและพบเรือทำประมงก็สั่งเกตุการว่าเขาทำประมงที่ผิดกฎหมายหรือม้ายถ้าผิดก็ตักเตือน

     

    20 20

    23. ติดตามและประเมินผลการปลูกป่าโกงกางและจำนวนปริมาณปลา

    วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      ลงเรือตามแนวคลองและสอบถามผู้ที่ทำการประมงในพื้นที่ต่างๆว่าคณะนี้การทำประมงในแต่ละครั้งจับปลาได้จำนวนปริมาณเท่าไร เพื่อเป็นข้อมูลว่ามีความสมบูรณ์ขนาดไหน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการสรุปกิจกรรมติดตามและประเมิณผลการปลูกป่ากงกางและจำนวนปริมาณปลาในครั้งนี้ทราบว่าในบริเวณคลองหน้าหลุมถ่านมีการทำประมงที่ได้ผลดียังจับปลาได้ดีส่วนสัตว์น้ำที่อาศัยอยู่เขตนอกก็กลับมาอาศัยตามแนวคลองเพื่มขึ้นเพราะในแนวคลองมีความสมบูรณ์เพื่มมาก

     

    30 32

    24. ประชุม ติดตามและประเมินผล โครงการโดยสภาชุมชน

    วันที่ 9 มีนาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เป็นการประชุมประจำเดือนของหมู่บ้านและสภาในการดำเนินกิจกรรมต่างๆในชุมชนรอบ ประจำเดือน มีนาคม 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน ประจำเดือน มีนาคม  พ.ศ. ๒๕๕๘ ครั้งที่ ๓/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๕๘ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ อาคารเอนกประสงค์หมู่ที่ ๖ บ้านท่าข้ามควาย หมู่ ๖ ตำบลนาทอน  อำเภอทุ่งหว้า  จังหวัดสตูล    โดยมี นายวิสูตร ประกอบ ตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน  คณะกรรมการหมู่บ้านและประชาชน จำนวน ๕๗ คน โดยมีวาระการประชุมดังต่อไปนี้
    ๑.  ด้วยทางอำเภอทุ่งหว้าได้แจ้งว่าเหล่ากาชาดจังหวัดสตูล  ได้กำหนดแผนการรับบริจาคโลหิต  ณ  หอประชุม ๑๐๐ ปี  อำเภอทุ่งหว้า  ในวันจันทร์ที่  ๒๓ มีนาคม  ๒๕๕๘  เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๒.๐๐ น.  ทางอำเภอจึงขอความร่วมมือจากชาวบ้าน  ได้ร่วมกันบริจาคโลหิตในวันดังกล่าว  โดยแจ้งชื่อผู้ร่วมบริจาคโลหิต  ได้ที่บัณฑิตอาสาฯ  เพื่อส่งรายชื่อไปยังอำเภอ ๒.  แจ้งการให้ชาวบ้านทราบถึงการทำกิจกรรมขับเคลื่อน โครงการกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๓.  แจ้งให้ชาวบ้านที่ยังไม่ได้ขึ้นทะเบียนผู้เลี้ยงสัตว์ให้ดำเนินการขึ้นทะเบียนทางอำเภอ ๔.  แจ้งการกำหนดการโครงการร้อยเรียงวิถีชุมชนชุบชีวิตแบบยังยื่นคืนชุมชนสู่ธรรมชาติ
    ๔.๑  กิจกรรมลาดตระเวรการทำประมุงผิดกฎหมาย
    ๔.๒  กิจกรรมสำรวจป่าโกงกาง
    ๔.๓  การทำแปลงป่าโกงกาง   

     

    70 70

    25. ให้ชุดชรบ.ลาดตระเวณตามแนวคลองต่างๆ

    วันที่ 21 มีนาคม 2558 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การจัดชุดลาดตระเวรตามแนวคลองเพื่อป้องปรามผู้กระทำผิดการทำประมงผิดประเภท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เป็นการจัดุดลาดตระเวรตามแนวคลองต่างๆเพื่อสังเกตุการผู้ประกอบอาชีบประมงว่าผู้ทำการประมงใช้เครื่องมืออะไรในการทำประมงลาดตระเวรขอดูเครื่องมือตามเรือต่างๆเมื่อพบเห็นเครืองมือที่ผิดประเภทตรวจยึกและป้องปราม

     

    20 21

    26. ติดตามและประเมินผลการปลูกป่าโกงกางและจำนวนปริมาณปลา

    วันที่ 23 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การลงพื้นที่สำรวจหน้าหาดไม้ขาวเพื่อประเมิณปริมาณของสิ่งมีชีวิต

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามจากการประชุมผู้ประกอบอาชีพประมงพบว่าคณะนี้อ่าวไม้ขาวพบว่าตอนนี้เป้นฤดูการหอยหวานพบหอยหวานจำนวนมากหน้าหาดเป็นการบอกถึงความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่นั้นและจากนั้นขอความร่วมมือจากคนที่หาหอยให้เอาตัวที่มีขนาดที่ใหญ่และอนุรักษ์พร้อมการให้ประโยชน์

     

    30 30

    27. ไปปลูกป่าทดแทนที่อ่าวไม้ขาว- ไปเก็บขยะ- ไปติดป้ายชนิดของกงกาง

    วันที่ 4 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทุงส่วนและหน่ายงานร่วมปลูกต้นโกงกางและปล่อยพันธ์สัตว์น้ำและเก็บขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ก่อนที่มีกิจกรรมปลูกไปปลูกป่าทดแทนที่อ่าวไม้ขาว- ไปเก็บขยะ- ไปติดป้ายชนิดของโกงกาง ทางคณะกรรมการสภาได้ดำเนินการพูดคู่ยกับผู้เข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ถึงแหน่งที่มาในการจัดกิจกรรมและงบที่ใช้ในกิจกรรมนี้มาจากหน่วยงานสสส.โยพูดถึงความสำคัญในการดำเนินโครงการในชุมนผ่านโครงการชุมชนน่าอยู่จากการสนับสนุนงบมาพัฒนาหมู่บ้านและใช้ในการดำเนินิจกรรมในหมู่บ้านหลังจากนั้นนำโยผู้รับผิดชอบโครงการกรรมการสภา ร่วมกับเจ้าหน้าที่ทรัพยากรป่าชายเลนที่ ๓๗(ทุ่งหว้า – สตูล)เจ้าหน้าที่เกษตรอำเภอทุ่งหว้าผู้ใหญ่บ้าน/ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านบัณฑิตอาสา ชาวบ้านท่าข้ามควาย และนักเรียน ร่วมกิจกรรมปลูกต้นโกงกางและปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ เช่น ปลาหอยตาแดงและกุ้งและเก็บขยะโดยเป็นการสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ธรรมชาติ

     

    135 135

    28. ประชุม ติดตามและประเมินผล โครงการโดยสภาชุมชน

    วันที่ 9 เมษายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมรับฟังสถาพปัญหา  ผลการดำเนินการที่ผ่านมาและการดำเนินกิจกรรมในครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน ประจำเดือนเมษายน  พ.ศ. ๒๕๕๘ ครั้งที่ ๔/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๕๘ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ อาคารเอนกประสงค์บ้านท่าข้ามควาย หมู่ ๖ ตำบลนาทอน  อำเภอทุ่งหว้า  จังหวัดสตูล    โดยมี นายวิสูตร ประกอบ ตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน  คณะกรรมการหมู่บ้าน กรรมการสภาและประชาชน จำนวน๗๒ คน โดยมีวาระการประชุมดังต่อไปนี้
    ๑.  ด้วยทางอำเภอทุ่งหว้าแจ้งกำหนดการพิธีถวายเครื่องราชสักการะจุดเทียนถวายพระพรชัย  และถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติ  สมเด็จพระเทพรัตรนราสุดา สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ในวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ ณ บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัดสตูล เวลา ๑๗.๐๐ น.  โดยให้ชาวบ้านที่ต้องการไปถวายพระพร  (แต่งการด้วยเสื่อสีม่วง) ๒.  แจ้งวันแกนทหารในปี ๒๕๕๘ ในวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๕๘ เวลา ๗.๐๐น.เป็นต้นไปจึงขอความร่วมมือทางผู้นำหมู่บ้านให้คนที่รับการคัดเลือกทหารในปีนี้พร้อมกัน ณ อาคาร๑๐๐ปีอำเภอทุ่งหว้า ๓.  แจ้งการกำหนดการโครงการร้อยเรียงวิถีชุมชนชุบชีวิตแบบยังยื่นคืนชุมชนสู่ธรรมชาติ
    ๓.๑  กิจกรรมลาดตระเวรการทำประมุงผิดกฎหมาย ในวันที่  ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘  เวลา ๑๖.๐๐น. ๓.๒  กิจกรรมสำรวจป่าโกงกาง  ในวันที่  ๒๕  เมษายน  พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๐.๐๐ น. ๓.๓  การทำแปลงป่าโกงกาง  ในวันที่  ๓๐  เมษายน  พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๐๙.๐๐ น.
    วันเวลามีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

     

    70 70

    29. จัดชุดลาดตระเวณการทำประมงผิดประเภทและการทำลายป่าชายเลน

    วันที่ 18 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เป็นการลาดตระเวรบริเวณแนวคลองใต้บ่อกุ้งเพื่อดูเลป้องปรามการทำลายป่าชายเลน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำโดยชรบ.ลงเรือลาดตระเวรตามแนวคลองใต้บ่งกุ้งโดยขับเรือสังเกตุการป่าโกงกางบริเวณบ่อกุ้งพบว่ามีบริเวณใต้บ่อกุ้งจำนวนมากที่มีการตัดทำลายและใช้ประโยชน์จากป่าโกงกางและได้ขึ้นไปดูบริเวณบ่อกุ้งว่าในพื้นที่นั้นมีการนำเอาไม้โกงกางมาใช้ประโยชน์หรือไม่ผลการสำรวจดดยรอบไม่เห็นการนำเอาไม้โกงกางมาใช้ประโยชน์

     

    20 20

    30. ติดตามและประเมินผลการปลูกป่าโกงกางและจำนวนปริมาณปลา

    วันที่ 20 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กรรมการหมู่บ้านและกรรมการสภาลงเรือเพื่อติดตามและประเมินผลการปลูกป่าโกงกางและจำนวนปริมาณปลา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงเรือเพื่อสำรวจพื้นที่  ที่มีปัญหาป่าโกงกางเสื่อมโสมในพื้นที่แนวคลองเพื่อเป็นข้อมูลในการดำเนินกิจกรรมปลูกป่าต่อไปในการนี้ทางกรรมการหมู่บ้านและกรรมการสภาได้ลงเรื่อเพื่อเดินสำรวจในพื้นที่ป่าผลการเดินสำรวจพบว่าในป่าโกงกางบริเวณด้านในมีคนส่วนหนึ่งตัดต้นโกงกางเพื่อใ้ประโยชน์

     

    30 30

    31. ไปเก็บต้นกล้า-จัดทำแปลง

    วันที่ 23 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงเรือเพื่อไปเก็บต้นกล้าโกงกางมาใส่ถุงและนำมาไว้ในแปลงโกงกางหมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ก่อนที่มีไปเก็บต้นกล้า-จัดทำแปลง ทางคณะกรรมการสภาได้ดำเนินการพูดคู่ยกับผู้เข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ถึงแหน่งที่มาในการจัดกิจกรรม  ทางกลุ่ม  เยวชน  นักเรียน  กรรมการหมู่บ้าน  และกรรมการสภา  ได้ดำเนินการลงเรือเพื่อเก็บต้นกล้าโกงกางในบริเวณต่างๆในคลองหมู่บ้านจากนั้นไปตักดินใส่ในถุงเพื่อเพาะต้นโกงกางและจากนั้นนำดินมาเพาะต้นโกงกางใส่ในถุงโดยกลุ่งต่างๆเกิดความสนุนในการดำเนินกิจกรรม

     

    90 90

    32. ประชุม ติดตามและประเมินผล โครงการโดยสภาชุมชน

    วันที่ 9 พฤษภาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมรับฟังสถาพปัญหาผลการดำเนินการที่ผ่านมาและการดำเนินกิจกรรมในครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน ประจำเดือนพฤษภาคม  พ.ศ. ๒๕๕๘ ครั้งที่ ๕/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๙ พฤษภาคม  ๒๕๕๘ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ อาคารเอนกประสงค์บ้านท่าข้ามควาย หมู่ ๖ ตำบลนาทอน  อำเภอทุ่งหว้า  จังหวัดสตูล    โดยมี นายวิสูตร ประกอบ ตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน  คณะกรรมการหมู่บ้านและประชาชน กรรมการสภาและบัณฑิตอาสาฯ  จำนวน ๗๕ คน โดยมีวาระการประชุมดังต่อไปนี้
    ๑.  การแก้ไขปัญหายาเสพติด  โดยทางจังหวัดสตูลได้จัดทำโครงการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพยาเสพติด ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๘ มีเป้าหมายผู้เข้ารับการบำบัดและสมัครใจจำนวน  ๓๐๐ คน แบ่งออกเป็น ๕ ๒.  แจ้งกำหนดการโครงการอำเภอยิ้ม  ในวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เวลา ๑๓.๐๐น. ณ โรงเรียนบ้านท่าข้ามควาย
    ๓.  แจ้งการกำหนดการโครงการร้อยเรียงวิถีชุมชนชุบชีวิตแบบยังยื่นคืนชุมชนสู่ธรรมชาติ
    วันเวลามีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

     

    70 70

    33. จัดชุดลาดตระเวณการทำประมงผิดประเภทและการทำลายป่าชายเลน

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ออกเรือลาดตระเวรตามแนวคลองต่างๆในพื้นที่ของชุมชนเพื่อสำรวจว่ามีการทำประมงผิดประเภทและการทำลายป่าโกงกาง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตอนเย็นทางกรรมการสภาได้มีการประชุมเพื่อดำเนินกิจกรรมลาดตระเวรตามแนวคลองต่างๆในพื้นที่ของชุมชนเพื่อสำรวจว่ามีการทำประมงผิดประเภทและการทำลายป่าโกงกางโดยมีการว่างแผนในการลาดตระเวณในครั้งนี้โดยให้เรือสองลำในการลาดตระเวรโดยให้เรือลำที่หนึ่งเข้าไปยังเรือที่ต้องสงใส่ก่อนจากนั้นลำใหญ่เข้าตรวจข้นจากนั้นเดินทางด้วยเรือและทำตามแผนโดยได้พบผู้กระทำความผิดได้สองรายดดยทางรบ.ประสารไปยังตำรวจนำ้เพื่อส่งตัวผู้กระทำผิด

     

    20 20

    34. ติดตามและประเมินผลการปลูกป่าโกงกางและจำนวนปริมาณปลา

    วันที่ 25 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกลุ่มจากส่วนต่างๆลงเรือเพื่อติดตามและประเมินผลการปลูกป่าโกงกางและจำนวนปริมาณปลาว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางไหน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการหมู่บ้าน  กรรมการสภา  และเยวชนลงเรือเพื่อติดตามและประเมินผลการปลูกป่าโกงกางและจำนวนปริมาณปลาในบริเวณหน้าถ้ำพระโดยการที่ทางกรรมการสภานำกุ้งมาปล่อยในพื้นที่พื้นเป็นการฟื่นฟูและการส่งเสริมการเพื่มปริมาณสัตว์น้ำ

     

    30 30

    35. ประชุม ประเมินผลโครงการโดยสภาชุมชน

    วันที่ 9 มิถุนายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมรับฟังสถาพปัญหาผลการดำเนินการที่ผ่านมาและการดำเนินกิจกรรมในครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน ประจำเดือนเมษายนพ.ศ. ๒๕๕๘ ครั้งที่ ๔/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๕๘ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ อาคารเอนกประสงค์บ้านท่าข้ามควาย หมู่ ๖ ตำบลนาทอนอำเภอทุ่งหว้าจังหวัดสตูลโดยมี นายวิสูตร ประกอบ ตำแหน่งผู้ใหญ่บ้านคณะกรรมการหมู่บ้านและประชาชน จำนวน ๖๑ คนและกรรมการสภา โดยมีวาระการประชุมดังต่อไปนี้
      ๑.ด้วยทางอำเภอทุ่งหว้าแจ้งกำหนดการพิธีถวายเครื่องราชสักการะจุดเทียนถวายพระพรชัยและถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตรนราสุดา สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ในวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ ณ บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัดสตูล เวลา ๑๗.๐๐ น.โดยให้ชาวบ้านที่ต้องการไปถวายพระพร (แต่งการด้วยเสื่อสีม่วง) ๒.แจ้งวันแกนทหารในปี ๒๕๕๘ ในวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๕๘ เวลา ๗.๐๐น.เป็นต้นไปจึงขอความร่วมมือทางผู้นำหมู่บ้านให้คนที่รับการคัดเลือกทหารในปีนี้พร้อมกัน ณ อาคาร๑๐๐ปีอำเภอทุ่งหว้า ๓.แจ้งการกำหนดการโครงการร้อยเรียงวิถีชุมชนชุบชีวิตแบบยังยื่นคืนชุมชนสู่ธรรมชาติ
      ๓.๑กิจกรรมลาดตระเวรการทำประมุงผิดกฎหมาย ในวันที่๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘เวลา ๑๖.๐๐น. ๓.๒กิจกรรมสำรวจป่าโกงกางในวันที่๒๕เมษายนพ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๐.๐๐ น. ๓.๓การทำแปลงป่าโกงกาง ในวันที่๓๐เมษายนพ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๐๙.๐๐ น.
      วันเวลามีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

     

    70 70

    36. จัดชุดลาดตระเวณการทำประมงผิดประเภทและการทำลายป่าชายเลน

    วันที่ 20 มิถุนายน 2558 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เป็นการจัดชุดลาดตระเวรตามแนวคลองเพื่อป้องปรามการทำประมงผิดประเภทและการทำลายป่าโกงกาง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชรบ.ได้ดำเนินการลงเรือเพื่อลาดตระเวรตามแนวคลองบริเวณคลองนาทอนโดยทางขรบ.ได้พบเห็นเรือวิ่งไปทานงนั้นหลายลำเลยเข้าไปดูเลยพบว่ามีคนจำนวนมากลงจากเรือและทำการขุดทรายเลยเข้าสอบถามและได้คำตอบว่ามาหาหอยหวานแต่มีเครื่องมือในการตัดไม้แต่ไม่มีของกลางเลยต้องสังเกตุการจนเรือหลับไปยังที่บ้านหลังจากนั้นทางรบ.สรูปและคาดว่าเรือนี้หน้าจะมาตัดไม้แต่พบเห็นชรบ.ก่อนเลยลงหาหอยเพื่อตบตาชรบ.

     

    20 20

    37. ติดตามและประเมินผลการปลูกป่าโกงกางและจำนวนปริมาณปลา

    วันที่ 22 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทางคณะกรรมการได้ดำเนินการลงประเมินสัตว์นำ้บริเวณด้านหลังของเกาะสบันเพื่อทำการสำรวจปริมาณปลา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โดยทางคณะกรรมการได้ลงเรือวนสำรวจปริมาณปลาดดยให้คณะกรรมการทำการโรยอาหารปลาเพื่อจะดูว่ามีจำนวนปลาหรือม้ายหลังจากโรยอาหารปลาพบว่ามีปลาขนานเล็กจำนวนมากมากินอาหารจัึงสรุปได้ในตอนนี้ปลามีการขยายพันธ์เพื่อมากขึ้นและได้ดำเนินการสำราจบริเวณไก้ลเครียงพบว่าเป็นไปในแบบเดียวกัน

     

    30 30

    38. จัดชุดลาดตระเวณการทำประมงผิดประเภทและการทำลายป่าชายเลน

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้ดำเนินการลงเรือลาดตระเวรเพื่อป้องปรามการทำประมงผิดประเภทแลการทำลายป่าชายเลน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทางชรบ.ได้มีการประชุมก่อนลงเรือการลาดตระเวรเพื่อป้องปรามการทำประมงผิดประเภทแลการทำลายป่าชายเลน  จากนั้นได้ลงเรือและลาดตระเวรโดยการไม่ใช้ไฟเพื่อไม่ให้ทางผู้ทำประมงผิดประเภทเห็นโดยมีการขับเรือไปยังเรือที่ทำประมงอยู่โดยเข้าไปดูว่าเขาใช้เครื่องอะไรในการทำประมงโดยเข้าไปสังเกตุการได้ 4 ลำไม่พบเครื่องมือผิดประเภทจากนั้นฝนตกเลยหยุดการทำงาน

     

    20 20

    39. ประชุม ติดตามและประเมินผล โครงการโดยสภาชุมชน

    วันที่ 9 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการสภาเพื่อชี้แจงการดำเนินกิจกรรมในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วันที่ ๙  กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ.อาคารเอนกประสงค์ บ้านท่าข้ามควาย  หมู่ที่๖ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ได้ดำเนินจัดการประชุมราษฎรประจำเดือนกรกฎาคม  ครั้งที่ ๗/๒๕๕๘  ระดับหมู่บ้าน โดยมี นายวิสูตร  ประกอบ  ตำแหน่งผู้ใหญ่บ้านเป็นประธานในการประชุม พร้อมด้วยผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน  คณะกรรมการหมู่บ้าน  บัณฑิตอาสาฯ  และชาวบ้านท่าข้ามควาย โดยมีวาระการประชุมดังต่อไป
    ๑.ให้กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน จัดให้มีการประชุมราษฎรและคณะกรรมการหมู่บ้านเป็นอย่างน้อยเดือนล่ะ ๑ ครั้ง
    ๒.การจัดกิจกรรม "Bike for mom" ปั่นเพื่อแม่ จักยานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ  ๘๓ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๘ ๓.การจัดมหกรรมวัฒนธรรมนครีสโตยและเกษตรจังหวัดสตูล ประจำปี ๒๕๕๘ ๔.โครงการอำเภอยิ้ม ประจำเดือน กรกฎาคม-สิงหาคม ๒๕๕๘ ๕.การดำเนินโครงการ To be number one
    ๖.การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
    ๗.สถานภาพคดีอาญาในรอบเดือนที่ผ่านมา
    ๘.เรื่องอื่นๆ กำหนดมาตรการสิทธิประโยชน์ของผู้เข้าร่วมประชุมเกี่ยวกับโครงการสนับสนุนในหมู่บ้าน ๙.  แจ้งการกำหนดการโครงการร้อยเรียงวิถีชุมชนชุบชีวิตแบบยังยื่นคืนชุมชนสู่ธรรมชาติ
    ๙.๑  กิจกรรมลาดตระเวรการทำประมุงผิดกฎหมาย ในวันที่  ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘  เวลา ๑๖.๐๐น. ๙.๒  กิจกรรมสำรวจป่าโกงกาง  ในวันที่  ๒๕  เมษายน  พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๐.๐๐ น. ๙.๓  การทำแปลงป่าโกงกาง  ในวันที่  ๓๐  เมษายน  พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๐๙.๐๐ น.               ๙.๔ กิจกรรมเก็บต้นกล้าจัดทำแปลง วันเวลาการทำกิจกรรมอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

     

    40 40

    40. ติดตามและประเมินผลการปลูกป่าโกงกางและจำนวนปริมาณปลา

    วันที่ 29 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เป็นการออกติดตามและประเมินผลการปลูกป่าโกงกางที่ปลูกไว้ว่าได้ตายกี่ต้นและรอดกี่ต้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ดำเนินการลงเรือติดตามต้นโกงกางที่ได้ดำเนินการปลูกไว้ว่ารอดตายกี่ต้นและเสียหายกี่ต้นเพื่อนำเอาต้นโกงกางไปปลูกแทนต้นที่เสียหายผลการติดตามพบว่าส่วนใหญ่จะรอดตายแต่มีบางส่วนที่ตายและได้ให้ชรบ.กลับไปเอาต้นโกงกางมาปลูกแทนต้นที่เสียหายและดำเนินการติดตามในพื้นที่ต่อไป

     

    30 30

    41. จัดชุดลาดตระเวณการทำประมงผิดประเภทและการทำลายป่าชายเลน

    วันที่ 2 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เป็นการจัดชุดลาดตระเวรตามแนวคลองเพื่อป้องปรามการทำประมงผิดประเภทและการทำลายป่าโกงกาง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ใหุ้ชรบ.ออกเรือลาดตระเวรตามแนวคลองต่างๆในพื้นที่ของชุมชนเพื่อสำรวจว่ามีการทำประมงผิดประเภทและการทำลายป่าโกงกางหรือม้ายจนมาถึงคลองยาวได้พบชายคนหนึ่งกำลังตัดไม้โกงกางเลยเข้าไปแต่ชายดังกล่าวได้ขึ้นเรือเพื่อจะหนีความผิดและทางชรบ.ได้สกัดไว้ได้และสอบถามว่าตัดไม้เพื่อขายหรือม้ายเขาได้บอกว่าตัดไปทำเล้าไก่จากนั้นทางชรบ.ได้ทำการตักเตือนและบอกว่าตัดไปให้แประโยชน์ได้แต่ต้องมีการปลูกทดแทน

     

    20 21

    42. ประชุม ติดตามและประเมินผล โครงการโดยสภาชุมชน

    วันที่ 9 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมกรรมการสภาและชาวบ้านท่าข่ามควายเพื่อให้ทราบวัน เวลา กิจกรรมในการดำเนินโครงการเพื่อสะดวกในการทำกิจกรรมและต้องเตรียมงานในส่วนใดบ้าง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ดำเนินการจัดประชุมประจำเดือนสิงหาคม 2558 โดยนายประจัน โสภา พร้อมด้วยผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยฯ ผู้นำศาสนา สมาชิก อบต. ชาวบ้านท่าข้ามควายและบัณฑิตอาสาฯ ซึ่งมีรายละเอียดการประชุมดังนี้

    1. โครงการส่งเสริมพัฒนางานทะเบียน 5 จังหวัดชายแดนใต้ "ครอบครัวอยู่เย็น เป็นสุข"ประจำปีงบประมาณ 2558โดยนายประจัน โสภา ปลัดอำเภอทุ่งหว้า ได้ชี้แจงทำความเข้าใจให้ประชาชนมีความรู้เรื่องงานทะเบียนเพื่อให้เข้าใจถูกต้องตามหลักศาสนา
    2. โครงการบ้านสวย เมืองสุข ให้ทุกหมู่บ้านจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ และปลูกต้นไม้หมู่บ้านละ 83 ต้น ซึ่งทางหมู่บ้านได้ดำเนินกิจกรรมไปแล้วเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2558
    3. การขับเคลื่อนสู้ภัยโรคความดัน/เบาหวานด้วยพลังเครือข่ายอำเภอทุ่งหว้า
    4. การจัดอบรมเจ้าของร้านจำหน่ายของชำ เขตอำเภอทุ่งหว้า ซึ่งจะมีหนังสือแจ้งให้ทราบอีกครั้ง
    5. โครงการวันแม่ถึงวันพ่อ 116 วัน คนทุ่งหว้า ร่วมใจขจัดภัยยาเสพติด เช่นปฏิบัติการทำลายพืชกระท่อม ตรวจร้านขาย ยาในพื้นที่ การสร้างภูมิคุ้มกันในหมู่บ้าน ร.ร สถานประกอบการ นำผู้เสพเข้าบำบัดรักษา ปราบปรามยาเสพติดในพื้นที่ให้ประชาชนให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ด้วย
    6. โครงการทำนาตามวิถีไทยเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีชุมชนบ้านท่าอ้อยในวันที่ 26 ส.ค 2558
    7. เรื่องการปรับแต่งรถมอเตอร์ไซค์ที่ทำให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชนในหมู่บ้านขอให้ผู้ปกครองทุกคนตักเตือนบุตรหลานด้วย ในการประชุมครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากประชาชนเป็นอย่างดี บัณฑิตอาสาฯ ทำหน้าที่ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับทราบและเข้าร่วมประชุมโดยพร้อมเพรียงกัน
    8. รายงานการดำเนินกิจกรรมสสส.ในการดำเนิรกิจกรรมที่จะดำเนินการ

     

    70 73

    43. ติดตามและประเมินผลการปลูกป่าโกงกางและจำนวนปริมาณปลา

    วันที่ 16 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมการดำเนินกิจกรรมติดตามและประเมิณผลการปลูกป่ากงกางและจำนวนปริมาณปลาและให้สำรวจพื้นที่ที่มีขยะว่าอยู่ในพื้นที่ไดบ้างและสำรวจพื้นที่ว่างบ้านปลาหลังจากนั้นนำข้อมูลที่สำรวจมาสรุปการดำเนินกิจกรรมในครั้งนี้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการชี้แจงรายละเอียนในการดำเนินกิจกรรมในครั้งนี้ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทราบเพือเป็นแนวในการดำเนินกิจกรรมร่วมกันผลการดำเนินกิจกรรมในครั้งนี้ทราบว่ายังมีจำนวนขยะที่นำ้พัดพามาจากแหน่งชุมชนที่อาศัยรอบบริเวณชายฝั่งขยะมีมากในพื้นที่ท้ายอ่าวไม้ขาว

     

    30 32

    44. ติดตามและประเมินผลการปลูกป่าโกงกางและจำนวนปริมาณปลา

    วันที่ 1 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เป็นการลงประเมิณพื้นที่ป่าโกงกางที่เสือมโสมในพื้นต่างๆตามคลอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการลงประเมิณพื้นที่ป่าโกงกางครั้งนี้พบว่ายังมีคนลักลอบตัดไม้ดกงกางในบริเวรหมู่บ้านอีกโดยอยู่ในพื้นที่คอลงสองเป็นบริเวณกว้างจากนั้นให้กรรมการลงเดินว่าจะต้องนำต้ยโกงกางมาปลูกเสริมอเป็นจำนวนเ่ท่าไร

     

    30 31

    45. จัดชุดลาดตระเวณการทำประมงผิดประเภทและการทำลายป่าชายเลน

    วันที่ 6 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เป็นการลงประเมิณการทำประมงผิดประเภท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการลงประเมิณการทำประมงผิดประเภทครั้งนี้พบว่ายังมีคนลักลอบการทำประมงผิดประเภทอยู่โดยมีการจับคุมได้หนึ่งรายและรายนี้มีการตักเตือนแล้วครั้งนี้เลยนำส่งตำรวจให้ดำเนินคดี

     

    20 20

    46. ประชุม ติดตามและประเมินผล โครงการโดยสภาชุมชน

    วันที่ 9 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมกรรมการสภาและชาวบ้านท่าข่ามควายเพื่อให้ทราบวัน เวลา กิจกรรมในการดำเนินโครงการเพื่อสะดวกในการทำกิจกรรมและต้องเตรียมงานในส่วนใดบ้าง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โดยมีนายวิสูตรประกอบเป็นประธานในการประชุมพร้อมด้วยนายประเสริฐสองเมืองปลัดประจำอำเภอทุ่งหว้า กรรมการสภา โดยมีระเบียบวาระการประชุมดังนี้

    1. ให้มีการดำเนินงานของกองทุนหมู่บ้านสำหรับผู้ที่ค้างชำระเพื่อให้การบริหารจักการของกองทุนได้มีการหมุนเวียน
    2. การเฝ้าระวังเรื่องยาเสพติดห้ามมิให้มีการต้มน้ำกระท่อมหากฝ่าฝืนกระทำจะต้องถูกดำเนินการตามกฎหมายเพราะเป็นการย้ำเน้นเสมอจากทางอำเภอ
    3. การ เตรียมความพร้อมในการเข้าฝึกอบรมทบทวนชุดปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยของหมู่บ้าน(ชรบ.)ที่ทางอำเภอจะจัดขึ้นและเตรียมพร้อมเมื่อทางอำเภอเรียกฝึก
    4. ขอขอบคุณชาวบ้านท่าข้ามควายที่เข้าร่วมบริจาคโลหิต ในวันที่ 7 กันยายน 2558 ณ หอประชุม 100 ปี อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
    5. ขอขอบคุณ ชาวบ้านท่าข้ามควายที่ร่วมมือใน งานทำนาตามวิถีไทย
    6. ประกาศจากกศน.ใครที่กำลังศึกษาในระบบกศน.ให้ไปสอบปลายภาคในวันที่ 19 กันยายน2558ณโรงเรียนอนุบาลทุ่งหว้า
    7. ชี้แจงโครงการสนับสนุนตำบลละ 5 ล้านบาทและกระบวนการในการเสนอโครงการ
    8. การทำความเข้าใจบ้านที่เลี้ยงสัตว์หากมีการที่รถเกิดชนกับสัตว์เลี้ยงคนที่เลี้ยงต้องเป็นผู้รับผิดชอบบาดเจ็บด้วย
    9. การดำเนินงานในการปิกโครงการของสสส.ในวันที่12กันยายนโดยมีกรรมการสภาเป็นคนแบงงานในการจัดกิจกรรมครั้งนี้

     

    70 70

    47. เพื่อเสนอผลงานในการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมาให้หน่วยงานที่เกี่ยวก้องรับหราบ

    วันที่ 11 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เป็นการเสนอผลการดำเนินตามโครงการร้อยเรียงววิถีชุมชนชุบชีวิตแบบยังยืนคืนชุมนสู่ธรรมชาติ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การดำเนินโครงการร้อยเรียนงวิถีชีวิตแบบยังยื่นคืนชุมชนสู่ธรรมชาติตามโครงการที่ได้นำเสนอกับสสส.โดยมีพี่เลี้ยงช่าวในการดำเนินตามโครงการเพื่อให้บรรลุตามวัถุประสงค์ที่ว่างไว้โดยกิจกรรมในวันนี้เป็นกิจกรรมในการเสนอผลงานในการดำเนินงานในรอบปีในการดำเนินตามโครงการโดยมีสภาเป็นผู้ขับเคลี่อนงานในการทำดำเนินกิจกรรมต่างๆโดยสรปการดำเนินงานและภาพกิจกรรมให้คณะต่างๆและหน่วยงานตลอดจนผู้ร่วมการดำเนินโครงการที่ผ่านมาทราบ เช่น

    1. การชี้แจงการโครงการที่ได้รับเงินสนับสนุนจากสสส.
    2. จัดประชุมประชาคมหมู่บ้านเพื่อสรรหาคณะกรรมการสภาเพื่อให้คณะกรรมการ มาจากตัวแทนกลุ่มต่างๆในชุมชนจำนวน 25คนและมีการยกร่างกฎกติกาข้อบังคับในชุมชนโดยสภาและคนในชุมชน-มีการประชุมสภาเดือนละครั้ง
    3. กฎกติกาในการปกครองชุมชนในการใ้ประโยชน์จากป่าชายเลนที่เป็นรูปแบบเดียวกันในชุมชน
    4. สำรวจข้อมูลทำแบบสอบถามเกี่ยวกับการทำประโยชน์จากป่าชายเลน
    5. จัดเวทีการคืนข้อมูลที่สำรวจมากลับคือให้ชุมชนโดยการทำแผนการจัดการทรัพยากร
    6. มีการให้ความรู้เกี่ยวกับการขยายพันธุ์ของสัตว์น้ำขยายพันธุ์ที่เพิ่มขึ้น- ให้ความรู้ ฟื้นฟู สัตว์น้ำและการสร้างบ้านปลา-ติดป้ายบอกบริเวณการสร้างบ้านปลา- สร้างบ้านให้ปลา
    7. จัดซือเสื่อชูชีบ
    8. ไปปลูกป่าทดแทนที่อ่าวไม้ขาว- ไปเก็บขยะ- ไปติดป้ายชนิดของกงกาง
    9. ประชุม ติดตามและประเมินผล โครงการโดยสภาชุมชน
    10. ชุดชรบ.ลาดตระเวณตามแนวคลองต่างๆ เดือนละ 1 ครั้ง
    11. ไปเก็บต้นกล้า-จัดทำแปลง
    12. จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่

    หลังจากการดำเนินโครงการเสร็จสิ้นความคาดหวังต่อโครงการนี้คือ การที่ชุมชนได้มีความตระหนักต่อการอนุรักษ์พรัพยากรป่าชายเลนมีจิตสำนึกในการใช้ประโยชน์และใช้ประโยชน์อย่างถูกวิธี และคำนึงถึงโทษที่ตามมาของการใช้ประโยชน์ที่ผิดวิธี และมีการรักษากฎระเบียบของชุมชนที่มีการจัดตั้งไว้ และมีจิตสำนึกในการปลูกทดแทนเพื่อที่คงไว้ให้มีป่าชายเลยที่อุดมสมบูรณ์ ชาวบ้านไม่ต้องออกไปหากินที่มีระยะทางที่ไกลออกไปเพราะบริเวณของชุมชน เป็นเหล่งที่มีพรัพยากรที่ดี และถ้าหากคนในชุมชนรักษากฎระเบียบนี้ทุกคนชุมชนนี้จะมีป่าชายเลนที่อุดมสมบูรณ์ส่วนการดูแล และการพัฒนาให้ยังยืนคือชุมชนจะสร้างให้เป็นแหล่งที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติจะมีการส่งเสริมหน่วยงานที่มีความต้องการในการท่องเที่ยวที่มาดูเกี่ยวกับการดำรงชีวิตของคนในชุมชนต่อการใช้ชีวิตในการทำประมงแบบยังยืนและชาวบ้านจะเป็นผู้ดูแลร่วมกัน

     

    110 110

    48. กิจกรรมการจัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ

    วันที่ 13 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปงานและตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้องของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทางคณะกรรมการผู้รับผิดขอบโครงการและคณะกรรมการสภาได้ประชุมหารือเรีื่องการสรุปปิดโครงการและตรวจสอบความถูกต้องของรายละเอียดของโครงการ

     

    6 8

    49. กิจกรรมติดตามโครงการ กับพี่เลี้ยงในพื้นที่

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจสอบเอกสารและดำเนินการจัดทำง.1งวด2,ง.2ส.4 ส่งยังสจรส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เอกสารการปิดโครงการรส่งยังสจรส.

     

    2 3

    50. การล้างอัดขยายภาพ

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การล้างอัดขยายภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การล้างอัดขยายภาพ นำภาพถ่ายไปสู่การเผยแพร่ต่อไป 

     

    350 350

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างให้ชุมชนมีความแข้มแข็งร่วมแรงร่วมในพัฒนาชุมชน
    ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. มีคณะกรรมการสภาชุมชนบ้านท่าข้ามควายเดือนละหนึ่งครั้ง 2. มีกฎกติกาในชุมชน 3. ข้อขัดแย้งในชุมชนลดลงมากกว่าร้อยละ70 เชิงคุณภาพ 1. สภาในหมู่บ้านมีกิจกรรมการดำเนินงานต่อเนื่อง 2. ชุมชนปฏิบัติกฏระเบียบโดยการทำงานร่วมกันของคนในชุมชนและคณะกรรมการสภา

    1.คณะกรรมการสภาชุมชนจำนวน25 คน ประกอบด้วย ตัวแทนกลุ่มต่างๆในหมู่บ้าน ตัวแทนผู้นำศาสนา ผู้นำท้องถิ่นตัวแทนชาวบ้าน มีการประชุมทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง รวมทั้งหมด 12 ครั้ง คณะกรรมการสภาชุมชน มีการประชุมขับเคลื่อนกิจกรรมของโครงการและแก้ปัญหาในชุมชน เช่น ขับเคลื่อนกิจกรรมเกี่ยวกับป่าชายเลนการสร้างงดงามสัมพันธ์ให้เกิดขึ้นในชุมชนการจัดกิจกรรมในวันสำคัญๆ ของชุมชน การเชื่อมโยงเครือข่ายภายนอกชุมชน เป็นต้น


    2. ได้กติกาหมู่บ้านในการใช้ประโยชน์จากการ ใช้ป่ายเลนร่วมกัน จำนวน 10ข้อประกอบด้วย 1 ห้ามตัดไม้บริเวณป่าชายเลน 2 ส่งเสริมให้มีการปลูกป่าทดแทน 3 ห้ามบุกรุกพื้นที่ป่าชายเลน 4 ห้ามมีการทำประมุงผิดประเภทในชุมชน 5 ส่งเสริมการทำบ้านปลา(ธนาคารปลา) 6 จัดให้มีชุดลาดตระเวรเพื่อจับคุมผู้กระทำผิด 7 สร้างจิตสำนึกร่วมกันในการอนุรักษ์ธรรมชาติ 8 ไม่ทำลายแหล่งอาหารของสัตว์น้ำ 9 ห้ามล่าสัตว์สงวนภายในชุมชน 10 ชุมชนต้องยอมรับกฎกติการะเบียบข้อบังคับอย่างเคร่งครัด


    3. ข้อขัดแย้งในชุมชนลดลงมากกว่าร้อยละ 70ชุมชนปฏิบัติกฏระเบียบโดยการทำงานร่วมกันของคนในชุมชนและคณะกรรมการสภา

    2 เพื่อให้คนในชุมชนตระหนังถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
    ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. มีฐานข้อมูลทรัพยากรป่าชายเลน 2. มีแผนการจัดการ 3. มีการขยายพันธุ์ของปลาที่เพื่มมากขึ้น 4. มีป่าชายเลนที่เพื่มขึ้น 5. เพื่มการขยายพันธุ์ของป่ากงกาง 6. ติดตามและประเมิณผลการปลูกป่ากงกางและจำนวนปริมาณ 7. จำนวนครั้งการทำประมงและการบุกรุงป่าชายเลนลดลงมากกว่าร้อยละ 80 เชิงคุุณภาพ 1. คนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ประโยชน์และการอยู่ร่วมกันของป่าชายเลน

    ชุมชนปฏิบัติกฏระเบียบโดยการทำงานร่วมกันของคนในชุมชนและคณะกรรมการสภา

    3 กิจกรรมติดตามสนับสนุนโครงการสสส.และสจรส.มอ.
    ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมสสส.และสจรส.

    คณะทำงานเข้าร่วมประชุม จำนวน 4 ครั้ง ได้เรียนรู้การบริหารจัดการโครงการและการเงิน

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างให้ชุมชนมีความแข้มแข็งร่วมแรงร่วมในพัฒนาชุมชน (2) เพื่อให้คนในชุมชนตระหนังถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (3) กิจกรรมติดตามสนับสนุนโครงการสสส.และสจรส.มอ.

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ร้อยเรียงวิถีชุมชน ชุบชีวิตแบบยั่งยืน คืนชุมชนสู่ธรรมชาติ

    รหัสโครงการ 57-01452 รหัสสัญญา 57-00-1453 ระยะเวลาโครงการ 15 สิงหาคม 2557 - 15 กันยายน 2557

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

    การติดตามในช่วงแรกๆ จะพบว่ามีปริมาณขยะเยอะเจอปลาตัวใหญ่น้อย เจอการบุกรุกทำลายป่า หลังจากดำเนินโครงการมีการสร้างความเข้าใจเรื่องการช่วยกันดูแลฟื้นฟูป่า การปลูกป่าทดแทน สร้างการมี่สวนร่วมในการอนุรักษ์ป่าชายเลนทุกภาคส่วน จะสังเกตได้ว่าปริมาณสัตว์วัยอ่อนมีเพิ่มมากขึ้นชุมชนมีข้อมูลทรัพยากรมาแลกเปลี่ยนภูมิปัญญากัน สืบทอดไปยังลูกหลานช่วยกันดูแลในชุมชนต่อไป

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    การเพิ่มพื้นที่ป่าชายเลน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    ได้กติกาหมู่บ้านในการใช้ประโยชน์จากการ ใช้ป่ายเลนร่วมกัน จำนวน 10ข้อประกอบด้วย1 ห้ามตัดไม้บริเวณป่าชายเลน 2 ส่งเสริมให้มีการปลูกป่าทดแทน 3 ห้ามบุกรุกพื้นที่ป่าชายเลน 4 ห้ามมีการทำประมุงผิดประเภทในชุมชน 5 ส่งเสริมการทำบ้านปลา(ธนาคารปลา) 6 จัดให้มีชุดลาดตระเวรเพื่อจับคุมผู้กระทำผิด 7 สร้างจิตสำนึกร่วมกันในการอนุรักษ์ธรรมชาติ 8 ไม่ทำลายแหล่งอาหารของสัตว์น้ำ 9 ห้ามล่าสัตว์สงวนภายในชุมชน 10 ชุมชนต้องยอมรับกฎกติการะเบียบข้อบังคับอย่างเคร่งครัด

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    ร้อยเรียงวิถีชุมชน ชุบชีวิตแบบยั่งยืน คืนชุมชนสู่ธรรมชาติ จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 57-01452

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายดำริษ์ ประกอบ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด