directions_run

บ้านไม้มูกปลอดกลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์ด้วยสมุนไพร

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ บ้านไม้มูกปลอดกลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์ด้วยสมุนไพร ”

บ้านไม้มูก หมู่ที่ 5 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช

หัวหน้าโครงการ
นางละมัย ช่วยบำรุง

ชื่อโครงการ บ้านไม้มูกปลอดกลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์ด้วยสมุนไพร

ที่อยู่ บ้านไม้มูก หมู่ที่ 5 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 57-01471 เลขที่ข้อตกลง 57-00-1078

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2557 ถึง 30 มิถุนายน 2558


กิตติกรรมประกาศ

"บ้านไม้มูกปลอดกลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์ด้วยสมุนไพร จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านไม้มูก หมู่ที่ 5 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
บ้านไม้มูกปลอดกลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์ด้วยสมุนไพร



บทคัดย่อ

โครงการ " บ้านไม้มูกปลอดกลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์ด้วยสมุนไพร " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านไม้มูก หมู่ที่ 5 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช รหัสโครงการ 57-01471 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2557 - 30 มิถุนายน 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 178,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 110 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ มีทักษะ และแก้ไขปัญหามลพิษทางกลิ่นจากมูลสัตว์โดยใช้สมุนไพรได้
  2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการปลูกสมุนไพรและผลิตสูตรสมุนไพรในการกำจัดกลิ่นมูลสัตว์
  3. เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลการดำเนินงานโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศโครงการ

    วันที่ 14 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานเข้าร่วมปฐมนิเทศโครงการเพื่อทำความเข้าใจการดำเนินงานโครงการและระบบรายงานผ่านเว็ปไซต์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าใจและได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการทำงานกับพี่เลี้ยงและ สจรส. มอ. ในเรื่องการบริหารจัดการโครงการ 

     

    2 2

    2. ประชุมทีมคณะกรรมการ

    วันที่ 23 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมทีมคณะกรรมการของละแวกบ้านก่อนและหลังทำกิจกรรมทั้งหมดทุกเดือน เพื่อเตรียมงาน โดยคณะกรรมมีหน้าที่ติดตามงาน ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม หาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงให้ดีขึ้น และมอบหมายหน้าที่ ช่วยกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน 20 คนได้เข้าใจโครงการที่ทำขึ้น และวิธีดำเนินงานว่าในเขตต่อไปจะดำเนินงานอย่างไร และรณรงค์ให้ชาวบ้านเข้าร่วมทำเพื่อประโยชน์ ของชุมชนตนเอง

     

    20 20

    3. จัดเวทีร่วมแก้ปัญหาเรื่องกลิ่นมูลสัตว์โดยภาคชาวบ้าน

    วันที่ 13 สิงหาคม 2557 เวลา 11:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการโครงการจัดเวทีร่วมกันแก้ไขปัญหา ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินของโครงการ โดยเชิญพี่เลี้ยงโครงการเข้าร่วมชี้แจงการดำเนินโครงการ  โดยชวนเจ้าของฟาร์มหมู 15 ฟาร์ม ซึงเป็นของ อสม. อบต. ชาวบ้าน และฟาร์มนกกระทา 1 ฟาร์มเพื่อจัดการปัญหาเรื่องกลิ่นมูลสัตว์โดยภาคชาวบ้าน เจ้าของฟาร์มร่วมทำ กำหนดกติกาชุมชน ช่วยกันแสดงความคิดเห็น เปิดเวทีการเรียนรู้ให้ผู้เข้าร่วมได้สะท้อนกลับด้วยวาจาและการปฏิบัติการจัดการกัน สะท้อนมุมมองเพื่อให้แก้ไขปัญหาโดยชาวบ้านเพื่อชาวบ้าน จัดให้มีการแบ่งกลุ่มบ้านเป็น 7 กลุ่มบ้าน ๆ ละ 10 หลังคาเรือนตามละแวกของชุมชน โดยกำหนดให้มีแกนนำหมู่บ้านเป็นหัวหน้ากลุ่ม กำหนดกติกาให้ทำโครงการ โดยมีเจ้าของฟาร์มเลี้ยงสัตว์ร่วมเป็นสมาชิกเพื่อรับรู้ไปพร้อม ๆ กัน และร่วมช่วยกันแก้ไขปัญหานำเสนอภูมปัญญาที่มีในท้องถิ่น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการโครงการจัดเวทีร่วมกันแก้ไขปัญหา ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินของโครงการ โดยเชิญพี่เลี้ยงโครงการเข้าร่วมชี้แจงการดำเนินโครงการ  โดยชวนเจ้าของฟาร์มหมู 15 ฟาร์ม ซึงเป็นของ อสม. อบต. ชาวบ้าน และฟาร์มนกกระทา 1 ฟาร์มเพื่อจัดการปัญหาเรื่องกลิ่นมูลสัตว์โดยภาคชาวบ้าน เจ้าของฟาร์มร่วมทำ กำหนดกติกาชุมชน ช่วยกันแสดงความคิดเห็น เปิดเวทีการเรียนรู้ให้ผู้เข้าร่วมได้สะท้อนกลับด้วยวาจาและการปฏิบัติการจัดการกัน สะท้อนมุมมองเพื่อให้แก้ไขปัญหาโดยชาวบ้านเพื่อชาวบ้าน จัดให้มีการแบ่งกลุ่มบ้านเป็น 7 กลุ่มบ้าน ๆ ละ 10 หลังคาเรือนตามละแวกของชุมชน โดยกำหนดให้มีแกนนำหมู่บ้านเป็นหัวหน้ากลุ่ม กำหนดกติกาให้ทำโครงการ โดยมีเจ้าของฟาร์มเลี้ยงสัตว์ร่วมเป็นสมาชิกเพื่อรับรู้ไปพร้อม ๆ กัน และร่วมช่วยกันแก้ไขปัญหานำเสนอภูมปัญญาที่มีในท้องถิ่น  มีตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 70 ครัวเรือน และได้แบ่งครัวเรือนเป็น 7 กลุ่ม ๆ ละ 10 หลังคาเรือน

     

    93 70

    4. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม

    วันที่ 14 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชุมทีมคณะกรรมการของละแวกบ้านก่อนและหลังทำกิจกรรมทั้งหมดทุกเดือน เพื่อเตรียมงาน โดยคณะกรรมมีหน้าที่ติดตามงาน ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม หาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงให้ดีขึ้น และมอบหมายหน้าที่ ช่วยกันทำจากกรรมการทั้งหมด จำนวน 20 คน จำนวน 12 ครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน 20 คนได้เข้าใจโครงการที่ทำขึ้น และวิธีดำเนินงานว่าในเขตต่อไปจะดำเนินงานอย่างไร และรณรงค์ให้ชาวบ้านเข้าร่วมทำเพื่อประโยชน์ ของชุมชนตนเอง

     

    20 20

    5. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้สมุนไพรดับกลิ่นมูลสัตว์ที่ชุมชนอื่น

    วันที่ 23 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00-13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการชี้แจงรายละเอียดขั้นตอนการแก้ปัญหา โดยการเชิญกลุ่มเป้าหมายไปศึกษาดูงานเปิดเวทีเรียนรู้ ให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้สะท้อนด้วยวาจาและเชิงปติบัติ โดยมีชาวบ้าน เจ้าของฟาร์ม ได้เข้าร่วมเพื่อรับรู้ไปพร้อมๆกันและร่วมช่วยกันแก้ปัญหาโดยการไปเรียนรู้การใช้สมุนไพรดับกลิ่มมูลสัตว์จากชุมชนศูนย์กสิรรมธรรมชาติวัดป่ายางที่มีความรู้และประสบการณ์  เพื่อนำความรู้มาแก้ปัญหาในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มแกนนำพร้อมด้วยตัวแทนบ้าน เจ้าของฟาร์ม ได้รับความรู้ความเข้าใจจากการสาธิตนำสมุนไพรมาทำน้ำหมักชีวภาพและได้นำความรู้นี้มารวมกลุ่มทำน้ำหมักสมุนไพรดับกลิ่นขึ้น ในชุมชน อย่างเข้าใจและถูกวิธีพร้อมด้วยได้เรียนรู้เรื่องการทำแก็ซชีวมวล และปุ๋ยหมักจากมวลสัตว์ และสามารถนำมาจัดกลุ่มทำขึ้นในชุมชนได้

     

    50 50

    6. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม

    วันที่ 10 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชุมทีมคณะกรรมการของละแวกบ้านก่อนและหลังทำกิจกรรมทั้งหมดทุกเดือน เพื่อเตรียมงาน โดยคณะกรรมมีหน้าที่ติดตามงาน ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม หาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงให้ดีขึ้น และมอบหมายหน้าที่ ช่วยกันทำจากกรรมการทั้งหมด จำนวน 20 คน จำนวน 12 ครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน 20 คนได้เข้าใจโครงการที่ทำขึ้น และวิธีดำเนินงานว่าในเขตต่อไปจะดำเนินงานอย่างไร และรณรงค์ให้ชาวบ้านเข้าร่วมทำเพื่อประโยชน์ ของชุมชนตนเอง

     

    20 20

    7. ฝึกปฏิบัติการทำสูตรสมุนไพรดับกลิ่นมูลสัตว์

    วันที่ 19 กันยายน 2557 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตัวแทนชุมชนพร้อมด้วยครัวเรือนที่เข้าโครงการรวมจำนวน 70 คน ได้มาร่วมกันฝึกทำน้ำหมักสมุนไพรดับกลิ่น  โดยมีเยาวชนจาก โรงเรียนวัดพระอาสน์เข้ามาร่วมเีรียนรู้และฝึกปฏิบัติร่วมกับชาวบ้าน มีการนำหน่อไม้  หน่อกล้วย ผักบุ้ง และผักสมุนไพรอื่น ๆ มาหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ผสมกับกากน้ำตาลในอัตราส่วน สมุนไพร 3  ก.ก. กากน้ำตาล 1 ก.ก. ผสมคนให้เข้ากัน  แล้วนำไปหมักในถังพลาสติกใช้ฝาปิด นาน 3 เดือน จะได้เป็นน้ำหมักสมุนไพร  ไว้สำหรับทดลองดับกลิ่นมูลสัตว์  โดยแต่ละครัวเรือนมีการนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นและละแวกบ้านของตนเองมาร่วมและให้เด็ก ๆ และเยาวชนร่วมฝึกปฏิบัติทำกิจกรรมร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านและเยาวชนได้มีการฝึกปฺฏิบัติในการทำน้ำหมักสมุนไพรร่วมกัน โดยร่วมกันร่วมใจกันหาวัสดุและลงมือปฏิบัติร่วมเรียนรู้พร้อมกัน ตัวแทนชุมชนพร้อมด้วยครัวเรือนที่เข้าโครงการรวมจำนวน 70 คน ได้มาร่วมกันฝึกทำน้ำหมักสมุนไพรดับกลิ่น  โดยมีเยาวชนจาก โรงเรียนวัดพระอาสน์เข้ามาร่วมเีรียนรู้และฝึกปฏิบัติร่วมกับชาวบ้าน มีการนำหน่อไม้  หน่อกล้วย ผักบุ้ง และผักสมุนไพรอื่น ๆ มาหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ผสมกับกากน้ำตาลในอัตราส่วน สมุนไพร 3  ก.ก. กากน้ำตาล 1 ก.ก. ผสมคนให้เข้ากัน  แล้วนำไปหมักในถังพลาสติกใช้ฝาปิด นาน 3 เดือน จะได้เป็นน้ำหมักสมุนไพร  ไว้สำหรับทดลองดับกลิ่นมูลสัตว์  โดยแต่ละครัวเรือนมีการนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นและละแวกบ้านของตนเองมาร่วมและให้เด็ก ๆ และเยาวชนร่วมฝึกปฏิบัติทำกิจกรรมร่วมกัน

     

    77 77

    8. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม

    วันที่ 10 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชุมทีมคณะกรรมการของละแวกบ้านก่อนและหลังทำกิจกรรมทั้งหมดทุกเดือน เพื่อเตรียมงาน โดยคณะกรรมมีหน้าที่ติดตามงาน ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม หาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงให้ดีขึ้น และมอบหมายหน้าที่ ช่วยกันทำจากกรรมการทั้งหมด จำนวน 20 คน จำนวน 12 ครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน 20 คนได้เข้าใจโครงการที่ทำขึ้น และวิธีดำเนินงานว่าในเขตต่อไปจะดำเนินงานอย่างไร และรณรงค์ให้ชาวบ้านเข้าร่วมทำเพื่อประโยชน์ ของชุมชนตนเอง

     

    20 20

    9. เวทีเรียนรู้จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อสรุปผลงานงวดที่ ๑ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมพวงชุมพู สำนักงานสนับสนุนบริการสาธารณสุข เขต ๑๑ จังหวัดนครศรีธรรมราช

    วันที่ 18 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดการเวทีเรียนรู้จังหวัดนครศรีธรรมราช     ขั้นตอนที่ ๑ สรุปเอกสารรายงานเป็นรายครั้งที่ทำกิจกรรม ประกอบด้วย รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม หลักฐานเบิกจ่ายเงิน และรูปภาพการทำกิจกรรม     ขั้นตอนที่ ๒ บันทึกกิจกรรมวันนี้ โดยมีหลักฐาน ชื่อผู้เข้าร่วมประชุมในโครงการใบสำคัญรับเงินค่าอาหาร ๗๐๐ บาทจากที่ประชุม และค่าเดินทางของพื้นที่     ขั้นตอนที่ ๓ นำเอกสารให้พี่เลี้ยงโครงการเสนอแนะ     ขั้นตอนที่ ๔ นำเอกสารมาสรุปผลงานงวดกับอาจารย์กำไล สมรักษ์ หรือ พี่เลี้ยงสุดา ไพศาล พริ้นรายงานส่ง สสส ได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปผลงวดงานทั้งหมด ได้เรียนรู้เรื่องทำสมุนไพรดับกลิ่น เรียนรู้ที่พรหมคีรี หลังจากนั้นมาฝึกทำ โดยนำสมุนไพรที่มีในหมู่บ้าน มีเด็กและเยาวชนมาช่วย ได้น้ำสมุนไพรเป็นตัวอย่าง 2 ถังใหญ่ หมักไว้ 3 เดือน เพื่อทำหัวเชื้อ นอกจากทำหัวเชื้อ ชาวบ้านได้นำสมุนไพรในหมู่บ้านมาทำเพิ่มเติม เด็กชอบมาถามว่าทำเมื่อไหร่ เมื่อไหร่ประชุมอีก ได้ประชุมกันทุกเดือน มีสมาชิกและเด็กนำความรู้ไปทำต่อที่บ้าน

     

    2 2

    10. ฟาร์มสาธิตจัดการปรับปรุงฟาร์มให้เป็นฟาร์มจัดการปัญหามลพิษกลิ่นจากมูลสัตว์

    วันที่ 28 ตุลาคม 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำชุมชนพร้อมด้วยตัวแทนกลุ่มบ้าน 70 คน ได้เรียนรู้การจัดการแก้ปัญหามลพิษ จากมูลสัตว์โดยเชิญวิทยากรมาให้ความรู้และจัดการปรับปรุงฟาร์ม แก้ปัญหามลพิษจากมูลสัตว์จำนวน1ฟาร์ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้มีฟาร์มสาธิตในการจัดการบำบัดกลิ่นมูลสัตว์จำนวน1ฟาร์มเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน

     

    77 70

    11. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม

    วันที่ 10 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมทีมคณะกรรมการก่อนทำกิจกรรมเพื่อเตรียมงงานและนำมาเสนอในที่ประชุมเพื่อหาแนวทางแก้ไข และดำเนินการให้เป็นไปตามจุดประสงค์ โดยการมอบหายงานตามหน้าที่ ที่ต้องรับผิดชอบของกรรมการแต่ละฝ่าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน 20 คนได้เข้าใจโครงการที่ทำขึ้น และวิธีดำเนินงานว่าในเขตต่อไปจะดำเนินงานอย่างไร และรณรงค์ให้ชาวบ้านเข้าร่วมทำเพื่อประโยชน์ ของชุมชนตนเอง

     

    20 20

    12. ร่วมฝึกการจัดทำแก๊สชีวมวลสาธิต

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำชุมชน 7 คน และตัวแทนกลุ่มบ้าน จำนวน 15 คน ได้ฝึกปฏิบัติทำแก๊สชีวมวลเพื่อการเรียนรู้ และปฏิบัตจริงเพื่อเป็นการสาธิต 1 ครัวเรือน โดยการใช้มูลสัตว์เพื่อนำมาใช้ในการทำแก๊สชีวมวล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนได้เรียนรู้และสามารถทำแก๊สชีวมวลได้ โดยการใช้วัตถุดิบที่มีในชุมชนคือมูลสัตว์มาใช้ในการทำแก๊ส เพื่อใช้ประโยชน์ในครัวเรือนและชุมชนได้

     

    22 22

    13. ร่วมฝึกการจัดทำปุ๋ยชีวมวล เพื่อนำมาใช้ในกลุ่มปลูกสมุนไพร

    วันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตัวแทนกลุ่มบ้านร่วมกันทำปุ๋ยหมักเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในหมู่บ้าน และใช้ปลูกพืชผักต่างๆ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตัวแทนกลุ่มบ้านได้รู้จกวิธีทำปุ๋ยหมักและได้นำมูลสัตว์ที่มีในหมู่บ้านมาใช้ให้เกิดประโยชน์โดยนำมาทำเป็นปุ๋ย และสามารถร่วมทำกันเองได้ในหมู่บ้านทำให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน

     

    70 70

    14. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม

    วันที่ 10 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ


    จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 2 คน รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม กรรมการ รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง กำหนดการเวทีเรียนรู้จังหวัดนครศรีธรรมราช    ขั้นตอนที่ ๑ สรุปเอกสารรายงานเป็นรายครั้งที่ทำกิจกรรม ประกอบด้วย รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม หลักฐานเบิกจ่ายเงิน และรูปภาพการทำกิจกรรม    ขั้นตอนที่ ๒ บันทึกกิจกรรมวันนี้ โดยมีหลักฐาน ชื่อผู้เข้าร่วมประชุมในโครงการใบสำคัญรับเงินค่าอาหาร 825 บาทจากที่ประชุม และค่าเดินทางของพื้นที่    ขั้นตอนที่ ๓ นำเอกสารให้พี่เลี้ยงโครงการเสนอแนะ    ขั้นตอนที่ ๔ นำเอกสารมาสรุปผลงานงวดกับอาจารย์กำไล สมรักษ์ หรือ พี่เลี้ยงสุดา ไพศาล พริ้นรายงานส่ง สสส ได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปผลงวดงานทั้งหมด ได้เรียนรู้เรื่องทำสมุนไพรดับกลิ่น เรียนรู้ที่พรหมคีรี หลังจากนั้นมาฝึกทำ โดยนำสมุนไพรที่มีในหมู่บ้าน มีเด็กและเยาวชนมาช่วย ได้น้ำสมุนไพรเป็นตัวอย่าง 2 ถังใหญ่ หมักไว้ 3 เดือน เพื่อทำหัวเชื้อ นอกจากทำหัวเชื้อ ชาวบ้านได้นำสมุนไพรในหมู่บ้านมาทำเพิ่มเติม เด็กชอบมาถามว่าทำเมื่อไหร่ เมื่อไหร่ประชุมอีก ได้ประชุมกันทุกเดือน มีสมาชิกและเด็กนำความรู้ไปทำต่อที่บ้าน

     

    20 20

    15. แกนนำชุมชน 7 กลุ่มบ้านร่วมกันปฏิบัติการปลูกและใช้สมุนไพร ตามละแวกบ้านตนเอง

    วันที่ 14 ธันวาคม 2557 เวลา 11:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    7 กลุ่มบ้านร่วมกันปฏิบัติการปลูกและใช้สมุนไพร ตามละแวกบ้านตนเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีสมุนไพรในละแวกบ้านและมีการทำงานร่วมกันระหว่างชุมชนโรงเรียน เจ้าของฟาร์ม ร่วมกันปลูกสมุนไพร เพื่อนำมาใช้แปลรูปดับกลิ่นมูลสัตว์ และประโยชน์อื่นๆ

     

    70 70

    16. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม

    วันที่ 10 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมทีมคณะกรรมการของละแวกบ้านก่อนและหลังทำกิจกรรมทั้งหมดทุกเดือน เพื่อเตรียมงาน โดยคณะกรรมมีหน้าที่ติดตามงาน ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม หาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงให้ดีขึ้น และมอบหมายหน้าที่ ช่วยกันทำจากกรรมการทั้งหมด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน 20 คนได้เข้าใจโครงการที่ทำขึ้น และวิธีดำเนินงานว่าในเขตต่อไปจะดำเนินงานอย่างไร และรณรงค์ให้ชาวบ้านเข้าร่วมทำเพื่อประโยชน์ ของชุมชนตนเอง

     

    20 20

    17. จัดเวทีอบรมเยาวชนเรียนรู้การฝึกทักษะภาวะผู้นำ

    วันที่ 18 มกราคม 2558 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีอบรมเยาวชนเรียนรู้การฝึกทักษะภาวะผู้นำเป็นการนำในทำกิจกรรมและพัฒนาชุมน เพื่อให้เยาวชนได้มีความรู้ถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณค่าของสมุนไพรและนำมาแก้ปัญหา โดยการแปลรูปสมุนไพร เช่น การทำน้ำมัน แก้ปวดเมื่อยจากสมุนไพร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เยาวชนได้มีความรู้และสามารถแก้ปัญหาบางอย่างที่ใช้สมุนไพรในชุมชนกันเองได้

     

    37 37

    18. สรุปผลงานการทำงานเพื่อนำไปขยายผลดำเนินงาน

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นางละไม ช่วบำรุง และนางระวี  สุกใส  ได้เข้าร่วมเวทีเรียนรู้จังหวัดนครศรีธรรมราชเพื่อนำเสนอข้อมูลความก้าวหน้าของโครงการ โดยทีมจาก สจรส.มอ.และพี่เลี้ยงโครงการเข้าร่วม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ร่วมสรุปความก้าวหน้าปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการ เรียนรู้การจัดทำเอกสารของโครงการ

     

    2 2

    19. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมทีมคณะกรรมการของละแวกบ้านก่อนและหลังทำกิจกรรมทั้งหมดทุกเดือน เพื่อเตรียมงาน โดยคณะกรรมมีหน้าที่ติดตามงาน ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม หาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงให้ดีขึ้น และมอบหมายหน้าที่ ช่วยกันทำจากกรรมการทั้งหมด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน 20 คนได้เข้าใจโครงการที่ทำขึ้น และวิธีดำเนินงานว่าในเขตต่อไปจะดำเนินงานอย่างไร และรณรงค์ให้ชาวบ้านเข้าร่วมทำเพื่อประโยชน์ ของชุมชนตนเอง

     

    20 20

    20. ชาวบ้านและเจ้าของฟาร์มเลี้ยงสัตว์ดำเนินการใช้สมุนไพรที่ผลิตได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาเรื่องกลิ่นจากมูลสัตว์

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชาวบ้านและเจ้าของฟาร์มเลี้ยงสัตว์ดำเนินการใช้สมุนไพรที่ผลิตได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาเรื่องกลิ่นจากมูลสัตว์ตามฟาร์มต่าง ๆ และบริเวณแหล่งที่มีปัญหาเรื่องกลิ่น ติดตามประเมินผล 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมของชาวบ้านเจ้าของฟาร์มและชุมชน

     

    77 77

    21. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม

    วันที่ 10 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 20 คน รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ผู้ใหญ่บ้าน 1 คน ผู้ช่วยฯ 2 คน อบต. 2 คน คณะกรรมการหมู่บ้าน 2 คน กลุ่มผู้สูงอายุ 1 คน กลุ่มแม่บ้าน 1 คน จนท.รพ.สต. 1 คน จนท.อบต. 1 คน ตัวแทนกลุ่มบ้าน 7 คน ตัวแทนเยาวชน 2 คน รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง ชุมทีมคณะกรรมการของละแวกบ้านก่อนและหลังทำกิจกรรมทั้งหมดทุกเดือน เพื่อเตรียมงาน โดยคณะกรรมมีหน้าที่ติดตามงาน ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม หาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงให้ดีขึ้น และมอบหมายหน้าที่ ช่วยกันทำจากกรรมการทั้งหมด จำนวน 20 คน จำนวน 12 ครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน 20 คนได้เข้าใจโครงการที่ทำขึ้น และวิธีดำเนินงานว่าในเขตต่อไปจะดำเนินงานอย่างไร และรณรงค์ให้ชาวบ้านเข้าร่วมทำเพื่อประโยชน์ ของชุมชนตนเอง

     

    20 20

    22. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเพื่อให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมทำ

    วันที่ 20 มีนาคม 2558 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.แบ่งกลุ่มเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับการลงมือทำ นำจุดเด่นมาพัฒนาเรียนรู้ร่วมกันแต่ละกลุ่มบ้าน แล้วนำมาสรุปในกลุ่มใหญ่ 2.ให้ทุกคนช่วยกันคิดเสนอแนวทางกลุ่ทสมุนไพรในชุมชนเพื่อส่งเสริมการปลูกและใช้สมุนไพรในชุมชน ใช้มีความรุ้ความเข้าใจ เรื่อวสมุนไพร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ให้เกิดกระบวนการ การเรียนรู้และเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมคิดร่วมทำของสมาชิคในชุมชน

     

    107 107

    23. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม

    วันที่ 10 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมทีมคณะกรรมการก่อนทำกิจกรรมเพื่อเตรียมงงานและนำมาเสนอในที่ประชุมเพื่อหาแนวทางแก้ไข และดำเนินการให้เป็นไปตามจุดประสงค์ โดยการมอบหายงานตามหน้าที่ ที่ต้องรับผิดชอบของกรรมการแต่ละฝ่าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน 20 คนได้เข้าใจโครงการที่ทำขึ้น และวิธีดำเนินงานว่าในเขตต่อไปจะดำเนินงานอย่างไร และรณรงค์ให้ชาวบ้านเข้าร่วมทำเพื่อประโยชน์ ของชุมชนตนเอง

     

    20 20

    24. สำรวจและประเมินบ้านที่มีการปลูกใช้สมุนไพรในแต่ละกลุ่มบ้าน

    วันที่ 14 เมษายน 2558 เวลา 11:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวทีการประเมินบ้านต้นแบบปลูกและใช้สมุนไพร จำนวน 7 กลุ่มบ้าน เพื่อค้นหาบ้านต้นแบบปลูกและใช้สมุนไพร โดยคณะกรรมการร่วมกับแกนนำชุมชน สำรวจและประเมินบ้านที่มีการปลูกใช้สมุนไพรในแต่ละกลุ่มบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีบ้านต้นแบบการปลูกและการใช้สมุนไพร

     

    80 80

    25. จัดงานวันมหกรรมสมุนไพรบ้านไม้มูก ป้ายนิทรรศการเกี่ยวกับสมุนไพร บ้านต้นแบบ

    วันที่ 25 เมษายน 2558 เวลา 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดงานวันมหกรรมสมุนไพรขึ้นใรหมู่บ้านไม้มูก มีป้ายนิทัศการเกี่ยวกับสมุนไพร บ้านต้นแบบ การปลูก และการใช้สมุนไพรและได้มีการบรรยายเกี่ยวกับสมุนไพรกิจกรรมทุกครั้งที่ทำมาเช่นการทำปุ๋ยหมัก แก๊สชีวมวล น้ำหมักดับกลิ่น เพื่อสร้างภูมิปัญญาให้กับชาวบ้านและมีการมอบของขวัญให้กับบ้านตัวอย่างในการปลูกสมุนไพรให้เป็นฐานการเรียนรู้ของแต่ละบ้าน และมีการแสดงนำเสนอผลิตภันณ์สมุนไพร ข้อดี ข้อเสีย หรือปัญหาอุปสรรคต่างๆที่จะต้องแก้ไขปรับปรุง และมีมีการพัฒนาต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านและเยาวชน ในชุมชนได้มาร่วมกิจกรรมวันมหกรรมสมุนไพรบ้านไม้ไม้มูกและได้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมุนไพรมากขึ้นและได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทำแก๊ส และทำปุ๋ยหมัก และสามารถนำไปใช้ในครัวเรือนได้ และได้เกิดควาสามัคคีขึ้นในชุมชน

     

    100 100

    26. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชุมทีมคณะกรรมการของละแวกบ้านก่อนและหลังทำกิจกรรมทั้งหมดทุกเดือน เพื่อเตรียมงาน โดยคณะกรรมมีหน้าที่ติดตามงาน ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม หาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงให้ดีขึ้น และมอบหมายหน้าที่ ช่วยกันทำจากกรรมการทั้งหมด จำนวน 20 คน จำนวน 12 ครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน 20 คนได้เข้าใจโครงการที่ทำขึ้น และวิธีดำเนินงานว่าในเขตต่อไปจะดำเนินงานอย่างไร และรณรงค์ให้ชาวบ้านเข้าร่วมทำเพื่อประโยชน์ ของชุมชนตนเอง

     

    20 20

    27. กิจกรรมแลกเปลี่ยนรู้สร้างทักษะโดยเยาวชนและแกนนำครัวเรือนในเรื่องการใช้สมุนไพรดับกลิ่นมูลสัตว์

    วันที่ 14 พฤษภาคม 2558 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เยาวชนและชุมชนจากครอบครัวตัวอย่างหลีกเลี่ยงสารเคมีได้มาร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สร้างทักษะโดยเยาวชนและเเกนนำครัวเรือนในบ้านไม้มูกได้แนะนำเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรดับกลิ่นมูลสัตว์ แนะนำการทำปุ๋ยหมัก แนะนำการทำแก๊สชีวมวล และแนะนำเกี่ยวกับการปลูกและสรรพคุณของสมุนไพรแลพบ้านไม้มูกตำบนไทยบุรี  อำเภอท่าศาลา จังหวัด นครศรีธรรมราช

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำและเยาวชนได้แลกเปลี่ยรเรียนรู้เรื่องการใช้สมุนไพรดับกลิ่นของบ้านไม้มูก

     

    67 67

    28. ประชุมสรุปรายงานและแนวทางปิดโครงการร่วมกับพี่เลี้ยง

    วันที่ 17 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นางละไม  ช่วยบำรุง และนางระวี  สุกใสได้เข้าร่วมเวทีเรียนรู้จังหวัดนครศรีธรรมราชเพื่อนำเสนอข้อมูลความก้าวหน้าของโครงการ โดยทีมจาก สจรส.มอ.และพี่เลี้ยงโครงการเข้าร่วม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ร่วมสรุปความก้าวหน้าปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการ เรียนรู้การจัดทำเอกสารของโครงการ

     

    2 2

    29. เวทีการนำเสนอการดำเนินโครงการและถอดบทเรียนการดำเนินโครงการ

    วันที่ 25 พฤษภาคม 2558 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีการนำเสนอโครงการต่อกลุ่มบ้าน นำเสนอโครงการที่ดำเนินโครงการทั้งหมด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดการเรียนรู้และมีบทเรียนโครงการให้กับชุมชน

     

    70 70

    30. ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม

    วันที่ 10 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชุมทีมคณะกรรมการของละแวกบ้านก่อนและหลังทำกิจกรรมทั้งหมดทุกเดือน เพื่อเตรียมงาน โดยคณะกรรมมีหน้าที่ติดตามงาน ประเมินงานกิจกรรม เพื่อนำมาเสนอในที่ประชุม หาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงให้ดีขึ้น และมอบหมายหน้าที่ ช่วยกันทำจากกรรมการทั้งหมด จำนวน 20 คน จำนวน 12 ครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน 20 คนได้เข้าใจโครงการที่ทำขึ้น และวิธีดำเนินงานว่าในเขตต่อไปจะดำเนินงานอย่างไร และรณรงค์ให้ชาวบ้านเข้าร่วมทำเพื่อประโยชน์ ของชุมชนตนเอง

     

    20 20

    31. คณะทำงานร่วมกับแกนนำร่วมกันนำข้อมูลจากการถอดบทเรียน

    วันที่ 20 มิถุนายน 2558 เวลา 9.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานร่วมกันสรุปผลการเดินเนินงานของโครงการที่ผ่านมาจัดทำเอกสารเพื่อเผยแพร่ และนำส่ง สสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เอกสารจากการถอดบทเรียนของโครงการที่ได้ดำเนินงานแบบฉบับสมบูรณ์

     

    30 30

    32. จัดทำป้ายรณรงค์งดสูบบุหรี่

    วันที่ 23 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายรณรงค์งดสูบบุหรี่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำป้ายรณรงค์งดสูบบุหรี่ ตามรูปแบบทีสสส.กำหนด เพื่อประชาสัมพันธ์

     

    7 2

    33. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

    วันที่ 25 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมเสวนาพูดคุยเเสดงความคิดเห็นสรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ร่วมเสวนาพูดคุย เเสดงความคิดเห็น ถึงผลดีผลเสีย ที่เกิดขึ้นกับโครงการ กลุ่มเป้าหมายใด้ทำกิจกรรมร่วมกันเรีกนรู้การใช้สมุนไพรดับกลิ่นมูลสัตว์  เกิดการนำมูลสัตว์ เศษวัสดุมาเป็นวัสถุดิบในการทำปุ่ยหมัก เกิดความร่วมมือร่วมใจกันของคนในชุมชน มีความเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน

     

    30 25

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ มีทักษะ และแก้ไขปัญหามลพิษทางกลิ่นจากมูลสัตว์โดยใช้สมุนไพรได้
    ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1.1 ครัวเรือน 70 ครัวเรือน มีความรู้ในการแก้ไขมลพิษทางกลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์โดยใช้สมุนไพร 1.2 มีแกนนำตัวแทนละแวกกลุ่มบ้านจำนวน 7 กลุ่มละแวกบ้านมีส่วนร่วมการจัดการมลพิษทางกลิ่น โดยมีการพูดคุยกันทุกเดือน เพื่อขับเคลื่อนงาน 12 ครั้ง 1.3 แกนนำร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้สมุนไพรดับกลิ่นมูลสัตว์ จำนวน 50 คน 1.4 ฟาร์มเลี้ยงสัตว์มีการนำสมุนไพรใช้แก้ไขปัญหามลพิษทางกลิ่นของมูลสัตว์และมีฟาร์มต้นแบบแก้ไขปัญหากลิ่นมูลสัตว์ร้อยละ 50 1.5 ฟาร์มสาธิตการจัดการแก้ปัญหามลพิษจากกลิ่นมูลสัตว์จำนวน 2 ฟาร์ม 1.6 ครัวเรือนสาธิตใช้แก๊สชีวมวลนำมูลสัตว์มาใช้ประโยชน์ในครัวเรือน จำนวน 1 แห่ง เชิงคุณภาพ 1.1 ประชาชนมีความรู้และสามารถประยุกต์ใช้สมุนไพรแก้ไขปัญหากลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์ได้ 1.2 แกนนำมีส่วนร่วมการจัดการมลพิษทางกลิ่นโดยมีการพูดคุยกันทุกเดือน 1.3 ฟาร์มเลี้ยงสัตว์แก้ไขปัญหาเนื่องจากกลิ่นมูลสัตว์ 1.4 แกนนำร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้สมุนไพรดับกลิ่นมูลสัตว์ 1.5 มีฟาร์มสาธิตการจัดการแก้ปัญหามลพิษจากกลิ่นมูลสัตว์เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน 1.6 มีแหล่งเรียนรู้แก๊สชีวมวลสาธิตในชุมชน

    1.1 มีครัวเรือน 70 ครัวเรือน ได้เข้าร่วมและมีความรู้สามารถประยุกต์ในการแก้ไขมลพิษทางกลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์โดยใช้สมุนไพรเพื่อแก้ปัญหาในชุมชน

    1.2 มีแกนนำในชุมชนที่มีส่วนร่วมจัดการส่งเสริมมีการพูดคุยกันทุกเดือนจำนวน 12 ครั้งเพื่อขับเคลื่อนการดำเนิน ประเมิน ติดตามโครงการ

    1.3 แกนนำและคนในชุมชนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้สมุนไพรดับกลิ่นมูลสัตว์เพื่อนำความรู้มาใช้ในการแก้ปัญหาเรื่องกลิ่นจากมูลสัตว์ของชุมชนได้มีผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 50 คน

    1.4 มีฟาร์มเลี้ยงสัตว์เข้าร่วมโครงการโดยมีการนำสมุนไพรใช้แก้ไขปัญหามลพิษทางกลิ่นของมูลสัตว์และมีฟาร์มต้นแบบแก้ไขปัญหากลิ่นมูลสัตว์ จำนวน 7 ฟาร์ม

    1.5 มีฟาร์มสาธิตการจัดการแก้ปัญหามลพิษจากกลิ่นมูลสัตว์และเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน จำนวน 2 ฟาร์ม

    1.6 มีครัวเรือนสาธิตใช้แก๊สชีวมวลนำมูลสัตว์มาใช้ประโยชน์ในครัวเรือนและเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน จำนวน 1 แห่ง

    2 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการปลูกสมุนไพรและผลิตสูตรสมุนไพรในการกำจัดกลิ่นมูลสัตว์
    ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 2.1 มีครัวเรือนนำร่องในการปลูกสมุนไพรในการทำสมุนไพรดับกลิ่น จำนวน 70 ครัวเรือน 2.2 มีชมรมสมุนไพรหมู่บ้าน จำนวนสมาชิก 70 คน 2.3 มีเยาวชนเรียนรู้เรื่องสมุนไพร จำนวนสมาชิก 30 คน 2.4 เกิดบ้านต้นแบบการปลูกและใช้สมุนไพรดีเด่นเพื่อเป็นฐานเรียนรู้เรื่อง 7 หลังคาเรือน 2.5 ประชาชนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมวันมหกรรมสมุนไพรบ้านไม้มูก จำนวน 100 คน 2.6 แกนนำและเยาวชนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องครัวตัวอย่างหลีกเลี่ยงสารเคมี จำนวน 60 คน เชิงคุณภาพ 2.1 ครัวเรือนมีการปลูกและใช้สมุนไพรแก้ไขปัญหากลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์ 2.2 มีกลุ่มสมุนไพรเกิดขึ้นในหมู่บ้าน 1 กลุ่ม 2.3 ชุมชนมีกลุ่มเยาวชนรักษ์สมุนไพรเกิดขึ้นในหมู่บ้าน 2.4 ชุมชนมีบ้านต้นแบบปลูกและใช้สมุนไพรเป็นฐานเรียนรู้แลกเปลี่ยนของ 2.5 ประชาชนร่วมกิจกรรมเรียนรู้วันมหกรรมสมุนไพรบ้านไม้มูก 2.6 แกนนำและเยาวชนมีความรู้เรื่องครัวตัวอย่างหลีกเลี่ยงสารเคมี

    2.1 มีครัวเรือนปลูกและใช้สมุนไพรแก้ปัญหากลิ่มเหม็นจากมูลสัตว์โดยนำสมุนไพรมาทำเป็นสูตรสมุนไพรดับกลิ่น จำนวน 70 ครัวเรือน

    2.2 มีชมรมสมุนไพรหมู่บ้าน จำนวนสมาชิก 70 คน

    2.3 มีกลุ่มเยาวชนรักษ์สมุนไพรร่วมเรียนรู้เรื่องสมุนไพร จำนวน 30 คน

    2.4 มีบ้านต้นแบบการปลูกและใช้สมุนไพรดีเด่นเพื่อเป็นฐานเรียนรู้เรื่อง 7 หลังคาเรือน

    2.5 ประชาชนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมวันมหกรรมสมุนไพรบ้านไม้มูก จำนวน 100 คน

    2.6 มีแกนนำและเยาวชนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องครัวตัวอย่างหลีกเลี่ยงสารเคมี จำนวน 60 คน

    3 เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลการดำเนินงานโครงการ
    ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. หรือ สจรส.

    เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส สจรส.มอ. และพี่เลี้ยง ทุกครั้ง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ มีทักษะ และแก้ไขปัญหามลพิษทางกลิ่นจากมูลสัตว์โดยใช้สมุนไพรได้ (2) เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการปลูกสมุนไพรและผลิตสูตรสมุนไพรในการกำจัดกลิ่นมูลสัตว์ (3) เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลการดำเนินงานโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ บ้านไม้มูกปลอดกลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์ด้วยสมุนไพร

    รหัสโครงการ 57-01471 รหัสสัญญา 57-00-1078 ระยะเวลาโครงการ 1 กรกฎาคม 2557 - 30 มิถุนายน 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    มีการใช้ภูมิปัญญาในท้องถิ่นในการนำสมุนไพรทำสูตรสมุนไพรดับกลิ่นมูลสัตว์ โดยนำสมุนไพรที่มีในชุมชนมาหมักรวมกับน้ำหมักชีวภาพ เพื่อนำไปราดในบริเวณฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพื่อใช้ดับกลิ่น

    เอกสารสรุปโครงการ

    ขยายผลความรู้ให้พื้นที่ใกล้เคียงร่วมทำเพิ่มเติมและต่อยอดการดำเนินงานการสอนชาวบ้านให้ร่วมทำเพิ่ม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    การทำแก๊สชีวมวลจากมูลสัตว์ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในครัวเรือน

    แก๊สชีวมวลบ้านนายสมคิด จันทร์สุวรรณ

    เป็นต้นแบบการเรียนรู้ของคนในชุมชนเพื่อให้มีพัฒนาขยายไปยังครัวเรือนอื่นๆในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    เกิดกระบวนการร่วมกันคิดร่วมกันวางแผนร่วมกันแก้ไขปัญหาของคนในชุมชนโดยใช้ทรัพยากรทีมีในชุมชนเองจัดการปัญหาเรื่องกลิ่นของมูลสัตว์การจัดทำสูตรโดยใช้สมุนไพรเพื่ิอดับกลิ่น

    เอกสารสรุปโครงการ

    บันทึกลำดับขั้นตอนการทำสูตรไพรดับกลิ่นและพัฒนาปรับปรุงให้ดีขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์คนที่ความรู้ด้านสมุนไพร และการแก้ไขปัญหาเรื่องกลิ่น เรื่องสิ่งแวดล้อมจากปราชญ์ชาวบ้าน ไปยังเยาวชนและคนในชุมชน โดยคนในชุมชนร่วมกัน

    บันทึกการประชุมและเอกาสารสรุปโครงการ

    ให้มีการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่คนรุ่นใหม่เป็นแกนนำร่วมจัดการแก้ปัญหาในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    ชมรมสมุนไพรหมู่บ้าน จำนวนสมาชิก 70 คน กลุ่มเยาวชนรักษ์สมุนไพร จำนวน 30 คน บ้านต้นแบบสมุนไพร 7 ครัวเรือน

    เอกสารสรุปโครงการ

    ขยายผลบ้านเพิ่มเติมให้ครอบคลุมทั้งหมู่บ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    บ้านต้นแบบสมุนไพร 7 ครัวเรือน และการทำแก๊สชีวมวลจากมูลสัตว์ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในครัวเรือน

    แก๊สชีวมวลบ้านนายสมคิด จันทร์สุวรรณ และบ้านต้นแบบสมุนไพร

    ให้คนในชุมชน เด็กเยาวชนได้เข้ามาเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการพัฒนาต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    คนในชุมชนหันมาสนใจการดูแลตนเองที่มีผลกระทบจากปัญหาเรื่องกลิ่นเหม็นสมุนไพรของชุมชน จากการได้ร่วมทำกิจกรรมแก้ไขปัญหาจากกลิ่นมูลสัตว์

    เอกสารสรุปโครงการ

    ส่งเสริมเรื่องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลแก่เด็กเยาวชนและคนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    ได้มีการตระหนักเรื่องเภทภัยของบุหรี่มากขึ้นจากการเข้าร่วมกิจกรรม และเห็นแผ่นป้าย ละ ลด เลิกบุหรี่ของ สสส.

    ป้ายลดละเลิกบุหรี่ที่ศาลาเอนกประสงค์หมู่บ้าน

    ส่งเสริมให้มีการรณรงค์ลด ละ เลิก อบายมุข อื่นๆ อย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    มีการใช้ภูมิปัญญาในท้องถิ่นในการนำสมุนไพรทำสูตรสมุนไพรดับกลิ่นมูลสัตว์ โดยปราชญ์ชาวบ้าน ผู้รู้ในชุมชนนำสมุนไพรที่มีในชุมชนมาหมักรวมกับน้ำหมักชีวภาพ เพื่อนำไปราดในบริเวณฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพื่อใช้ดับกลิ่น และฝึกปฎิบัติให้คนในชุมชนร่วมลงมือทำ

    เอกสารสรุปโครงการ

    ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรในชุมชนทำน้ำหมักสมุนไพร และปุ๋ยชีวมวลอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    คนในชุมชนให้ความสำคัญการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมมากขึ้นร่วมกันจัดการแก้ปัญหาของครอบครัว ของชุมชนโดยคนในชุมชนเอง

    จำนวนครัวเรือนร่วมปลูกสมุนไพร

    ประชาสัมพันธ์ผลดีการทำน้ำหมักสมุนไพร การทำปุ๋ยชีวมวล เป็นการลดค่าใช้จ่าย คนในครอบครัวได้ใช้เวลาร่วมกัน เกิดสัมพันธภาพที่ดีของครอบครัวตนเอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    มีการใช้ภูมิปัญญาในท้องถิ่นในการนำสมุนไพรทำสูตรสมุนไพรดับกลิ่นมูลสัตว์ โดยปราชญ์ชาวบ้าน ผู้รู้ในชุมชนนำสมุนไพรที่มีในชุมชนมาหมักรวมกับน้ำหมักชีวภาพ เพื่อนำไปราดในบริเวณฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพื่อใช้ดับกลิ่น และฝึกปฎิบัติให้คนในชุมชนร่วมลงมือทำจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน และครัวเรือนของตนเองให้ถูกสุขลักษณะ

    เอกสารสรุปโครงการ

    พัฒนาบริเวณที่ว่างเปล่าในครัวเรือนให้ปลูกสมุนไพร และจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อแก้ไขปัญหา นำมูลสัตว์ เศษวัสดุมาใช้ประโยชน และขยายชาวบ้านร่วมทำเพิ่ม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    มีการจัดการสภาพแวดล้อมบริเวณบ้านใช้ประโยชน์จากการปลูกสมุนไพรและจัดการแหล่งกลิ่นจากมูลสัตว์ โดยความร่วมมือร่วมใจจากคนในชุมชน เจ้าของฟาร์มเลี้ยงสัตว์ การเรียนของกลุ่มเยาวชนในชุมชน ส่งเสริมให้เรียนรู้ทำงานร่วมกันเพื่อปรับเปลี่ยนวิถีและพฤติกรรม ปรับสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ

    เอกสารสรุปโครงการ

    ส่งเสริมให้มีการใช้สมุนไพรดับกลิ่นและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมเพื่อลดปัญหาเรื่องกลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์อย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    ใช้การประชุมประจำเดือนเป็นการติดตามการดำเนนิงาน และติดตามการปฏิบัติตามกติกากลุ่ม เพื่อลดและปรับปรุงแก้ปัญหาเรื่องกลิ่นมูลสัตว์ร่วมกัน

    จากบันทึกการประชุมประจำเดือน

    นำข้อมูลจากการติดตามประจำเดือนมาพัฒนาต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีการแลกเปลี่ยนรู้กับชุมชนบ้านต้นกระท้อนเพื่อเป็นภาคีเครือข่ายการแก้ปัญหาของชุมชน

    การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชนบ้านต้นกระท้อน

    มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสานความร่วมมือกันอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    ได้มีการนำปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมกลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์มาวางแผน ประเมิน แก้ไขปัญหา และนำกิจกรรมในโครงการเข้าแผนตำบล

    แผนชุมชนปี 2558

    ดำเนินงานตามแผนชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    มีการใช้ภูมิปัญญาในท้องถิ่นในการนำสมุนไพรทำสูตรสมุนไพรดับกลิ่นมูลสัตว์ โดยปราชญ์ชาวบ้าน ผู้รู้ในชุมชนเป็นแกนนำในการเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรือ่งสมุนไพรชนิดต่าง ๆ การนำมาประยุกต์ทำสูตรสมุนไพรดับกลิ่น การหมักรวมกับน้ำหมักชีวภาพ เพื่อนำไปราดในบริเวณฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพื่อใช้ดับกลิ่น และฝึกปฎิบัติให้คนในชุมชนร่วมลงมือทำจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน และครัวเรือนของตนเองให้ถูกสุขลักษณะ

    เอกสารสรุปโครงการ

    ปราชญ์ชาวบ้านในชุมชนร่วมกันถ่ายทอดความรู้ให้แก่คนในชุมชนและเยาวชนเพื่อ เป็นแกนนำรุ่นต่อไป และร่วมค้นหาทุนในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    กลุ่มคนในชุมชนร่วมมือกันทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

    บันทึกกิจกรรมโครงการ

    ส่งเสริมการทำกิจกรรมที่มีประโยชน์อย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    คนในชุมชนร่วมกันจัดการความรู้เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรช่วยดับกลิ่นมูลสัตว์

    บันทึกกิจกรรมโครงการ

    ส่งเสริมการทำกิจกรรมที่ทำให้คนมาร่วมกันแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของคนในชุมชนเพื่อหาแนวทางร่วมกัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    แกนนำในชุมชนร่วมกันประชุมทุกเดือนเพื่อวางแผน ประเมิน ตัดสินใจแก้ปัญหา ฝึกทักษะการปัญหาของชุมชนมาวางแผนแก้ไขโดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

    บันทึกประชุมประจำเดือน

    ส่งเสริมให้มีกระบวนการจัดการแก้ไขปัญหาในชุมชน โดยนำข้อมูลปัญหามาจัดลำดับ และระดมความคิดเห็นของคนในชุมชน วางแผน หาแนวทางแก้ไข ประเมินติดตาม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    มีบ้านต้นแบบการปลูกสมุนไพร 3 ครัวเรือนเป็นที่เป็นฐานเรียนรู้การปลูกสมุนไพรของชุมชน

    บ้านนางระเบียบ  คงยืน บ้านนางเรณู    บานเย็น บ้านนางบุญคล่อง  สุกใส

    ให้มีการเรียนรู้และสนับสนุนการปลูกไพรเพื่อขยายไปยังบ้านอื่นๆ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    คนในชุมชนเห็นความสำคัญในการแก้ไขปัญหาของชุมชน ทั้งเจ้าของฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบร่วมกันทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์และแก้ไขปัญหาร่วมกัน

    จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม

    ส่งเสริมให้มีการทำกิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชน เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีของกลุ่มคน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    คนในชุมชนได้นำสมุนไพรที่ร่วมกันปลูกตามละแวกบ้านมาร่วมกันทำสูตรสมุนไพรดับกลิ่น  มีการนำมูลสัตว์ และเศษวัสดุในชุมชนทำเป็นวัตถุดิบในการทำปุ๋ยชีวมวล มาฝึกปฏิบัติพร้อมกันที่ศาลาหมู่บ้าน และร่วมกันดำเนินการทุกกิจกรรม เกิดความช่วยเหลือกันในชุมชน

    เอกสารสรุปโครงการ

    คงไว้ซึ่งกิจกรรมการช่วยเหลือกันเองในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    บ้านไม้มูกปลอดกลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์ด้วยสมุนไพร จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ 57-01471

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางละมัย ช่วยบำรุง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด