stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ชุมชนบ้านห้วยไทร นำขยะสร้างอาชีพ
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01463
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2557 - 31 พฤษภาคม 2558
งบประมาณ 212,900.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมชาย ทองสุวรรณ์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นาย สุธรรม แก้วประดิษฐ์ โทร. 087-8940580 e.mail thammy x2514@g mail.com
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนบ้านห้วยไทร หมู่ที่ 4 ตำบลปากพูน อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด 8.5372464448294,99.970878586028place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2557 31 ต.ค. 2557 1 มิ.ย. 2557 18 ต.ค. 2557 85,200.00
2 1 พ.ย. 2557 30 เม.ย. 2558 19 ต.ค. 2557 31 พ.ค. 2558 106,500.00
3 1 พ.ค. 2558 30 มิ.ย. 2558 21,200.00
รวมงบประมาณ 212,900.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ครัวเรือนมีรายได้จากเพาะเห็ดเป็นอาชีพเสริม สร้างขบวนการให้คนในชุมชนมีความรู้ และมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนอาชีพ เสริมสร้างรายได้ให้ครัวเรือนของชุมชน

1.1 กลุ่มเป้าหมาย 20 ครัวเรือน มีความรู้ความเข้าใจในการเพาะเห็ด

1.2 มีชุดความรู้ แก้ปัญหาสนับสนุนอาชีพเสริม ผลักดันสู่ชุมชน

1.3 ได้ผลสรุปจากข้อมูลที่สามารถนำไปทำแผนพัฒนาชุมชนได้อย่างยั่งยืน

1.4 มีกลุ่มเป้าหมาย 20 ครัวเรือน ที่เข้าร่วมกลุ่มในการเพาะเลี้ยงเห็ด มีชุดความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการผลิต และการจัดการผลิต เพื่อลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ให้กับ1.1กลุ่มเป้าหมายในครัวเรือน 20 ครัวเรือนแปละกลุ่มเป้าหมายรอง ครัวเรือนในชุมชนทั้งหมด ความรู้ ความเข้าใจในการเพาะเลี้ยงเห็ดเพื่อบริโภคเห็ดปลอดสารพิษ

1.5 มีกระบวนการจัดเก็บข้อมูลและรวบรวมข้อมูล

1.6 มีเวทีวิเคราะห์ข้อมูล

2 ขยะในชุมชนลดลงจากการแปลงมูลค่าขยะขี้เลื่อยเป็นวัสดุเพาะเห็ด

2.1 ปริมาณขยะจากขี้เลื่อยลดลง ลดปัญหาโรค และสุขภาพในชุมชน

2.2 มีกฎกติกากลุ่มในการเข้าร่วมกลุ่มการเพาะเลี้ยงเห็ด.1ขยะขี้เลื่อยได้นำมาใช้ในการเพาะเห็ดจำนวน 20 ครัวเรือน

2.2 มีศูนย์เรียนรู้จำนวน 1 ศูนย์

3 คนในชุมชนมีความสามัคคีเพิ่มขึ้นจากการร่วมมือทำกิจกรรมของชุมชน

3.1 ภาคีที่เข้าร่วมประชุม คณะทำงานที่มาจากตัวแทนของเขตต่างๆ

3.2 มีการแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจ สรุปผลการดำเนินของกลุ่มเป้าหมาย

3.3 มีกระบวนการประเมินผลโครงการ

3.4 มีการประชาสัมพันธ์โดยวิทยุชุมชน3.1มีคณะทำงานในการบริหารจัดการของชุมชนจำนวน 10 คน

3.5 มีเวทีประชุมคณะการทำงาน

4 เพื่อการบริหารจัดการและติดตามผลการประเมินงาน

จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับสสส.และสจรส.

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2557 16:58 น.