directions_run

กระบวนการชุมชนเพื่อพัฒนาอ่าวทุ่งนุ้ยสู่การจัดการตนเองบ้านหลอมปืน หมู่14 ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล (ต่อยอด)

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ กระบวนการชุมชนเพื่อพัฒนาอ่าวทุ่งนุ้ยสู่การจัดการตนเองบ้านหลอมปืน หมู่14 ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล (ต่อยอด)
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01460
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2557 - 31 กรกฎาคม 2558
งบประมาณ 154,640.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายประพันธ์ ฮ่องสาย
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางกัลยทรรศน์ ติ้งหวัง
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนบ้านหลอมปืน หมู่ที่14 ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.8410444614682,99.782466888428place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ค. 2557 30 พ.ย. 2557 1 ก.ค. 2557 4 ม.ค. 2558 62,000.00
2 1 ธ.ค. 2557 31 พ.ค. 2557 5 ม.ค. 2558 31 ก.ค. 2558 77,500.00
3 1 มิ.ย. 2558 31 ก.ค. 2558 15,140.00
รวมงบประมาณ 154,640.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อยกระดับให้ทีมคณะกรรมการ 6 ฝ่าย ให้เป็นกลไกสภาชุมชนบ้านหลอมปืน

เชิงปริมาณ

  1. คนในคณะทำงานร้อยละ 60 สามารถนำธรรมนูญ (ระเบียบ) ไปปฏิบัติใช้ในการจัดการอ่าวทุ่งนุ้ยได้จริง
  2. เกิดกลไกสภาชุมชนบ้านหลอมปืนที่สามารถขับเคลื่อนงานอย่างเป็นรูปธรรมในการแก้ไขปัญหา พัฒนาชุมชนของตนเอง

เชิงคุณภาพ

  1. คนในชุมชนตระหนักในการใช้ธรรมนูญ (ระเบียบ) ในการจัดการอ่าวทุ่งนุ้ย
  2. คนในชุมชนทั้ง 6 ฝ่าย เป็นตัวขับเคลื่อนในการนำธรรมนูญ (ระเบียบ) ใช้ในการจัดการอ่าวทุ่งนุ้ย และนำไปสู่การจัดการชุมชน สู่ชุมชนจัดการตนเอง
  3. เกิดระบบกลไก และโครงสร้างการขับเคลื่อนงานของสภาชุมชนบ้านหลอมปืน
2 เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนเกิดการเรียนรู้หลักสูตรท้องถิ่น สู่การจัดการชุมชนน่าอยู่

เชิงปริมาณ

1.กลุ่มเยาวชนร้อยละ 60 มีความรู้และสามารถนำเสนอองค์ความรู้ให้แก่คนภายในชุมชนสู่คนภายนอกได้ 2.กลุ่มเยาวชนรักษ์อ่าวทุ่งนุ้ยสามารถเป็นต้นแบบที่ดี และสามารถขยายเยาวชนในชุมชนเพิ่มจำนวน 10 คน 3.เยาวชนมีแผนงานร่วมกับคนในชุมชนกับการจัดการตนเอง

เชิงคุณภาพ

  1. เกิดแกนนำเยาวชนต้นแบบ ที่สามารถเป็นแบบให้กับเด็กเยาวชนในชุมชนและนอกชุมชน 
  2. เยาวชนเป็นส่วนหนึ่งของขับเคลื่อนงานพัฒนาชุมชนบ้านหลอมปืน
3 เพื่อศึกษาผลกระทบด้านสุขภาวะชุมชนบ้านหลอมปืน

เชิงปริมาณ

  1. เกิดข้อมูลด้านสุขภาวะชุมชนในแต่ละครัวเรือน ร้อยละ 90 ของพื้นที่บ้านหลอมปืน
  2. เกิดข้อมูลองค์รวมด้านสุขภาวะของชุมชนบ้านหลอมปืน

เชิงคุณภาพ

  1. ได้ข้อมูลสุขภาวะชุมชนบ้านหลอมปืน ด้าน เศรษฐ์กิจ สังคมวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม
  2. ได้แนวทางในการจัดการสุขภาวะของคนในชุมชน
4 เพื่อบริหารจัดการและการประสานประเมินผลโครงการ

จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. และ สจรส.

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2557 16:58 น.