แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ สินสืบสุขร่วมใจสร้างชุมชนเข้มแข็ง (ต่อยอด) ”

โรงยิมโรงเรยนเทศบาลวัดคงคาสวัสดิ์

หัวหน้าโครงการ
นาง จิตติพร เรืองทอง

ชื่อโครงการ สินสืบสุขร่วมใจสร้างชุมชนเข้มแข็ง (ต่อยอด)

ที่อยู่ โรงยิมโรงเรยนเทศบาลวัดคงคาสวัสดิ์ จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 57-01465 เลขที่ข้อตกลง 57-00-1080

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มิถุนายน 2557 ถึง 10 กรกฎาคม 2558


กิตติกรรมประกาศ

"สินสืบสุขร่วมใจสร้างชุมชนเข้มแข็ง (ต่อยอด) จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงยิมโรงเรยนเทศบาลวัดคงคาสวัสดิ์

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สินสืบสุขร่วมใจสร้างชุมชนเข้มแข็ง (ต่อยอด)



บทคัดย่อ

โครงการ " สินสืบสุขร่วมใจสร้างชุมชนเข้มแข็ง (ต่อยอด) " ดำเนินการในพื้นที่ โรงยิมโรงเรยนเทศบาลวัดคงคาสวัสดิ์ รหัสโครงการ 57-01465 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มิถุนายน 2557 - 10 กรกฎาคม 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 175,350.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 80 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อร่วมสร้างชุมชนปลอดขยะพัฒนาสำนึกรักษาสิ่งแวดล้อม
  2. เพื่อให้ชุมชนมีรายได้จากการแปลงรูปขยะต่อเนื่อง โดยใช้ นโยบายหนึ่งขยะหนึ่งผลิตภัณฑ์
  3. เพื่อสร้าง ชุมชนเขียวสวยด้วยผักคนสุขภาพดี
  4. เพื่อบริหารและติดตามพัฒนาโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ไปประชุม สจรส.

    วันที่ 14 มิถุนายน 2557 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงขั้นตอนกระบวนการการเรียนรู้กิจกรรมในการทำโครงการต่อยอดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้มีความเข้าใจในโครงการมากยิ่งขึ้นในแต่ละกิจกรรมของโครงการ

     

    3 3

    2. ประชุมและรับซื้อขยะรีไซรเคิลที่ธนาคารขยะ

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -มีการรับซื้อขยะ -ชั่งน้ำหนักของขยะ -คัดแยกขยะ -ประชุมแกนนำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -แกนนำเข้าใจในโครงการมากขึ้น -ทำให้ชาวบ้านรู้จักคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถังขยะเทศบาล -ทำให้ชาวบ้านมีรายได้เพิ่มขึ้น

     

    20 20

    3. ประชุมทีมชี้แจงโครงการและมอบหมายงาน

    วันที่ 5 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดการแบ่งงานให้แกนนำแต่ละซอย 5 ซอย  ซอยละ 3 คน
    2. รับผิดชอบและติดตามผลการดำเนินการในชุมชน
    3. รับซื้อขยะที่ธนาคารขยะ
    4. มีผู้รับผิดชอบดังนี้
    • ซอยถมยา 1 นางจิรา  สิทธิรัตน์    นางปรีญา  สินธุพาชี      นายเยื้อน ทรายอ่อน
    • ซอยถมยา 2 นางเอียด องอาจ  นางสาวกนกกร  แซ่ด่าน    นางพรจิตร์  จันทรเภา
    • ซอยถมยา 3 นายวัชรินทร์  เรืองทอง  นางอารีย์  จันทร์แก้ว    นางนิภาภรณ์  ชาติปักษี
    • ซอยถมยา 4 นายเจด็จ  สังสุข  นางกุศล จันทร์สุวรรณ  นางสุชานาถ  มีวงศ์
    • ซอยถมยา 5 นางราตรี  ทองรอด  นางสรัสวดี  เจริญศรี    นายพล  เจริญศรี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ทำให้ชาวบ้านมีความรับผิดชอบมากขึ้นในการกำจัดขยะในครัวเรือน
    • ทำให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
    • ทำให้คนต่างชุมชนได้เข้าร่วมกิจกรรม
    • ชาวบ้านมีรายได้เพิ่มขึ้น

     

    20 20

    4. จัดทำป้ายโครงการสินสืบสุขร่วมใจสร้างชุมชนเข้มแข็ง ป้ายปลอดบุหรี

    วันที่ 11 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำป้ายโครงการมาชี้แจงให้ทราบและดำเนินการกิจกรรมต่าง ๆ ตามโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้แกนนำมีความเข้าใจในโครงการมาขึ้น และสามารถอธิบายต่อให้คนในชุมชนมีความเข้าใจมาขึ้น

     

    20 20

    5. พัฒนาปลูกผักเกาะกลางและที่ว่างเปล่าในชุมชน

    วันที่ 25 สิงหาคม 2557 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ปลูกผักที่เกาะกลางถนนใหญ่และถนนซอยมีการปรับพื้นที่รกร้างปลูกผักคนในชุมชนร่วมใจปลูกผักมีการปลูกผักเพื่อใช้ประโยชน์จากที่รกร้างและสองข้างถนน
    • ส่งเสริมนักเรียนปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนเพื่อให้นักเรีนได้บริโภคผัก ลดค่าใช้จ่ายอาหารกลางวัน ได้มีนิสัยเก็บออมในลักษณะธนาคารผักแลกไข่และนำผักมาจำหน่ายที่ศูนย์เรียนรู้และที่ธนาคารขยะชุมชน โดยผลัดเปลี่ยนกันเข้าร่วมกลุ่ม เดือนละครั้ง ในคาบว่างของเด็กแต่ละชั้นร่วมกับกลุ่มชาวบ้านครั้งละ 10 คน ร่วม 12 ครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้คนในชุมชนใช้พื้นที่ว่างเปล่าให้เกิดประโยชน์ เพื่อให้คนในชุมชนรู้จักปลูกผักกินเอง ลดรายจ่ายจากการซื้อผักและปลอดสารพิษ มีการแบ่งบันความสามัคคีร่วมคิดร่วมทำมีการแลกเปลี่ยนพูดคุยกันมากขึ้นและสร้างจิตสำนึกรักสิ่งแวดล้อม

     

    10 10

    6. รับซื้อขยะรีไซรเคิล และ ประชุมแกนนำ

    วันที่ 5 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • อธิบายเรื่องการกำจัดขยะ
    • ใช้ระบบ 3 R
    • ทำหนังสือเชิญประชุมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานตกลงร่วมกันในการร่วมกันสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในชุมชนเพื่อให้เกิดการพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นการสร้างจิตสาธารณะและกฏกติกาชุมชน

     

    20 20

    7. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ

    วันที่ 18 กันยายน 2557 เวลา 10:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • แถลงโครงการสินสืบสุขร่วมใจสร้างชุมชนเข้มแข่ง ( ต่อยอด )
    • จัดทำปฏิทินสินสืบสุขร่วมใจสร้างชุมชนเข้มแข่งเดือนละครั้ง
    • จัดเวทีชาวบ้านเพื่อประชุมร่วมกับเครือข่ายในชุมชน ภายใต้ประเด็น จิตสาธารณะ กติกาชุมชน ทำให้สินสืบสุขน่าอยู่ได้อย่างไร จำนวน 1วัน เพื่อสร้างจิตสำนึกรักสิ่งแวดล้อม และพัฒนากติการ่วมธำรงนโยบายสาธารณะในชุมชน
    • เจ้าหน้าที่สาธารณะสุขและสิ่งแวดล้อมมาอธิบายเรื่องการจัดการขยะในชุมชนก่อนทิ้งถังขยะเทศบาลว่ามีผลดีต่อสิ่งแวดล้อมทำให้ชุมชนน่าอยู่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คนมาร่วมกิจกรรมครบตามเป้าหมาย
    • ชาวสินสืบสุขเห็นด้วยกับการลดปริมาณขยะจากครัวเรือนได้รณรงค์ทุกครัวเรือนเรื่องการไม่ใช้ หรือลดปริมาณการใช้พลาสติก  และยอมรับว่าการลดขยะจากครัวเรือน ช่วยทำให้ทำให้บ่อฝั่งกลบของเทศบาลเต็มช้าลง

     

    80 80

    8. กิจกรรมโต้วาทีเด้กนักเรียนร่วมรักษาสิงแวดล้อม

    วันที่ 19 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดตั้งการโต้วาทีเด็กนักเรียนโรงเรียนเทบาลวัดงคาสวัสดิ์และจัดตั้งกองทุนธนาคาขยะรูปแบบกองทุนสะสม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้ชาวบ้านรู้จักรักสิ่งแวดล้อมในชุมชน และรู้จักการคัดแยกขะก่อนทิ้ง นำขยะเหลือใช้มาใช้ใหม่และสร้างมูลค่าของขยะ

     

    80 80

    9. ร่วมกิจกรรมปลูกผักบริเวณเกาะกลางและถนนซอย

    วันที่ 25 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมกันเก็บขยะและพัฒนาพื้นที่ที่ว่างเปล่าและปลูกผัก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้คนในชุมชนใช้พื้นที่ว่างเปล่าให้เกิดประโยชน์ เพื่อให้คนในชุมชนรู้จักปลูกผักกินเอง ลดรายจ่ายจากการซื้อผักและปลอดสารพิษ มีการแบ่งบันความสามัคคีร่วมคิดร่วมทำมีการแลกเปลี่ยนพูดคุยกันมากขึ้นและสร้างจิตสำนึกรักสิ่งแวดล้อม

     

    10 10

    10. รับซื้อขยะรีไซรเคิล และ ประชุมแกนนำ

    วันที่ 5 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดำรงรักษารูปแบบธนาคารขยะ และขยายวงสู่ชุมชนใกล้เคียงโดยใช้กระบวนการสร้างสำนึกพลเมืองในเยาวชนโดยการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อสร้างสำนึกพลเมืองในนักเรียน ได้แก่ การสำรวจปัญหา การทำฉันทามติ การรวบรวมข้อมูล และการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ซึ่งจะทำให้ผู้เข้ากระบวนการมีความรู้ความเข้าใจ ในปัญหาสิ่งแวดล้อม เกิดทักษะกระบวนการคิด การแก้ปัญหา และก่อให้เกิดคุณลักษณะความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี อันเป็นคุณสมบัติของพลเมืองดีที่ตระหนักในความสำคัญของการร่วมกันแก้ปัญหาและสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นัดวันขายตามเดิม ทุกเดือน วันอาทิตย์แรก
    2. รับซื้อขยะราคาเท่าท้องตลาดหรือสูงกว่าเล็กน้อย
    3. ครัวเรือนต้องแยกขยะตามประเภทมาเอง ห้ามนำขยะรวมแล้วมาแยกที่จุดขาย
    4. จัดตั้งแนวทางกองทุนชุมชนธนาคารขยะเป็นรูปแบบ มีกรรมการและมีกิจกรรมต่อเนื่อง

     

    20 20

    11. ร่วมกันดูแลแปลงผัก และปลูกผักบริเวณเกาะกลางและถนนซอย

    วันที่ 10 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปลูกผักสองข้างทางและเกาะกลาง หน้าบ้าน สร้างพื้นที่สีเขยวให้ชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านรู้จักปลูกผักปลอดสารพิษไว้กินเอง ทำให้ลดราจ่ายจากการซื้อผัก และมีการแบ่งปัน ลดโรค

     

    10 10

    12. ทำดอกไม้จากน้ำยาปรับผ้านุ่มและทำน้ำยาล้างจาน

    วันที่ 15 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นำถุงน้ำยาและกาวสองหน้า กระดาษย่น ลวดเหล็กชนิดอ่อน ใบไม้สำเร็จรูป
    • N70 เกลือ น้ำมะนาว สีผสมอาหาร 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้แนวทางการประกอบอาชีพและวิธีการจัดการขยะนำมาใช้ซ้ำสร้างมูลค่า รู้จักคัดแยกขยะที่ถูกต้อง

     

    10 10

    13. สรุปโครงการปิดงวด 1

    วันที่ 18 ตุลาคม 2557 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปิดสรุปโครงการงวดที่1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้มีการจัดการขยะในครัวเรือนก่อนทิ้งทำให้ขยะมีค่าและนำกลับมาใช้ซ้ำและมีกลุ่มน้ำหมักชีวภาพ น้ำยาล้างจาน น้ำหมักสุขภาพจากผลไม้ในชุมชนที่รกร้างว่างเปล่าเกาะกลางและสองข้างทางให้เกิดประโยชน์ และนำภาชนะที่เหลือใช้มาใช้ซ้ำปลูกผักปลอดสารพิษ ปลูกผักกินเอง เกิดผักสวนหย่อมกินได้จากชาวบ้านแบบรูปแบบสวนผักคนเมือง เกิดการทำบัญชีครัวเรือนในชุมชน จัดตั้งกลุ่มอาชีพเสริมผลิตภัณฑ์จากขยะสร้างรายได้ตั้งกลุ่มกองทุนเงินจากธนาคารขยะร่วมหุ้น สร้างจิตสำนึกรักสิ่งแวดล้อมในเยาวชน

     

    3 3

    14. จัดตั้งกองทุนออมธนาคารขยะ ในรูปแบบเงินกองทุนสะสม

    วันที่ 21 ตุลาคม 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในชุมชนเรื่องการคัดแยกขยะทำให้ชุมชนมีระเบียบ มีความรักความสามัคคีทำให้สิ่งแวดล้อมในชุมชนดีขึ้นและไม่มีพาหะนำโรค ชุนชนมีระเบียบมากขึ้น มีกฏกติกาชุมชนโดยเจ้าหน้าที่กองสาธารณะสุขเทศบาลเมืองปากพนังเป็นคนนำเสวนา สร้างจิตสำนึกให้นักเรียนรักสิ่งแวดลล้อม ในการขัดแย้งขยะของโรงเรียนรวมกับชุมชนในการกำจัดขยะคัดแยกก่อนทิ้งลงถังขยะทุกครั้ง จัดกองทุนเงินออมธนาคารขยะสู้ชุมชนใกล้เคียงโดยใช้กระบวนการสร้างจิตสำนึกพลเมืองในเยาวชนโดยจัดการเรียนรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทำบัญชีครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้นักเรียนและชาวบ้านมีความรู้แนวคิดปรัชญาเศษรฐกิจพอเพียง และ เรียนรู้หลักการทำบัญชีครัวเรือน แบบง่าย โดยเน้นการประเมิน บันทึก รายจ่าย และการออม เนื่องกจากรายรับ ส่วนใหญ่ชาวบ้านมักมีรายรับสมำเสมอ ส่วนรายจ่ายจะเป็นตัวแปรที่ทำให้เกิดการออมได้ กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการถามตอบบ และให้ลงมือทำ ทำให้ ผุ้เข้าร่วมกระบวนการ มีคาวามเข้าใจ และสามารถฝึกปฏิบัติทำบัญชีรายจ่ายในครัวรือน ได้เอง เกิดแนวคิด จากผุ้เข้าร่วมกิจกรรมในการบ่งบอกประโยชน์ที่สำคัญของการทำบั้ญชีครัวเรือนในอดีต ที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนในกลุ่ม โดยผู้ที่ยังไม่เริิมทำ มีความเข้าใจและเห็นประโยชน์จากเพื่อนที่เป็นต้นแบบ

     

    80 90

    15. ประชุมทีมและรับซื้อขยะรีไซรเคิลที่ธนาคารขยะ

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงาน และรับซื้อขยะที่ธนาคารขยะ คัดแยกขยะแต่ละประเภท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมคณะกรรมการและพูดคุยปัญหานชุมชนและความต้องการของชาวบ้าน รับซื้อขยะจากชาวบ้านและมีการคัดแยกขยะในชุมชนและเยาวชนในชุมชนได้ออกมาขายขยะและเด็กเล็ก ๆ ได้ช่วยกันแยกขยะเป็นหมวดหมู่ของขยะแต่ละประเภทที่สามารถนำกลับมาใช้ได้อีก เช่น ถุงขนม หนังยาง กระดาษ กลับมาใช้ใหม่

     

    20 20

    16. หมอนสุขภาพจากหลอดดูด

    วันที่ 14 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ซื้อผ้ามาเย็บปลอกหมอนและใส่ซิปจำจวน 10 ใบ หลอดน้ำแข็งจากงานต่าง ๆ นำมาล้างแล้วตากแดดให้แห้ง นำมาตัดเป็นท่อน ๆ 1.5 ซม. แล้วยัดใส่ไปในหมอนจนเต็ม ประมาณ 6 กรัม และใส่สมุนไพร การพูล ผิวมะกรูด พิมเสน
    นอนกลางคืนจะทำให้นอนหลับสบายเพราะมีกลิ่นหอม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นอนตอนกลางคืนจะทำให้ไม่เป็นโรคตกหมอน และคนเป็นภูมิแพ้นอนดีเพราะไม่มีไร้ฝุ่น จึงทำให้ไม่เป็นหวัดเวลานอน พี่สิ่วเล่าว่าการทำหมอนสุขภาพทำให้นอนตอนกลางคืนไม่ปวดคอเพราะหมอนมันยืดหยุ่นได้ ทำให้ตื้นนอนตอนเช้าไม่ปวดศีรษะและต้นคอทำให้สุขภาพดีขึ้นไม่เป็นภูมิแพ้และไร้ฝุ่น การใส่กานพลู พิมเสน เม็นทอน ทำให้หายใจโหล่งดี และยังเป็นการลดโรคไปในตัว มีการพูดคุยกันมากขึ้นแลกเปรียบกันมาขึ้น  แนะนำของดีๆเกี่ยวกับสุขภาพให้กันและกัน

     

    10 10

    17. ร่วมกันพัฒนาเกาะกลางและสองข้างทางและหน้าบ้าน

    วันที่ 21 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานโดยใช้น้ำหมักชีวภาพรดผัก และการปรับปรุงภูมิทัศน์ในชุมชนด้วยการเพิ่มพื้นที่สีเขียว การเก็บขยะตามป่ารกมีการตัดต้นไม้ตามที่ว่างไม่มีบ้านคน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านได้ลดรายจ่ายในการซื้อผักมารับประทานและปลอดภัยจากสารเคมี พี่ติ่งเล่าว่าเมื่อก่อนต้องซื้อผักจากข้างนอกพอเข้าร่วมโครงการได้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้อผักมาใช้ในครัวเรือน และยังแบ่งปันให้เพื่อนบ้านได้ทานหรือแลกเปลี่ยนของที่ปลูกเพื่อแบ่งกันทานและมีความสุขในการปลูกผักและมีการพูดคุยวิธีการปลูกของผักแต่ละชนิดว่าขึ้นกับดินแบบไหน มีการพัฒนาพื้นที่ตามหน้าบ้านเป็นผักในกระถางจากของที่สามารถนำมาใส่ดินได้นำกลับมาใช้ใหม่ลดขยะในชุมชนลงไปอีก

     

    10 10

    18. ฝึกทำบายศรี

    วันที่ 28 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อุปกรณ์ -ใบตอง -ดอกไม้ -เข็มหมุด -ตัวแม็ก -ไม้เสียบลูกชิ้น จากนั้นนำไปตองมาฉีกให้ได้ขนาดเท่า ๆ กัน นำมาม้วนตัวบายศรี ทำเป็นลูก2,3,5และนำมาประกอบเป็นบายศรี
    ป้าแอ๋วทำมานานแล้วและจะได้ถ่ายทอดให้คนรุ่นหลังได้ใช้ไปประกอบอาชีพ มีรายได้เพิ่มขึ้นจากบายศรีชนิดต่าง ๆ และสามารถนำไปทำเป็นกระทงขายได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้ได้มีคนสืบทอดการทำบายศรีตามงานพิธีต่าง ๆ และมีรายได้จากการทำบายศรี เพราะบายศรีแต่ละอย่างมีการทำที่แตต่างกันไปบ้างและยังอยู่ในพื้นฐานหลักการเดิมมาดัดแปลงไปบ้างก็ได้ เพื่อได้ใช้ประกอบอาชีพ ทำกระทงใบตองขายสร้างรายได้ให้ตัวเองและครอบครัว ป้าแอ๋วเล่าว่าการทำบายศรีทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้นและรักษาประเพณีการทำบายศรีในงานต่าง ๆ ทำให้เกิดมูลค่าของใบตองได้มากขึ้น มีความคิดจะดัดแปลงเป็นแบบต่าง ๆ

     

    10 10

    19. รับซื้อขยะและประชุมแกนนำ

    วันที่ 4 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รับซื้อขยะในชุมชนสินสืบสุข และประชุมแกนนำเรื่องการกำจัดขยะในชุมชน มีการคัดแยกขยะและสามารถบอกประเภทของขยะแต่ละชนิดได้และสามารถนำขยะมาใช้ใหม่ได้อีกครั้งและลดขยะได้อีกด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พลาสติกจะน้อยลงไปบ้างเพราะชาวบ้านจะรู้จักการใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ไหมมากขึ้นจึงทำให้ชุมชนมีขยะน้อยลง กรรมการได้ประชุมและลงความเห็นว่าคนในชุมชนรู้จักการคัดแยกขยะได้มากขึ้นและไม่มีของล้นถังอีก สามารถลดขยะให้เทศบาลได้มากขึ้นด้วยการคัดแยกขยะทำให้ในชุมชนไม่มีขยะล้นถังไม่เป็นที่เกิดเชื้อโรคในชุมชน

     

    20 20

    20. พัฒนาพื้นที่รกร้างว่างเปล่าในชุมชน

    วันที่ 5 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รวมกันรณรงค์ตัดต้นไม้ที่รกแล้วช่วยกันเก็บขยะในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พัฒนาถนนที่ป่ารกตามที่ว่างในวันพ่อ ร่วมกับโรงเรียนออกมาพัฒนากันในชุมชนและสร้างความดีรักสิ่งแวดล้อม ร่วมกันพัฒนานักเรียนตัวเล็ก ๆ ออกมาเก็บกวาดบนถนนในชุมชน และลดขยะได้อีกด้วย ทำให้ชุมชนหน้าอยู่ขึ้น น้าแขกเล่าว่าการมารวมกลุ่มพัฒนาซอยแต่ละซอยในวันพ่อทำให้ถนนสะอาด และมีความนรักสามัคคีในการพัฒนาชุมชนให้หน้าอยู่และช่วยลดขยะในชุมชนและป่ารกร้าง และช่วยเหลือเกื้อกูลในการพัฒนาแต่ละครั้งทั้งเด็กและผู้ใหญ่รวมกันทำเพื่อถวายแด่พ่อหลวง

     

    10 10

    21. ทำเหรียญโปรยทาน จากถุงขนม

    วันที่ 14 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเปลือกขนม ถุงน้ำยาปรับผ้านุ่ม มาตัดเป็นเส้นนำมาห่อเหรียญเป็นรูปดอกกุหลาบ ดอกพิกุล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้มีการทำกำพริก ใช่ในงานศพมีนักเรียนมาหัดทำกันในชุมชน และใช่เศษวัสดุเหลือใช่จากชาวบ้านนำมาใช่
    เช่น ถุงน้ำยาปรับผ้านุ่ม  ถุงน้ำยาล้างจาน ถุงขนมเด็ก ถุงแฟ้บ ถุงชา จันทิมาเล่าว่าเมื่อก่อนทำกับริปินต่อมามีการนำถุงน้ำยาปรับผ้านุ่ม น้ำยาล้างจานมาห่อทำให้เกิดสีสดใส่ลดขยะในชุมชน และยังเพิ่มมูลค่าของขยะสร้างรายได้ ยังมีกลิ่นหอมอีกด้วยและมาบายในราคาไม่แพง เป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้อเหรียญโปรยทานของคนในชุมชน

     

    10 10

    22. ทำแจกัน ตระกร้า จากไพ่ตองและไพ่ป๊อก

    วันที่ 22 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ฝึกการต่อแจกันและตระกร้า จากไพ่ตองและไพ่ป๊อก ตามงานศพและงานบวชนำมาให้ใช่เป็นวัตถุดิบในการทำ ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ทำให้เยาวชนนำไปประกอบอาชีพได้เป็นอาชีพเสริม เมื่อไปศึกษาต่อยังที่อื่น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ฝึกให้มีการทำแจกันจากไพ่ตองและไพ่ป๊อกในรูปแบบต่าง ๆ แก่นักเรียน ทำให้นักเรียนดีใจมากที่ได้เห็นของที่นักเรียนทำด้วยมือและสามารถนำกลับไปทำที่บ้าน และได้คิดรูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ และสามารถนำไปสอนคำอื่นได้อีกด้วย นำไประกอบอาชีพได้
    น้องตุ๋มเล่าว่าเมื่อมีงานศพหรืองานบวชเสร็จงานแล้วชาวบ้านจะทำไพ่มาทิ้งถังขยะทำให้ถังขยะเต็มเร็วจึงมีการคิดนำขยะมาสร้างรายได้แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์จากไพ่และชาวบ้านมีรายได้จากการแปรรูปขยะเป็นตะกร้า แจกัน และยังช่วยลดขยะลงอีกทางทำให้ชุมชนสะอาดขึ้น นำไปเป็นของขวัญของฝากในวันสำคัญเป็นความภาคภูมิใจทั้งผู้ให้และผู้รับเป็นฝีมือของตนเอง

     

    10 10

    23. นำผักมาทำอาหารเพื่อประกวด

    วันที่ 27 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้แต่ครอบครัวส่งเมนูผักเข้าประกวดจากแปลกผักหน้าบ้านและเกาะกลาง และได้มอบของขวัญแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมวันปีใหม่ และเด็ก ๆ ได้เล่นเกมส์และร่วมรับประทานอาหารที่ได้เข้าประกวด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้มีการนำผักที่ปลูกหน้าบ้าน เกาะกลาง มาทำเมนูผัก
    มีข้าวยำจากผักเกาะกลาง น้ำพริกลูกอึก แกงเรียงยอดมะขามอ่อน น้ำพริกผักจิ๊ม น้ำพริกหัวทือ และมีผักสด มะเขือ ขมิ้นขาว ถั่วฝักยาวม่วง มีการเลี้ยงและแจกของขวัญแก่ผู้เข้าร่วมในวันปีใหม่ และมีการเล่นเกมส์ต่าง ๆ ของเด็ก และแจกของแก่ผู่สูงอายุ จากนั้นก็ร่วมกันรับประทานอาหาร และจากนั้นก็บอกสรพคุณต่าง ๆ ว่ามีประโยชน์อย่างไรง ยายหมัดเล่าว่าสมัยก่อนถ้าถ่ายไม่ออกต้องนำชุมเห็ดมาต้มกินเป็นยาระบายได้อีกด้วย และยังมีเมนูผักสลัดริมรั่ว เช่น ใบมะม่วงหินมะพาน ยอดมันปู  สาระแน่ ใบย่านาง ผักกาดแก้ว ผักกาดเขียว มาทำสลัดผัก ผักในท้องถิ่น น้ำสลัดทำจากโยเกริตบีปมะนาวใส่เล็กน้อยจะได้สลัดผักจากผักริมรั่วมีคุณค่าทางอาหารและยังประหยัดค่าใช้จ่าย ทำให้ลดโรคจากสารเคมีในผักตามท้องตลาด การปลูกผักในครัวเรือนและน้ำหมักที่ทำมารดผักทำให้ลดการใช้ยาในผักได้มากขึ้น

     

    100 100

    24. เข้าร่วมกับชุมชนจัดงานวันเด็ก

    วันที่ 4 มกราคม 2558 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้ร่วมกับชุมชนจัดงานวันเด็กหน้าซอยถมยา 3 และมีซุ่มต่าง ๆ ขอคนในชุมชนที่ร่วมกันเลี้ยงเด็กประมาณ 27 ซุ่ม มีเกมส์ตาง ๆ ให้เด็กได้เล่น และของรางวัลแจกเด็กทำให้เด็กมีความสนุกสนานในการเข้าร่วมกิจกรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รวมจัดงานวันเด็กและมีการจัดซุ่มต่าง ๆ เลี้ยงเด็ก มีเกมส์และการแสดงของเด็ก มีการจับรางวัลแก่เด็กที่เข้าร่วมเล่นเกมส์ น้องเฟิร์นเล่าว่าการที่โครงการสินสืบสุขร่วมใจสร้างชุมชนเข้มแข็งได้เข้าร่วมกิจกรรมวันเด็กทำให้เกิดซุ่มมากมายและเด็ก ๆ ก็มีความสุขที่ผู้ใหญ่ให้ความสำคัญและมีโครงการดี ๆ สนับสนุนและมีการละเล่นต่าง ๆ ของขวัญ อาหาร และการระบายสีโดย กศน.เข้ามารวมในการสร้างสุขให้เด็ก ๆ ในวันเด็ก และมีของขวัญแจกเด็กทุกคน

     

    30 30

    25. รับซื้อขยะ และประชุมแกนนำทุกเดือน

    วันที่ 5 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รับซื้อขยะทุกวันที่ 5 ของเดือน และประชุมแกนนำ ในการรักสิ่งแวดล้อมและช่วยกันเก็บขยะ ช่วยกันคัดแยกขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ประชุมแกนนำในการร่วมกับชาวบ้านในการรักสิ่งแวดล้อมในการเก็บขยะทำให้ชุมชนสะอาดขึ้น เป็ฯการสร้างจิตสำนึกให้ชาวบ้านและเด็กในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเทศบาลมองเห็นความสำคัญของการคัดแยกขยะจึงทำคอกเหล็กมาให้ในชุมชนเพื่อการคัดแยกขยะจากขยะอันตรายได้ด้วย และเป็นการช่วยลดขยะจากต้นทางจากชุมชนก่อนจะถึงกองขยะเทศบาลเพราะกองขยะเริ่มเต็มจึงรณรงค์ให้แยกขยะก่อนทิ้งลงถัง

     

    10 10

    26. ทำเล่มเรื่องสมุนไพรพื้นบ้าน

    วันที่ 10 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้นักเรียนร่วมกับครอบครัวแลกเปลี่ยนแนวคิดการกินผัก มีประโยชน์ลดโรคอ้วนต้านมะเร็ง และรวบร่วมพันธ์ผักและบริโภคผักในชีวิตประจำวันมากขึ้นและให้รู้คุณค่าของผักมากขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เชิญผู้สูงอายุในชุมชนและครู และนำสมุนไพรพื้นบ้านในกากินและรักษาโรคด้วยการใช่สมุนไพรและเก็บรวบรวมทำเป็นเล่ม ให้เด็กและเยาชนได้อ่านและศึกษาแล้วนำไปใช่ประโยชน์ในการรักษาโรค มีภาพประกอบของสมุนพรแต่ละอย่าง ลุงชาตรีมีการนำสมุนไพร ใบขลู่ไปตากแดดและทำเป็นชากินในตอนเช้าทำให้การขับปัสาวะได้ดี ป้องกันโรค โรคนิ่ว และความดันเบาหวานได้ดี ลูกมะกรูด น้ำผึ้ง นำมะกรูดมาหันใส่ขวดและใส่น้ำผึ้งหมักไว้ 15 วัน นำออกมากิน แก่อาการไอและขับเสหะ

     

    40 40

    27. สานปลาตระเพียนโมบาย

    วันที่ 14 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเชือกรัดของมาสานเป็นรูปปลาตะเพียนและใส่ลูกปัดมารอยเป็นโมบาย  แขวนตามเปลเด็กอ่อน เสริมพัฒนาการเด็ก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เป็นสินค้าของชุมชน สร้างรายได้ให้ผู้สูงอายุว่าง ๆ สามารถนั่งสานได้เป็นงานทำอยู่กลับบ้าน  และรวมกลุ่มผู้สูงอายุมาสานปลาทำให้ผู้สูงอายุแก้อาการโรคซึมเศร้า

     

    10 10

    28. ปลูกผักและพัฒนาพื้นที่ซอย

    วันที่ 22 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำให้ชุมชนมีพื้นที่สีเขียวมากขึ้น ทำให้ที่รกร้างมีการปลูกผักและลดรายจ่ายในการซื้อผัก และได้นำน้ำหมักที่ทำมาใช้ประโยชน์เพื่อรดผัก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านมีการกินผักเพิ่มมากขึ้น นำผักที่เราปลูกมาทำอาหารลดรายจ่ายลดสารเคมีในผัก และทำให้สุขภาพดีลดรายจ่าย

     

    10 10

    29. ดอกไม้จากหลอดดูด

    วันที่ 28 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เพื่อให้คนในชุมชนรู้จักใช้ขยะมาทำเป็นผลิตภัณฑ์สร้างรายได้ และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำหลอดดูดมาตัดเป็นรูปดอกไม้และนำหลอดอีกหลอดมาพับเป็นูปดาว สอดกลีบดอกลงไปที่ดาว นำขวดน้ำมาตัดเป็นเจกและนำดอกไม้มาเสียบจะได้กระเช้าดอกไม้ที่สวยงาม นำมาขายสร้างรายได้ สามารถทำได้ทุกวัย เกิดจากขยะที่เราเก็บมาทำให้เกิดมูลค่า

     

    10 10

    30. ประชุมสรุปโครงการ

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ไปสรุปผลงานโครงการสินสืบสุขร่วมใจสร้างชุมชนเข้มแข็ง ที่ชุมชนได้ทำกิจกรรมไปในแต่ละครั้ง ร่วมกับโครการทั้งจังหวัด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การทำหนึ่งขยะหนึ่งผลิตภัณฑ์ ธนาคารขยะ และ การะเพิ่มพื้นที่ปลูกผักเกาะกลางและที่รกร้างสองข้งทางและเกาะกลาง แนะนำการทำบัญชีครัวเรือนให้กับชาบ้าน

     

    3 3

    31. รับซื้อขยะ และ ประชุมแกนนำ

    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงานและรับซื้อขยะในชุมชน  การคัดแยกขยะนำของเก่ากับมาใช้ใหม่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กรรมการได้พูดคุยปัญหาของแต่ละซอยและนำมาวางแผนพัฒนาและสร้างรยได้ให้คนในชุมชน ทำให้ขยะไม่รกและสกปกทำให้ชุมชนน่าอยู่ขึ้น ขยะในชุมชนมีน้อยลงต้องรับซื้อจากชุมชนใกล้เคียง หลาย ๆ เดือนจึงจะได้เต็มคันรถ

     

    20 20

    32. พัฒนาซอยแต่ละซอยและด้วยกันเก็บขยะตัดต้นไม้สองข้างทาง

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พัฒนาซอยและร่วมกันเก็บขยะ ตัดต้นไม้และปรับภูมิทัศน์ในชุมชนให้น่าอยู่ ปลูกผักตามสองข้างทาง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ร่วมกันเก็บขยะ และ ทำให้เกิดความสามัคคีในชุมชน และการมีสวนร่วมในการพัฒนาชุมชน แบ่งปัน ช่วยเหลือ ของชาวบ้านในชุมชน ลุงเกษมเล่าว่าการได้มีสวนร่วมทำให้ได้เพื่อนมากขึ้นและได้มีการให้ของที่ปลูกในบ้านของแต่ละคนมาแลกเปลี่ยนกัน

     

    10 10

    33. โคมไฟจากหลอดดูด

    วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สร้างอาชีพสร้างรายได้จากขยะในชุมชน ทำให้มีการพบปะพูดคุยในการทำโคมไฟและแนะนำวิธีการทำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำหลอดดูดมาตัดเป็นท่อน และตัดเป็นรูปสามเหลี่ยม นำหลอดดูดมาพับเป็นดาว ตัดขวดน้ำพลาสติกเป็นเส้น ๆ นำหลอดดูดที่ตัดเป็นสามเหลี่ยมมารอยและนำดาวมาติด เสร็จแล้วนำหลอดไฟและหัวไฟมาใสาที่โคมไฟจะได้แสงสว่าง

     

    10 10

    34. เพิ่มพื้นที่ปลูกผักและสองข้างทาง

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชาวบ้านได้ใช้พาชนะในการปลูกผักและกระสอบให้เกิดประโยชน์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ให้ชาวบ้านนำพาชนะที่จะทิ้งนำกลับมาใช้ใหม่เพื่อปลูกผักสวนครัวไว้ใช้ในครัวเรือนและสามารถขายของคนในชุมชน ทำให้เกิดแปลงผักที่ทำจากภาชนะเหลือใช้ และการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนจะมีแปลงผักไว้กินเอง

     

    10 10

    35. ดอกไม้จากกระดาษย่อน

    วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ในการนำขยะมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ขายได้ราคา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำกระดาษย่อนมาตัดเป็นกลีบดอกและมาม้วนใส่ลวดเหล็กให้เป็นดอก ถึงนำธูปกับเทียนมาใส่ในดอกไม้ขายในวันลอยกระทง และสามารถนำมาทำเป็นพวงหลีดได้

     

    10 10

    36. ประชุมแกนนำและรับซื้อขยะ

    วันที่ 5 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงาน และปรึกษาปัญหาการรับซื้อขยะจากชาวบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานและชาวบ้านมีการให้ความร่วมมือในการกำจัดขยะอย่างถูกวิธีทำให้ขยะน้อยลงและขวดน้ำและของต่าง ๆ ที่สามารถขายได้นำออกมาไปขายยังธนาคารขยะและมีรายได้จากการขายขยะทำให้ชุมชนน่าอยู่

     

    20 20

    37. ปลูกผักในชุมชนและพื้นที่ว่างเปล่า

    วันที่ 10 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รงณรงค์การปลูกผักในที่ว่างเพื่อปลูกผักสวนครัว ทำที่ว่างให้เกิดประโยชน์ และลดรายจ่ายในการซื้อผักมาบริโภค และให้คนในชุมชนได้รับประทานผักปลอดสารพิษจากการปลูกไว้รับประทาน น้องฟ้าเล่าว่าเมื่อก่อนซื้อผักที่ตลาดต้องมาล้างหลายครั้งและต้องใช้น้ำด่างทับทิมล่งผัก แต่เมื่อปลูกผักกินเองด้วยใช้กระสอบข้าวสารใส่ดินทำให้ผักเจริญงอกงามได้ โดยใช้น้ำหมักชีวภาพที่ทำกันเองในชุมชนลด และลดการใช้จ่ายในครัวเรือนได้เยอะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านมีการใช้ถุงกระสอบข้าวสารมากขึ้น ทำให้ขยะน้อยลง ชาวบ้านจึงมีผักกินกันทุกเกือบครัวเรือน และนำมาแบ่งปันกัน

     

    10 10

    38. ทำสมุดเล่มเล็กจากเศษกระดาษหลือใช้

    วันที่ 13 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเด็กมาฝึการทำสมุดเล่มเล็กด้วยใช้กระดาษเหลือใช้ของเด็ก ๆ มาทำเป็นสมุดไว้ใช้จดบันทึก และให้เด็กวาดภาพการ์ตูนระบายสีปกเพื่อให้ดูสวยงาม และนำมาเข้าเล่ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้เด็ก ๆ รู้จักการนำเศษวัสดุต่าง ๆ ที่เราไม่เห็นค่านำกลับมาใช้ได้อีก และยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้อสมุดและสิ่งต่าง ๆ ที่สมารถนำกลับมาใช้ใหม่หรือใช้ซ้ำด้วยลดขยะในครัวเรือนได้อีก

     

    10 10

    39. ทำปูจากไพ่

    วันที่ 24 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำไพ่มาพับและก็นำมาต่อเป็นรูปปู

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้ผู้ที่มาเข้าร่วมไดทำเป็นและสามารถสร้างรายได้จากขยะและเป็นความภาคภูมิใจในของที่เราทำและบ้างคนนำไปมอบให้เพื่อนในโอกาศขึ้นบ้านใหม่ วันเกิด เพราะเป็นของที่ทำด้วยมือเราเอง ทำให้ผู้รับและผู้ให้มีควมสุข และทำให้คนท่มีความสนใจสามารถนำไปประกอบอาชีพเสริมได้

     

    10 10

    40. เพ่มพื้นที่ปลูกผักเกาะกลางและหน้าบ้าน

    วันที่ 31 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ส่งเสริมการปลูกผักตามหน้าบ้านโดยใช้เศษวัสดุเหลือใช้ กะละมังแตก สอบข้าวสาร ถัง อิฐบล็อก  และเป็นการปรับภูมิทัศน์ในชุมชน คือจะไม่มีที่รกเป็นพาหนะของการนำโรค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คนในชุมชนรู้จักปลูกผักไว้กินเอง เหลือแบ่งให้เพื่อนเป็นการพึ่งพาใช้วิถีชีวิตแบบพอเพียง รู้จักประหยัด

     

    10 10

    41. ประชุมแกนนำและรับซื้อขยะ

    วันที่ 5 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมแกนนำและรับซื้อขยะที่ธนาคารขยะ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การจัดการขยะต่อเนื่องในชุมชนมีผลทำให้ขยะในชุมชนน้อยลง ชาวบ้านรู้จักการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี และทำให้บ่อยะเทศบาลเต็มช้าลง และมีการเก็บขยะที่เป็นพลาติกไว้ขายยังธนาคารขยะมากขึ้น ทำให้มีความสามัคคีและมีการพบปะพูดคุยกันมากขึ้น

     

    20 20

    42. เพิ่มพื้นที่ปลูกผักและตัดหญ้าตามที่รก

    วันที่ 10 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เพิ่มพื้นที่ปูกผักเกาะกลาง คือปลูกตะไคร์ ใบกะเพาะ มะเขือ มะระขี้นก และที่หน้าบ้าน ปลูกผักบุ้ง ผักชีเล็ก มะเขือยาวใบสาระแน่  พริก ใบราใหญ่
    ที่รกร้างปลูกต้นมะนาว กล้วย มะเขือ แก้วมังกร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้คนในชุมชนมีอาชีพเสริมในการปลูกผัก และพี่ติงเล่าว่า ต้นมะขามที่เกาะกลางมีใบมะขามอ่อนมากนำมาทำแกงเลียงแบ่งบันกัน

     

    10 10

    43. ทำพวงมาลัยจากหลอดดูด

    วันที่ 17 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเอาขยะมาสร้างเป็นผลิตภัณฑ์ทำให้ชาวบ้านในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น  ชาวบ้านบ้างคนอาจนำเอาไปแขวนตามพวงมาลัยรถยนต์เพื่อใช้แทนดอกไม้สดเพราะมันสามารถทำให้อยู่คงทนกว่าดอกไม้ที่ซื้อตามสีแยก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำเอาหลอดมาสานเป็นรูปดาวและนำหลอดดูดมาตัดเป็นรูปดอกไม้นำมารอยเป็นพวงมาลัยใส่ดอกไม้ที่ประดิษฐ์จากหลอด ใช้แขวนตามหน้าพระ หน้าศาลพระภูมิ สามารถนำเอาไปทำเป็นที่หงอยตามพวงมาลัยรถ

     

    10 10

    44. ทำดอกไม้จากหลอดดูด

    วันที่ 19 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    หลอดดูด ลวดเหล็ก กระดาษย่น เกษร ใบ กรรไกร
    นำหลอดดูดมาตัดและเอาเกษรลวดใส่และพันก้านมาได้ครึ่งก้านจากนั้นใส่ใบลงไปและพันจนเสร็จ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้ผู้เข้าร่วมมีความภูมิใจในการนำหลอดจากที่เราจะทิ้งนำกลับมาทำดอกไม้และสร้างรายได้จากการทำดอกไม้จากหลอดดูดสร้างมูลคาให้ขยะและทำให้ขยะลดน้อยลง และทำให้บ้านมีระเบียบมากขึ้น

     

    10 10

    45. จัดกิจกรรมวันปิดโครงการสินสืบสุขพอเพียง

    วันที่ 21 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ มาจัดนิทรรศการในชุมชนและพืชผักผลผลิต ผักสวนครัว ผลิตภัณฑ์ชุมชน กองทุนเก็บออม และธนาคารขยะ และได้จัดกิจกรรมนันทนาการแก่ผู้เข้าร่วม และรับประทานอาหารร่วมกัน
    และมอบรางวัลครอบครัวดีเด่น ด้านการเก็บออม และบัญชีครัวเรือน ผลิตภัณฑ์ชุมชนดีเด่น เมนูผัก และมอบของที่ระลึกแก่กรรมการจำนวน 20 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้ชุมชนหน้าอยู่ขึ้น ชาวบ้านมีการร่วมมือในการพัฒนาพิ้นที่รกร้าง ด้วยกันถาง ด้วยกันปลูก ทำให้ชุมชนมีความเขียวชอุ่ม ของผัก ดังเช่นเกาะกลางกินได้ และลดรายจ่ายในการซื้อผัก
    การทำบัญชีครัวเรือนทำให้ชาวบ้านมีการรับรู้รายรับรายจ่าย คือทำง่าย ๆ คือ รายจ่ายจำเป็น เช่น ค่ากับข้าว ค่าข้าวสาร ไม่จำเป็น เช่น ค่าเบอร์ ค่าโทรศัพท์ ค่าเหล้า ค่าบุหรี่ คือชาวบ้านได้รู้ถึงค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น
    หนึ่งขยะหนึ่งผลิตภัณฑ์ชาวบ้านสามารถนำขยะมาทำเป็นของใช้สร้างรายได้สร้างอาชีพให้เกิดประโยชน์  ธนาคารขยะทำให้ชาวบ้านไม่ทิ้งขยะ ขยะสร้างรายได้คือชาวบ้านนำขยะมาขายที่ธนาคารขยะ ทำให้ชุมชนหน้าอยู่ขึ้น

     

    100 100

    46. เพิ่มพื้นที่ปลูกผักเกาะกลางซอย

    วันที่ 23 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    หน้าบ้านของบ้างบ้านยังไม่ได้ทำก็ได้เข้ามาร่วมปลูกผักในภาชนะที่เหลือใช้และได้ผักไว้บริโภคและช่วยกันพัฒนาที่รกและเก็บขยะ ตกแต่งซอยให้สะอาด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านมีผักบริโภคมากขึ้นและลดโรคบ้างโรคได้ และทำให้เด็กได้กินผักที่ตนเองปลูกและมีความภาคภูมิใจที่มีแปลงผักของตนเองหน้าบ้าน และที่ว่างให้เกิดประโยชน์ พบว่า มีผู้ร่วมกิจกรรมปลูกผักบนถนน จำนวน 32 ราย และผู้ที่ปลูกผักบริเวณบ้าน จำนวน 55 ราย นับว่า เป็นจำนวนที่มากเมื่อเทียบกับชุมชนใกล้เคียง และชุมชนสามารถเป็นต้นแบบให้ชุมชนสระแก้ว ทำกิจกรรมปลูกผักด้วย

     

    10 10

    47. ประชุมทีมและรับซื้อขยะ

    วันที่ 5 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เกิดการแลกเปลี่ยนในกลุ่มสภาผู้นำชุมชน แกนนำโครงการ ประชุมทีมและรับซื้อขยะ ต่อเนื่อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการประชุมทีมต่อเนื่อง และ ดำรงรูปแบบธนาคารขยะต่อเนื่อง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองปากพนังได้มาศึกษาดูงานในชุมชนเรื่องการกำจัดขยะการคัดแยกขยะและผลิตภัณฑ์จากขยะได้ให้ความรู้แก่ผู้ที่มาเยี่ยมชมเรื่องการกำจัดขยะของชุมชนและนำไปสู้การปลูกผักโดยการใช้ปุ๋ยจากการหมักมาปลูกผักในชุมชน

     

    15 15

    48. ประชุมแกนนำความก้าวหน้าของโครงการที่ทำไปแล้ว

    วันที่ 9 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้ให้ชาวบ้านให้ข้อมูลของการทำกิจกรรมมาพูดคุยเรื่องธนาคารขยะว่าโครงการได้ที่ทำไปได้ประโยชน์อะไรบ้าง
    การดูแลภูมิทัศน์ในชุมชนเรื่องการจัดการขยะและการปลูกผักเกาะกลางสองข้างทางที่รกร้างและหน้าบ้านสวยด้วยผักพื้นบ้านและการทำบัญชีครัวเรือนในตัวชีวัดค่าใช้จ่ายที่จำเป็นและไม่จำเป็น การนำของเก่ากลับมาใช้ใหม่สร้างมูลค่าจากขยะมาเป็นสินค้าสร้างรายได้โดยการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ธนาคารขยะคือทำให้คนในชุมชนรู้จักการคัดแยกขยะที่ถูกต้องและมีความเข้าใจในการนำขยะรีไซร์เคิ้ลมาขายยังธนาคารขยะทุกวันที่ 5 ของเดือน
    การปลูกผักที่เกาะกลางสองข้างทางหน้าบ้านทำให้คนในชุมชนมีความเอื้ออาทรต่อกันและแบ่งบันผักที่ปลูกเองเหลือจากกินให้กันแลกเปลี่ยนและเกิดเมนูผักสุขภาพ เช่น สลัดผักจากของที่มีในชุมชน ผักต่าง ๆ ที่ปลูกขึ้นเอง มาทำสลัด นำสลัดทำจากโยเกริตใส่น้ำมะนาวเล็กน้อยจะได้ผักสลัดดีต่อสุขภพ บัญชีครัวเรือนที่ทำในชุมชนทำให้ชาวบ้านรู้จัก่าใช้จ่ายที่จำเป็นและไม่จำเป็น เช่น ที่ไม่จำเป็น ค่าโทรศัพท์ บุหรี่ เหล้า ค่าหวย ล๊อตเตอรี่
    ผลิตภัณฑ์จากขยะนำขยะมาแปรเป็นผลิตภัณฑ์ที่สร้างรายได้และเกิดความภาคภูมิใจผลิตภัณฑ์และทำให้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เช่น การทำไพ่ : รูปตะกร้า แจกัน รูปปู  , การทำหมอนสุขภาพจากหลอดดูด , การทำดอกไม้จากถุงน้ำยาปรับผ้านุ่ม , การทำเหรียญโปรยทาน : ถุงขนมเด็ก , การทำน้ำหมักชีวภาพ : ใช้ในการลดน้ำผักในครัวเรือน , การทำน้ำาล้างจานใช้ในครัวเรือน , การทำน้ำหมักสับปะรด : ใช้ในการซักผ้าขาวและล้างห้องน้ำ โรงเรียนเทศบาลวัดคงคาสวัสดิ์ร่วมการปลูกผักสมุนไพรพื้นบ้านให้นักเรียนได้รู้ประโยชน์ของผักที่มีในชุมชนสมารถหลีกเลี่ยงการเป็นโรคได้  และโรงเรียนได้ร่วมกับธนาคารขยะให้นักเรียนรู้จักการคัดแยกขยะในโรงเรียนและนำมาขายยังธนาคารขยะ ชุมชนสินสืบสุข

     

    20 20

    49. เตรียมนำเสนอ ร่วมสรุปกิจกรรมติดตามงวด 2 กับพี่เลี้ยงจังหวัด

    วันที่ 17 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงทะเบียน เข้าห้องประชุม พี่เลี้ยงอธิบายกิจกรรมของแต่ละโครงให้เสร็จสมบูรณ์ ของงวด 2 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รวมประชุมสรุปรายงานและแนวทางปิดโครงการร่วมกับพี่เลี้ยง งวด2

     

    3 3

    50. รวบรวมทำเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์

    วันที่ 22 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการช่วยกันรวบรวมรายงานและจัดทำเอกสาร ให้ครบถ้วนถุกต้องโดยมีพี่เลี้ยงโครงการชาวยเหลือตรวจสอบความถูักต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แบ่งงานกันทำเอกสารรายงาน และรวบรวมชุดความรู้มาทำเอกสารฉบับสมบูรณ์เพื่อส่ง ได้แก่ ส1 2 3 4 และ ง 1 -2 

     

    15 5

    51. รับการติดตามโครงการจากสสส.

    วันที่ 13 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะติดตามโครงการต่อยอดจากม.ธรรมศาสตร์จำนวน 2 ท่านมาติดตามโครงการร่วมสร้างชุมชนน่าอยู่ โดยประเมินผลในประเดฺ็นการจัดกิจกรรมในพื้นที่ชุมชนเขตเมือง ปัญหาอุปสรรคในการจัดกิจกรรม ผลลัพธ์กิจกรรม โดยมีผู้รับการติดตามคือคณะกรรมการโครงการจำนวน 20 คน โดยทางกลุ่มได้ต้อนรับและรายงานผลแก่อาจารย์ที่มาสัมภาษณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลลัพธ์สำคัญของกิจกรรมคือ ทีมอาจารย์ที่มาจาก ม.ธรรมศาสตร์ 2 ท่านได้สะท้อนผลการติดตามในเรื่องของกิจกรรมเด่นของโครงการ ในเรื่องของ กิจกรรมผลลัพธ์ความร่วมมือของผู้เข้าร่วมโครงการ และการตอบรับของชุมชนในการจัดกิจกรรมและมุมมองประเด็นต่อยอดกิจกรรมในชุมชนเมืองต้องแก้ปัยหา การมีส่วนร่วม ลักษณะกิจกรรมที่เหมาะกับเวลาเรงรีบของชุมชนเมือง เป็นต้น

     

    20 20

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อร่วมสร้างชุมชนปลอดขยะพัฒนาสำนึกรักษาสิ่งแวดล้อม
    ตัวชี้วัด : - เกิดข้อตกลงชุมชน ข้อบัญญัติชุมชนที่นำไปปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและเพิ่มขึ้น - พัฒนากลไกชุมชนเพื่อร่วมจัดการขยะต่อเนื่อง

    1.- เกิดข้อบัญญัติชุมชนเพิ่มอย่างน้อย 1 เรื่อง พบว่าเกิดข้อตกลงเรื่องการบำเพ็ญประโยชน์ในวันสำคัญโดยเน้นการปรับสภาพแวดล้อม - ดำรงกติกาชุมชนเดิมอย่างต่อเนื่อง พบว่า กติกาสินสืบสุขปลอดขยะ ได้นำมาทบทวนและทุกคนที่เข้าร่วมยังทำตามข้อตกลง - ดำรงรักษารูปแบบธนาคารขยะ และขยายวงสู่ชุมชนใกล้เคียง พบว่า มีการจัดการรับซื้อ คัดแยก ส่งขาย และแปรรูปสิ่งประดิษฐ์สร้างมูลค่า รายได้ อย่างต่อเนื่อง และนัดประชุมต่อเนื่องทุกวันที่ 5

    2 เพื่อให้ชุมชนมีรายได้จากการแปลงรูปขยะต่อเนื่อง โดยใช้ นโยบายหนึ่งขยะหนึ่งผลิตภัณฑ์
    ตัวชี้วัด : - เกิดสิ่งประดิษฐ์ ผลผลิต และนวัตกรรมในชุมชนที่ชาวชุมชนนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง อย่างน้อย 3 ประการ

    2.ชุมชนเกิดรายได้ 2.1 เกิดสิ่งประดิษฐ์ ผลผลิต และนวัตกรรมในชุมชนที่ชาวชุมชนนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง อย่างน้อย 3 ประการ พบว่าเกิดสิ่งประดิษฐ์เพิ่มขึ้นหลายอย่างเช่นโคมไฟหลอดดูด บายศรี และปูจากไพ่ 2.2 ชาวชุมชนมีอาชีพเสริม มีรายได้เพิ่ม ลดรายจ่ายฟุ่มเฟือย ร้อยละ 30 จากการสรุปข้อมูลจากผู้ร่วมกิจกรรม 100 ราย มีผู้ที่มีรายได้เพิ่มขึ้น วันละ 100-200 บาท ต่อวัน จำนวน 20 ราย และสามารถลดรายจ่ายฟุ่มเฟือยได้ถึง 25 ราย และลดรายจ่าจจำเป็นจากการปลูกผัก กินเอง และลดราคาค่าปุ๋ย อาหารปลา จำนวน 35 ราย ประมาณเฉลี่ยเดือนละ 2000 บาท

    3 เพื่อสร้าง ชุมชนเขียวสวยด้วยผักคนสุขภาพดี
    ตัวชี้วัด : - เกิดต่อยอดธนาคารขยะสร้างศูนย์เรียนรู้ผักสร้างสุขภาพ - เกิดชุมชนคนกินผักกินเองเรารักสุขภาพ - เกิดเมนูผักเพื่อสุขภาพในครัวเรือน - เกิดสภาผู้นำชุมชนขับเคลื่อนนโยบายชุมชนน่าอยู่
    1. ด้านผลลัพธ์ต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม พบว่า 3.1 เกิดชุมชนคนกินผักเรารักสุขภาพ ร้อยละ 50 มีการรณรงค์และประกวดเมนูผักตามกิจกรรมที่มีการสนใจและร่วมมือจากเด้กและเครือข่ายในชุมชน 3.2 ถนนใหญ่และถนนซอยมีการปรับพื้นที่รกร้างปลูกผัก พบว่าถนนทุกสาย ทุกซอยมีการปลูกผักเต็มพื้นที่ และ 3.3 เกิดเมนูผักเพื่อสุขภาพในครัวเรือน ที่เป็นเมนูสุขภาพ และตำรับอาหารสมุนไพร ได้แก่ สลัดผักพื้นบ้าน บัวบกน้ำจิ้ม แกงเลียงยอดส้ม พบว่า  คนในชุมชนร่วมใจปลูกผัก และบริโภคผักในชีวิตประจำวันมากขึ้น- มีการปลูกผักเพื่อใช้ประโยชน์จากที่รกร้าง และสองข้างถนน
    2. สภาผู้นำมีการร่วมประชุมพบปะสม่ำเสมอ โดยเน้นประเด็นพุดคุย เรื่อง 1 ดำรงรูปแบบธนาคารขยะ และต่อยอดสู่สวัสดิการชุมชน 2. การทำแผนบำเพ็ญประโยชน์ของชุมชน 3. การพัฒนาต่อยอดสิ่งประดิษฐ์ และการหาตลาดรองรับ
    4 เพื่อบริหารและติดตามพัฒนาโครงการ
    ตัวชี้วัด : เพื่อพัฒนาและติดตามประเมินโครงการตามแผน

    จากการติดตามเกิดข้อสรุปบทเรียนชุมชนดังนี้ ด้านองค์ความรู้ใหม่ๆ พบว่า เกิดความรู้สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆจากวัสดุขยะเหลือใช้ในชุมชน จำนวน 7 อย่าง และมีการนำสมุนไพรพื้นบ้านในกากินและรักษาโรคด้วยการใช่สมุนไพรและเก็บรวบรวมทำเป็นเล่ม ให้เด็กและเยาชนได้อ่านและศึกษาแล้วนำไปใช่ประโยชน์ในการรักษาโรค มีภาพประกอบของสมุนพรแต่ละอย่าง เช่น ลุงชาตรีมีการนำสมุนไพร ใบขลู่ไปตากแดดและทำเป็นชากินในตอนเช้าทำให้การขับปัสาวะได้ดี ป้องกันโรค โรคนิ่ว และความดันเบาหวานได้ดี ลูกมะกรูด น้ำผึ้ง นำมะกรูดมาหันใส่ขวดและใส่น้ำผึ้งหมักไว้ 15 วัน นำออกมากิน แก่อาการไอและขับเสหะ และ เกิดกลุ่มสิ่งประดิษฐ์ สร้างสรรค์สินสืบสุข โดยเด้กและชาวบ้านที่ชอบทำสิ่งเดียวกันมาร่วมกันทำสิ่งประดิษฐ์และรวมกลุ่มส่งขายออกบูทในชุมชนเกิดสิงประดิษฐ์หลายอย่าง ชาวบ้านกลุ่มสิ่งประดิษฐ์ จำนวน 25 คน กลุ่มปลูกผัก จำนวน 55 คน และกลุ่มทำน้ำหมัก จำนวน 15 คน มีความภูมิใจที่ตนเองทำสิ่งของใช้เอง และสร้างรายได้ครอบครัวได้ ได้แก่ 1.หลอดดูด ลวดเหล็ก กระดาษย่น เกษร ใบ กรรไกร โดยนำหลอดดูดมาตัดและเอาเกษรลวดใส่และพันก้านมาได้ครึ่งก้านจากนั้นใส่ใบลงไปและพันจนเสร็จ 2.ทำปูจากไพ่ โดยนำไพ่มาพับและก็นำมาต่อเป็นรูปปู 3. นำเด็กมาฝึการทำสมุดเล่มเล็กด้วยใช้กระดาษเหลือใช้ของเด็ก ๆ มาทำเป็นสมุดไว้ใช้จดบันทึก และให้เด็กวาดภาพการ์ตูนระบายสีปกเพื่อให้ดูสวยงาม และนำมาเข้าเล่ม 4.นำกระดาษย่อนมาตัดเป็นกลีบดอกและมาม้วนใส่ลวดเหล็กให้เป็นดอก ถึงนำธูปกับเทียนมาใส่ในดอกไม้ขายในวันลอยกระทง 5.นำหลอดดูดมาตัดเป็นท่อน และตัดเป็นรูปสามเหลี่ยม นำหลอดดูดมาพับเป็นดาว ตัดขวดน้ำพลาสติกเป็นเส้น ๆ นำหลอดดูดที่ตัดเป็นสามเหลี่ยมมารอยและนำดาวมาติด เสร็จแล้วนำหลอดไฟและหัวไฟมาใสาที่โคมไฟจะได้แสงสว่าง 6.นำหลอดดูดมาตัดเป็นรูปดอกไม้และนำหลอดอีกหลอดมาพับเป็นูปดาว สอดกลีบดอกลงไปที่ดาว นำขวดน้ำมาตัดเป็นเจกและนำดอกไม้มาเสียบจะได้กระเช้าดอกไม้ที่สวยงาม นำมาขายสร้างรายได้ สามารถทำได้ทุกวัย เกิดจากขยะที่เราเก็บมาทำให้เกิดมูลค่า 7.นำเชือกรัดของมาสานเป็นรูปปลาตะเพียนและใส่ลูกปัดมารอยเป็นโมบาย 8. ฝึกให้มีการทำแจกันจากไพ่ตองและไพ่ป๊อกในรูปแบบต่าง ๆ แก่นักเรียน ทำให้นักเรียนดีใจมากที่ได้เห็นของที่นักเรียนทำด้วยมือและสามารถนำกลับไปทำที่บ้านและได้คิดรูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ และสามารถนำไปสอนคำอื่นได้อีกด้วย นำไประกอบอาชีพได้ ต่อมา ด้มีการนำผักที่ปลูกหน้าบ้าน เกาะกลาง มาทำเมนูผัก ได้แก่มีข้าวยำจากผักเกาะกลางน้ำพริกลูกอึกแกงเรียงยอดมะขามอ่อนน้ำพริกผักจิ๊มน้ำพริกหัวทือ และมีผักสด มะเขือ ขมิ้นขาว ถั่วฝักยาวม่วงมีการเลี้ยงและแจกของขวัญแก่ผู้เข้าร่วมในวันปีใหม่ และมีการเล่นเกมส์ต่าง ๆ ของเด็ก และแจกของแก่ผู่สูงอายุ จากนั้นก็ร่วมกันรับประทานอาหาร และจากนั้นก็บอกสรพคุณต่าง ๆ ว่ามีประโยชน์อย่างไร นำชุมเห็ดมาต้มกินเป็นยาระบาย และยังมีเมนูผักสลัดริมรั่ว เช่น ใบมะม่วงหินมะพาน ยอดมันปูสาระแน่ ใบย่านาง ผักกาดแก้ว ผักกาดเขียว มาทำสลัดผัก ผักในท้องถิ่น น้ำสลัดทำจากโยเกริตบีปมะนาวใส่เล็กน้อยจะได้สลัดผักจากผักริมรั่วมีคุณค่าทางอาหารและยังประหยัดค่าใช้จ่าย อีกอย่างที่ชุมชนได้คือ การลดอบายมุขโดยนำหลักการทำบัญชีครัวเรือนมาลดรายจ่ายฟุ่มเฟือย 3 ประการ คือ บุหรี่ เหล้า และ หวย ผลลัพธ์ด้านสิ่งแวดล้อม พบว่าถนน พื้นที่รกร้าง หายไป กลายเป็นสวนผัก แปลงผักแทนที่ พื้นที่ในชุมชนสะอาดไม่มีขยะ เพราะคนเห็นคุณค่าขยะแต่ละประเภทและนำมาแปรรูปเป็นสิ่งประดิษฐ์สร้างรายได้ และขายเพิ่มรายได้ ด้านครอบครัว ชุมชนบอกว่า ครอบครัวอบอุ่น แม่ ลูกช่วยกันประดิษฐ์ สิ่งของต่างจากขยะ และวัสดุเหลือใช้ มีเวลาอยู่ร่วมกันมากขึ้น และยังคงธำรงรักษากติกาชุมชนกองทุนขยะสินสืบสุขดำรงต่อเนื่อง คือการรับซื้อขาย ขยะทุกวันที่ 5 กติกาสินสืบสุขปลอดขยะมีต่อเนื่อง จำนวน 5 ข้อคือ 1.แยกขยะก่อนทิ้ง 2. ขายขยะรีไซเคิล 3. ทำน้ำหมักจากขยะอินทรีย์ 4. ร่วมกิจกรรมสสส.ทุกครั้ง 5. ทำบัญชีครัวเรือนลดรายจ่ายฟุ่มเฟือย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อร่วมสร้างชุมชนปลอดขยะพัฒนาสำนึกรักษาสิ่งแวดล้อม (2) เพื่อให้ชุมชนมีรายได้จากการแปลงรูปขยะต่อเนื่อง โดยใช้ นโยบายหนึ่งขยะหนึ่งผลิตภัณฑ์ (3) เพื่อสร้าง ชุมชนเขียวสวยด้วยผักคนสุขภาพดี (4) เพื่อบริหารและติดตามพัฒนาโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ สินสืบสุขร่วมใจสร้างชุมชนเข้มแข็ง (ต่อยอด)

    รหัสโครงการ 57-01465 รหัสสัญญา 57-00-1080 ระยะเวลาโครงการ 10 มิถุนายน 2557 - 10 กรกฎาคม 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
    1. เกิดความรู้สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆจากวัสดุขยะเหลือใช้ในชุมชน จำนวน 7 อย่าง
    2. เชิญผู้สูงอายุในชุมชนและครู และนำสมุนไพรพื้นบ้านในกากินและรักษาโรคด้วยการใช่สมุนไพรและเก็บรวบรวมทำเป็นเล่ม ให้เด็กและเยาชนได้อ่านและศึกษาแล้วนำไปใช่ประโยชน์ในการรักษาโรค มีภาพประกอบของสมุนพรแต่ละอย่าง ลุงชาตรีมีการนำสมุนไพร ใบขลู่ไปตากแดดและทำเป็นชากินในตอนเช้าทำให้การขับปัสาวะได้ดี ป้องกันโรค โรคนิ่ว และความดันเบาหวานได้ดี ลูกมะกรูด น้ำผึ้ง นำมะกรูดมาหันใส่ขวดและใส่น้ำผึ้งหมักไว้ 15 วัน นำออกมากิน แก่อาการไอและขับเสหะ

    ตำราอาหารเป็นยา ชุมชนสินสืบสุข

    OTOP

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    1.หลอดดูด ลวดเหล็ก กระดาษย่น เกษร ใบ กรรไกร โดยนำหลอดดูดมาตัดและเอาเกษรลวดใส่และพันก้านมาได้ครึ่งก้านจากนั้นใส่ใบลงไปและพันจนเสร็จ 2.ทำปูจากไพ่ โดยนำไพ่มาพับและก็นำมาต่อเป็นรูปปู 3. นำเด็กมาฝึการทำสมุดเล่มเล็กด้วยใช้กระดาษเหลือใช้ของเด็ก ๆ มาทำเป็นสมุดไว้ใช้จดบันทึก และให้เด็กวาดภาพการ์ตูนระบายสีปกเพื่อให้ดูสวยงาม และนำมาเข้าเล่ม 4.นำกระดาษย่อนมาตัดเป็นกลีบดอกและมาม้วนใส่ลวดเหล็กให้เป็นดอก ถึงนำธูปกับเทียนมาใส่ในดอกไม้ขายในวันลอยกระทง 5.นำหลอดดูดมาตัดเป็นท่อน และตัดเป็นรูปสามเหลี่ยม นำหลอดดูดมาพับเป็นดาว ตัดขวดน้ำพลาสติกเป็นเส้น ๆ นำหลอดดูดที่ตัดเป็นสามเหลี่ยมมารอยและนำดาวมาติด เสร็จแล้วนำหลอดไฟและหัวไฟมาใสาที่โคมไฟจะได้แสงสว่าง 6.นำหลอดดูดมาตัดเป็นรูปดอกไม้และนำหลอดอีกหลอดมาพับเป็นูปดาว สอดกลีบดอกลงไปที่ดาว นำขวดน้ำมาตัดเป็นเจกและนำดอกไม้มาเสียบจะได้กระเช้าดอกไม้ที่สวยงาม นำมาขายสร้างรายได้ สามารถทำได้ทุกวัย เกิดจากขยะที่เราเก็บมาทำให้เกิดมูลค่า 7.นำเชือกรัดของมาสานเป็นรูปปลาตะเพียนและใส่ลูกปัดมารอยเป็นโมบาย 8. ฝึกให้มีการทำแจกันจากไพ่ตองและไพ่ป๊อกในรูปแบบต่าง ๆ แก่นักเรียน ทำให้นักเรียนดีใจมากที่ได้เห็นของที่นักเรียนทำด้วยมือและสามารถนำกลับไปทำที่บ้าน และได้คิดรูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ และสามารถนำไปสอนคำอื่นได้อีกด้วย นำไประกอบอาชีพได้

    บันทึกกิจกรรมในเวบคนใต้สร้างสุข พร้อมภาพประกอบ ผลิตภัณฑ?จริงวางจำหน่าย ที่ศสมช.สินสิลสุข

    OTOP
    สร้างสวัสดิการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    เกิดกลุ่มสิ่งประดิษฐ์ สร้างสรรค์สินสืบสุข โดยเด้กและชาวบ้านที่ชอบทำสิ่งเดียวกันมาร่วมกันทำสิ่งประดิษฐ์และรวมกลุ่มส่งขายออกบูทในชุมชน

    บัญชีรายชื่อกลุ่ม

    กลุ่มอาชีพ สหกรณ์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    ได้มีการนำผักที่ปลูกหน้าบ้าน เกาะกลาง มาทำเมนูผัก ได้แก่มีข้าวยำจากผักเกาะกลางน้ำพริกลูกอึกแกงเรียงยอดมะขามอ่อนน้ำพริกผักจิ๊มน้ำพริกหัวทือ และมีผักสด มะเขือ ขมิ้นขาว ถั่วฝักยาวม่วงมีการเลี้ยงและแจกของขวัญแก่ผู้เข้าร่วมในวันปีใหม่ และมีการเล่นเกมส์ต่าง ๆ ของเด็ก และแจกของแก่ผู่สูงอายุ จากนั้นก็ร่วมกันรับประทานอาหาร และจากนั้นก็บอกสรพคุณต่าง ๆ ว่ามีประโยชน์อย่างไรง ยายหมัดเล่าว่าสมัยก่อนถ้าถ่ายไม่ออกต้องนำชุมเห็ดมาต้มกินเป็นยาระบายได้อีกด้วย และยังมีเมนูผักสลัดริมรั่ว เช่น ใบมะม่วงหินมะพาน ยอดมันปู  สาระแน่ ใบย่านาง ผักกาดแก้ว ผักกาดเขียว มาทำสลัดผัก ผักในท้องถิ่น น้ำสลัดทำจากโยเกริตบีปมะนาวใส่เล็กน้อยจะได้สลัดผักจากผักริมรั่วมีคุณค่าทางอาหารและยังประหยัดค่าใช้จ่าย

    จากบันทึกกิจกรรม และตำราอาหารเป็นยาสินสืชสุข

    สวนผักคนเมือง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    การลดอบายมุขโดยนำหลักการทำบัญชีครัวเรือนมาลดรายจ่ายฟุ่มเฟือย 3 ประการ คือ บุหรี่ เหล้า และ หวย

    จากการบันทึกกิจกรรมอบรมบัญชีครัวเรือน

    บัญชีครัวเรือนสร้างสุข

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    การปรับใช้ออาหาร โดยนำผักที่ปลูกเองมารณรงค์ให้ชุมชนปลูกด้วยกัน กินด้วยกัน แบ่งปันกัน สุขภาพดีด้วยกัน

    เมนูผัก

    ตำรับอาหารสมุนไพร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    ถนน พื้นที่รกร้าง หายไป กลายเป็นสวนผัก แปลงผักแทนที่ พื้นที่ในชุมชนสะอาดไม่มีขยะ เพราะคนเห็นคุณค่าขยะแต่ละประเภทและนำมาแปรรูปเป็นสิ่งประดิษฐ์สร้างรายได้ และขายเพิ่มรายได้

    กองทุนขยะสินสืบสุขดำรงต่อเนื่อง กติกาสินสืบสุขปลอดขยะมีต่อเนื่อง

    ชุมชนจัดการสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    ครอบครัวอบอุ่น แม่ ลูกช่วยกันประดิษฐ์ สิ่งของต่างจากขยะ และวัสดุเหลือใช้ มีเวลาอยู่ร่วมกันมากขึ้น

    จากการสัมภาษณ์แม่บ้านที่ทำสิ่งประดิษฐ์

    -

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    รายได้ครอบครัวจากการขายขยะ และ ขายผัก และลดรายจ่ายจากการซื้อผักเฉลี่ยครอบครัวละ 2000 ต่อเดือน

    จากการสัมภาษณ์ วันถอดบทเรียน

    เศรษฐกิจพอเพียง ขยะสร้างชีวิต

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    กองทุนขยะสินสืบสุขดำรงต่อเนื่อง คือการรับซื้อขาย ขยะทุกวันที่ 5 กติกาสินสืบสุขปลอดขยะมีต่อเนื่อง จำนวน 5 ข้อคือ 1.แยกขยะก่อนทิ้ง 2. ขายขยะรีไซเคิล 3. ทำน้ำหมักจากขยะอินทรีย์ 4. ร่วมกิจกรรมสสส.ทุกครั้ง 5. ทำบัญชีครัวเรือนลดรายจ่ายฟุ่มเฟือย

    มีการทบทวนและปรับปรุงกติกาบางข้อ

    สหกรณ์ธนาคารขยะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    เชื่อมโยงประสานงานกรรมการชุมชน กรรมการอสม. และสภาผู้นำในเครือข่าย

    สภาผู้นำมีหลากหลาย และรายงานประชุมทุกเดือน

    สภาผู้นำชุมชนน่าอยู่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    ประธานอสม.เผ็นผู้มีประสบการณ์สามารถร่วมขับเคลื่อนชุมชนร่วมกับกรรมการชุมชนต่อเนื่อง

    จากการสังเกตุ และสอบถาม

    สภาชุมชนน่าอยู่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    ชุมชนมีการไปแสวงหาความรู้วิธีการทำสิ่งประดิษฐ์ต่างๆจากชุมชนอื่น และนำมาหัดทำกันในชุมชน

    จากภาพถ่ายและบันทึกกิจกรรม

    ชุมชนต้นแบบ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    ชาวบ้านกลุ่มสิ่งประดิษฐ์ จำนวน 25 คน กลุ่มปลูกผัก จำนวน 55 คน และกลุ่มทำน้ำหมัก จำนวน 15 คน มีความภูมิใจที่ตนเองทำสิ่งของใช้เอง และสร้างรายได้ครอบครัวได้

    รายชื่อสมาชิกกลุ่มในชุมชน

    สหกรณ์กลุ่มอาชีพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    มีการแบ่งปันผักจากเกาะกลางถนนสู่บ้านเรือนในชุมชนและชุมชนใกล้เคียง

    จากการบอกเล่า

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    สินสืบสุขร่วมใจสร้างชุมชนเข้มแข็ง (ต่อยอด) จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ 57-01465

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นาง จิตติพร เรืองทอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด