แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 57-01475
สัญญาเลขที่ 57-00-1077

ชื่อโครงการ บ้านไกรไทยเป็นชุมชนสร้างเสริมสุขภาพดีด้วยตำรับสมุนไพร(ต่อยอด)
รหัสโครงการ 57-01475 สัญญาเลขที่ 57-00-1077
ระยะเวลาตามสัญญา 10 มิถุนายน 2014 - 10 กรกฎาคม 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายมนูญ พลายชุม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 31 มีนาคม 2015
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 31 มีนาคม 2015
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางชะอ้อน สารักษ์ 58 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ๋ จังหวัดนครศรีธรรมราช 0848478750
2 นางสมสวย ภูแข็ง 135 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ๋ จังหวัดนครศรีธรรมราช 0878944013
3 นางสายชล เพ็งตุก 1 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ๋ จังหวัดนครศรีธรรมราช 0801461475
4 นายสิทธิพล รักษ์ทิพย์ 55/2 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ๋ จังหวัดนครศรีธรรมราช 0813678256
5 นางสาคร ยิ้มแย้ม 126/2 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช 0828067058
6 นางสาวอนุสรา หนูคง 140 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
7 นางปราณี รักษ์ทิพย์ 55/2 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
8 นางบุปผา ชูเมือง 270 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
9 นางอารีย์ ดำพัลวัน 54 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อให้บ้านไกรไทยเป็นชุมชนสร้างเสริมสุขภาพดีด้วยตำรับสมุนไพร

1.1 คณะทำงานบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ

1.2.ประชาชนครัวเรือนเป้าหมาย มีส่วนร่วมในการสำรวจข้อมูลชุมชนร้อยละ 100

1.3 ส่งเสริมการปรับพฤติกรรมสุขภาพด้วยการแพทย์พื้นบ้าน ร้อยละ 85

1.4 มีแผนปรับพฤติกรรมสุขภาพด้วยวิถีพื้นบ้าน ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมาย

2.

2.เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและฟื้นฟูวัฒนธรรมชุมชน

2.1 มีธนาคารสมุนไพร เพิ่มขึ้น 1 แห่ง

2.2 มีสวนสมุนไพรเพิ่มขึ้น 1 แห่ง

2.3 มีการฟื้นฟู อนุรักษ์ สืบสานภูมิปัญญาประเพณีชุมชนด้านสมุนไพร 1 เรื่อง

2.4 ประชาชนเป้าหมายร่วมประเพณีสืบสานด้านสมุนไพรชุมชน ร้อยละ 85

3.

3.เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรและส่งเสริมการแพทย์พื้นบ้าน

3.1 มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรและส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น 3 ชนิด คือ ชากระเจี๊ยบ ชาตะไคร้ น้ำยาเอนกประสงค์มะกรูด

3.2 มีกลุ่มแปรรูปสมุนไพรชุมชน เพิ่มขึ้น 1 กลุ่ม

3.3 มีการจัดมหกรรมสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์พื้นบ้านและสมุนไพร 1 ครั้ง

4.

เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลการดำเนินงานโครงการ

จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส.หรือ สจ.รส.

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ประชุมคณะทำงาน (12 ครั้ง)i

10,000.00 25 ผลผลิต

1.ได้เรียนรู้กระบวนการทำกิจกรรมตามโครงการ 2.มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ในการทำงาน 3.สร้างคุณค่าใ้ห้เกิดกับคณะทำงาน 4.เป็นกระบวนการสร้างให้เกิดพลังชุมชน ที่จะร่วมขับเคลื่อนกิจกรรม 5.คณะทำงานได้มองเห็นคุณค่าคนทำงาน และคุณค่าทรัพยากรชุมชน 6.เกิดกระบวนทำงานและกลไกขับคลื่อนงาน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน : คณะทำงานได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหาด้วยทุนชุมชน และมีการกำหนดบทบาทหน้าที่การทำงาน เปลี่ยนแนวคิดทำเพื่อตนเอง มาทำเพื่อส่วนร่วม การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม : มีการนำทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาพัฒนาให้เกิดประโยชน์ และนำภาคีมาร่วมทำงาน การเปลี่ยนแปลงกลไก : มีการกำหนดหน้าที่การทำงาน มีระบบการประสานกับผู้นำท้องถิ่นชัดเจนขึ้น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 12 ครั้ง

คณะทำงานเข้าร่วมประชุม 25 คน 

750.00 750.00 25 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีการมอบหมายหน้าที่ในการทำงาน
  2. มีการวางแผนการทำงานร่วมกัน
  3. มีการทบทวบกิจกรรมตามโครงการ เพื่อให้ทุกคนเข้าใจ

คณะทำงาน 25 คน 

2,350.00 2,350.00 25 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.คณะทำงานรับทราบวิธีการดำเนินงานร่วมกัน
2.ทีมคณะทำงานมีความพร้อมเกิดความร่วมมือของคณะทำงาน
3.ได้แลกเปลี่ยนวิธีการทำงานระหว่างกัน ได้ร่วมกันระดมความคิดแนวทางปฏิบัติ

คณะทำงานเข้าร่วมประชุม 25 คน 

750.00 750.00 25 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คณะทำงานได้เรียนรู้และวางแผนการทำงาน
  2. ร่วมกันออกแบบสำรวจข้อมูลชุมชน
  3. ทำให้ได้ทราบปัญหาความต้องการของชุมชน
  4. สร้างความไว้วางใจระหว่างทีมงานกับประชาชนในด้านข้อมูลครัวเรือน

คณะทำงาน 25 คน 

750.00 750.00 25 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีการประชุมตามแผนงานที่กำหนด
  2. มีการติดตามความก้าวหน้าของงาน
  3. ทีมงานรุ้สึกเป็นเจ้าของในกิจกรรม
  4. มีการนำภาคีเข้ามาร่วมทำงาน
  5. เปิดโอกาสให้ทุกคนได้ร่วมพัฒนา

คณะทำงาน 25 คน 

750.00 750.00 25 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีการรายงานผลและติดตามผลการดำเนินงาน
  2. มีการประชุมตามแผนที่กำหนด
  3. มีการจัดกิจกรรมตามแนวทางที่กำหนด
  4. มอบหมายหน้าที่ในการจัดกิจกรรม

คณะทำงาน 25 คน

750.00 750.00 25 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการรายงานผลและติดตามผลการดำเนินงาน 2.มีการประชุมตามแผนที่กำหนด 3.มีการวางแผนในการจัดกิจกรรมรอบต่อไป 4.มีการแบ่งความรับผิดชอบและมอบหมายหน้าที่ของกรรมการในการจัดกิจกรรมรอบต่อไป

คณะทำงาน ผู้นำชุมชน

750.00 750.00 25 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ได้ประชุมเพื่อติดตามงานตามเวลาที่กำหนด 2.ทีมงานได้รู้หน้าที่ตนเอง 3.ได้วางแผนการทำงานล่วงหน้า

คณะทำงาน ผู้นำชุมชน

750.00 750.00 25 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการมอบหมายงานกันทำตามความถนัด ของตนเอง 2.เกิดความมั่นใจในการทำงานมากขึ้น. 3.คณะทำงานได้เตรียมความพร้อมในกิจกรรมครั้งต่อไป

คณะทำงาน ผู้นำชุมชน

750.00 750.00 25 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.คณะทำงานมีการเตรียมข้อมูลการทำงานขัดเจนขึ้น
2.วางแผนการติดตามผลการดำเนินงานและความก้าวหน้าของกิจกรรม
3..คณะทำงานมีการเรียนรู้ร่วมกัน 4.มีการยอมนับกันมากขึ้น

คณะทำงาน

750.00 750.00 25 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.คณะกรรมการมีการสรุปและติดตามงาน 2.คณะทำงานวางแผนการจัดมหกรรมสุขภาพ
3.มีการรายงานการติดตามผลงานและความก้าวหน้าของกิจกรรม
4.เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงาน
5.สร้างคุณค่าในกระบวนการพัฒนางาน 6.มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในกิจกรรมครั้งต่อไป

คณะทำงาน ผู้นำชุมชน

450.00 450.00 25 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการติดตาม การมอบหมายงานให้รับผิดชอบ ทุกคนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี 2.เห็นภารพการทำงานของคณะกรรมการแบบมีส่วนร่วม
3.มีการยอมรับมากขึ้น 4.มีคณะกรรมวางแผนการจัดมหกรรมสุขภาพ และได้แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

คณะทำงาน  ผู้นำชุมชน

450.00 450.00 25 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกิดกระบวนการการทำงานเป็นทีม
2.มีการสรุปผลการทำงาน ร่วมกัน 3.คณะทำงานมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงาน เกิดภาพการทำงานแบบมีส่วนร่วม 4.มีการวางรูปแบบการจัดทำรูปเล่มรายงานเพื่อรายงานปิดโครงการ

กิจกรรมหลัก : สำรวจข้อมูลชุมชน (3 วัน)i

15,000.00 40 ผลผลิต

1.มีฐานข้อมูลชุมชน 2.มีกระบวนการวางแผนในการเก็บข้อมูลชุมชน 3.มีทีมเก็บข้อมูล 4.ข้อมูลที่สำรวจ สอดคล้องกับวิถีชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน : มองเห็นประโยชน์จากการนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาชุมชน และเป็นข้อมูลที่อยู่ใกล้ตัว การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม : กลุ่มเก็บข้อมูลมีความหลากหลายและให้โอกาสกับทุกคนที่สมัครใจ นำเยาวชน นักเรียนมาอยู่ในกลุ่ม การเปลี่ยนแปลงกลไก : มีกระบวนการจัดกลุ่มและทีมเก็บข้อมูล เพื่อช่วยกันให้เสร็จเร็วขึ้น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

คณะทำงานร่วมกันคิดแบบสอบถาม 5 คน 

0.00 0.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คณะทำงานได้ระคมคิดหาข้อมูลในการสำรวจแบบสอบถามในชุมชน
  2. แบบสอบถามมีทั้งหมด 5 ส่วน 86 ข้อ

คณะทำงานและทีมร่วมสำรวจข้อมุูล 40  คน 

15,000.00 15,000.00 40 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. สร้างการมีส่วนร่วมในโครงการ โดยใช้กระบวนสำรวจข้อมูลเป็นจุดเริ่มต้น
  2. เกิดสัมพันธภาพที่ดีและเรียนรู้ร่วมกัน ในการนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาชุมชน
  3. มีฐานข้อมูลระดับครัวเรือน และระดับชุมชน
  4. มีการสอนงานระหว่างทีมงาน ประชาชน นักเรียน ในการสำรวจข้อมูล ทำให้เกิดความรู้สึกมีคุณค่าและสัมพันธ์ที่ดีระหว่างวัย

คณะทำงาน 20 คน

0.00 0.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานและทีมสำรวจ มาพูดคุยเกี่ยวกับผลการสำรวจข้อมูล พบว่า

  1. ข้อมุูลที่ทำการสำรวจได้มีเพียง 142 ชุด คิดเป็นร้อยละ 78.88 ส่วนอีกที่เหลือร้อยละ 21.11 พบว่า มีบ้านเรือนทับซ้อนกัน บางครัวเรือนอยู่ 1 หลัง แต่หลายบ้านเลขที่  บางครัวเรือนไม่ได้อยู่ในพื้นที่ มีเฉพาะทะเบียนบ้าน เจ้าของบ้านย้ายไปนานแล้ว
  2. ทุกครัวเรือน ให้ข้อมูลด้วยความเต้มใจ ทุกครัวเรือน
  3. คำถามทีพบปัญหามากที่สุดคือ เรื่องหนี้สิน รายรับ รายจ่าย ครัวเรือน
  4. ปรึกษาพี่เลี้ยงแล้ว ข้อคำถามไหนที่มีปัญหาให้ข้ามไปได้ เพราะต้องการเฉพาะบางส่วนที่สอบถามได้
  5. ข้อมูลที่เก็บได้ เสนอแนะให้ไปบันทึกในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ง่ายต่อการประมวลผล
    ทุกคนเห็นด้วย

กิจกรรมหลัก : ปรับพฤติกรรมสุขภาพ (3 ครั้ง)i

28,000.00 100 ผลผลิต

1.มีการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพ 2.มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง โดยเน้นออกำลังกาย 3.นำภูมิปัญญาด้านสุขภาพ มาใช้ในการปรับสมดุลชีวิต 4.มีการนำสมุนไพรมาใช้ในการปรับพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน : ประชาชนได้เรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับวิถีภูมิปัญญา และสมุนไพรมาใช้ในการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม : มีการปลูกสมุนไพรที่บ้าน สมุนไพรที่ชุมชนและนำมาใช้ในการดูแลุสขภาพ เพื่อลดการใช้สารเคมี การเปลี่ยนแปลงกลไก : ให้ทุกคนนำสมุนไพรที่มีอยู่ในบ้าน มาใช้ดูแลสุภขาพตนเอง ไม่เน้นการซื้อ เป็นการสร้างให้เกิดคุณค่า

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

ประชาชนผุ้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม  100 คน

11,000.00 11,000.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้วิธีการดูแลตนเอง และปรับพฤติกรรมตนเอง เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
  2. ลดรายจ่ายในด้านสุขภาพ
  3. ส่งเสริมการดูแลสุขภาพตามวิถีภูมิปัญญา
  4. ส่งเสริมการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมายที่สนใจปรับพฤติกรรมสุขภาพ 100  คน 

9,000.00 9,000.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประชาชนได้เรียนรู้แนวทางดูแลสุขภาพโดยใช้วิถีภูมิปัญญาและสมุนไพร
  2. มีทางเลือกในการดูแลสุขภาพ
  3. ลดค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพ
  4. ส่งเสริมการใช้สมุนไพรชุมชน และสร้างคุณค่าให้เกิดกับสมุนไพร
  5. ส่งเสริมให้เกิดวิสาหกิจชุมชน

กลุ่มเป้าหมายเข้ารวมกิจกรรมปรับพฤติกรรมสุขภาพ

8,000.00 8,000.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 100 ปรับพฤติกรรมสุขภาพ 2.กลุ่มเป้าหมายได้รู้คุณค่าน้ำสมุนไพร 3.กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพเปล่ี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น

กิจกรรมหลัก : ธนาคารสมุนไพร (3 ครั้ง)i

13,000.00 50 ผลผลิต

1.มีการกำหนดโซนปลูกสมุนไพรในชุมชน 2.มีการรวมกลุ่มในการจัดทำธนาคารสมุนไพร 3.เกิดกระบวนการอนุรักษ์สมุนไพรในชุมชน 4.เยาวชนเข้าร่วมพัฒนาและทำธนาคารสมุนไพร 5.ทราบข้อมุลสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน : มีการปรับแนวคิดในการเห็นคุณค่าสมุนไพร โดยทำเป็นกลุ่ม ทำเป็นธนาคาร และมองเห็นกระบวนการอนุรักษ์สมุนไพร การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม : มีการปลูกสมุนไพรเป็นโซน และเป็นสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน ส่งเสริมการปลูกสุมไพรเพื่อปรับสภาพดิน การเปลี่ยนแปลงกลไก : ใช้กระบวนการทำงานร่วมกันระหว่างประชาชน เยาวชนและนักเรียน มาเป็นภาคีร่วมทำงาน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

กลุ่มสมุนไพร50 คน 

5,000.00 5,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประชาชนได้มีโอกาสเข้าร่วมพัฒนา ตามความสมัครใจ
  2. มีการแบ่งกลุ่มกันทำงาน ตั้งแต่เยาวชน นักเรียน ครู ประชาชน และทีมงาน
  3. แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในการพัฒนา
  4. มีการเรียนรู้โซนปลูกสมุนไพร
  5. มีการวางเป้าหมายพัฒนาร่วมกัน

กลุ่มเป้าหมาย 50 คน 

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีธนาคารสมุนไพรในชุมชน

2.มีการเก็บรวบรวมข้อมูลสมุนไพร พบว่าสำรวจ 146 ครัวเรือน มีสมุนไพร  79 ชนิด  1707 ต้น มอบให้ธนาคารสมุนไพร 326 ต้น

3.เป็นศุนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพร

4.เกิดแนวทางอนุรักษ์สมุนไพรที่หายากและสมุนไพรชุมชน

คณะทำงาน  ผุ้นำชุมชน  ผู้สูงอายุ เยาวชน

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีธนาคารสมุนไพรในชุมชน 2.เป็นศุนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพร 3.เกิดแนวทางอนุรักษ์สมุนไพรที่หายากและสมุนไพรชุมชน 4. ประชาชนได้มีโอกาสเข้าร่วมพัฒนา ตามความสมัครใจ 5. มีการแบ่งกลุ่มกันทำงาน ตั้งแต่เยาวชน นักเรียน ครู ประชาชน และทีมงาน 6. แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในการพัฒนา 7. มีการวางเป้าหมายพัฒนาร่วมกัน

กิจกรรมหลัก : สวนสมุนไพร (4 ครั้ง)i

20,500.00 50 ผลผลิต

1.มีสวนสมุนไพรในชุมชน 2.มีการรวบรวมสมุนในชุมชน มาไว้ที่สวนสมุนไพรกลางของชุมชน 3.เกิดกระบวนการ รักษ์ หวงแหนสมุนไพร 4.เป็นการส่งเสริมการใช้สมุนไพร 5.ส่งเสริมให้ประชาชนมองเห็นคุณค่าสิ่งที่เป็นภูมิปัญญา


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน : มีการทำงานเป็นทีม มีการให้เกียรติกัน และนำสมุนไพรในบ้าน มาปลูกไว้ในชุมชน การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม : นำสิ่งที่อยู่ใกล้ มาเผยแพร่ให่้คนในชุมชนได้รับรู้ เกิดกระบวนการรัก หวงแหนสมุนไพร การเปลี่ยนแปลงกลไก : มีการจัดเวร แบ่งหน้าที่ในการดูแลสมุนไพร

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 4 ครั้ง

กลุ่มสมุนไพร 50 คน 

8,500.00 8,500.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประชาชนเข้าร่วมพัฒนาสวนสมุนไพร
  2. สร้างภาคีร่วมทำงานคือโรงเรียนวัดพระบาท
  3. ร่วมกันทำเป็นศูนย์เรียนรู้ของชุมชน
  4. ประชาชนให้ความเชื่อมั่น และสร้างคุณค่าให้เกิดกับสมุนไพร

คณะทำงาน  ผู้นำชุมชน  เยาวชน 

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ประชาชนเข้าร่วมพัฒนาสวนสมุนไพร 2.สร้างภาคีร่วมทำงานคือโรงเรียนวัดพระบาท 3.ร่วมกันทำเป็นศูนย์เรียนรู้ของชุมชน 4.ประชาชนให้ความเชื่อมั่น และสร้างคุณค่าให้เกิดกับสมุนไพร 5.มีแปรงสมุนไพร ประจำหมู่บ้าน

คณะทำงาน  ผุ้นำชุมชน  ตัวแทนครัวเรือน  ผู้สูงอายุ  เยาวชน

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีสวนสมุนไพรของชุมชน 2.มีการนำสิ่งของเหลือใช้มาประต์ใช้คือ ล้อยางรถยนต์มาทำเป็นกระถางปลูกสมุนไพร 3.เกิดการเรียนรู้และได้ฝึกปฏิบัติในการตีดล้อยางรถยนต์ 4.มีการยอมรับมากขึ้นในหมู่คณะ 5.มีความรักความสามัคคี 6.มีความสัมพัธ์ระหว่างวัยเพิ่มขึ้น

คณะทำงาน  ผู้นำชุมชน  เยาวชน  ผู้สูงอายุ

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีสวนสมุนไพรของชุมชน 2.มีการแลกเปลียนเรียนรู้ในขณะทำกิจกรรม 3.มีความสามัคคีเพิ่มขึ้น

กิจกรรมหลัก : ต่อเทียนภูมิปํญญา(3 ครั้ง)i

16,000.00 50 ผลผลิต

1.เกิดกระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาชุมชน 2.ใช้วิถีพุทธ มาดำเนินกิจกรรมสานต่อเทียนภูมิปัญญา 3.สร้างคุณค่าให้เกิดกับวัด และประชาชน 4.นำสิ่งที่มีอยู่ สิ่งที่ศรัทธา มาเป้นจุดเชื่อมในการจัดกิจกรรมและสร้างโอกาสการพัฒนา


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน : ประชาชนเปลี่ยนความคิดเพราะใช้วิถีพุทธ และจิตศรัทธามาเป็นจุดเชือมร้อยกระบวนการทำงาน การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม : ใช้สถานที่ในชุมชน ใช้ทรัพยากรชุมชน และใช้ศรัทธาชุมชน เป็นกลไกการทำงาน การเปลี่ยนแปลงกลไก : ใช้กระบวนการกลุ่ม โดยให้ผู้สูงวัย เป็นคนนำกิจกรรม และใช้ประเพณีชุมชนเป็นจุดเชื่อมร้อย

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย 50 คน 

8,000.00 8,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เป็นการนำวิถีพุทธ วิถีชุมชนมาร่วมพัฒนาด้านสุขภาพ และความเป็นอยู่
  2. ใช้วิถีชุชน เป็นกลไกหนุนเสริมด้านสุขภาพ
  3. เป็นการหนุนเสริมและกระตุ้นให้ประชาชนเกิดความตระหนักด้านสุขภาพ
  4. เป็นแนวทางการสร้างระบบการดูแลสุขภาพแบบทางเลือก

กลุ่มเป้าหมาย เรียนรู้เส้นทางสมุนไพร

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ได้สำรวจพบสมุนไพร 87 ชนิด 2.ได้รู้จักสมุนไพร 3.ได้เห็นคุณค่าของสมุนไพร

กลุ่มเป้าหมายเรียนรู้ภูมิปัญญา

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.กลุ่มเป้าหมายเรียนรุ้สรรพคุณ
2.กลุ่มเป้าหมายเรียนรู้วิธีการขยายพันธ์ 3.เกิดกระบวนการอนุรักษ์สมุนไพร

กิจกรรมหลัก : แปรรูปสมุนไพร (4 ครัั้ง)i

19,000.00 50 ผลผลิต

1.มีการแปรรูปสมุนไพรประคบ สมุนไพรอบ ยาต้มสมุนไพร และชาชงสมุนไพร 2.ได้เรียนรู้สรรพคุณสมุนไพรในการดูแลสุขภาพ 3.เกิดกลุ่มแปรรูปสมุนไพร 4.เกิดความสามัคคีภายในกลุ่ม 5.มีการใช้สมุนไพรในการรักษาโรค


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

1.ลดค่ารักษาพยาบาลจากการเจ็บป่วยเพราะใช้สมุนไพร 2.สุขภาพดีขึ้น เพราะใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ 3.มีการอนุรักษ์สมุนไพรชุมชน และเกิดการหวงแหน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 4 ครั้ง

คณะทำงาน  ผู้นำชุมชน  ตัวแทนครัวเรือน  เยาวชน  ผู้เข้าร่วมโครงการ

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ได้เรียนรู้เกี่ยกับสรรพคุณของสมุนไพร 2.ได้รู้จักสมุนไพรต่างๆ ที่มีในชุมชน 3.ได้รู้จักการนำสมุนไพร นำมาใช้ประโยชน์ 4.ทำให้เกิดความสามัคคี
5.การช่วยเหลือกันในการทำกิจกรรม

คณะทำงาน ผู้นำชุมชนตัวแทนคระวเรือน เยาวชน นักเรียนโรงเรียนวัดพระบาท

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ได้รู้จักสมุนไพรที่เป็นส่วนผสมในการนำไปทำลูกประคบ 2.รู้จักประโยชน์ของการมใช้ลูกประคบ 3.รู้วิธีการทำและได้ฝึกปฎิบัติในการทำลูกประคบ 4.รู้วิธีใช้และข้อควรระวังในการใช้ลูกประคบสมุนไพร 5.สมาชิกในกลุ่มมความสามัคคีกันเรียนรู้และได้ปฏิบัติไปด้วยกัน 6.มีการยอมรับมากขึ้นในกลุ่ม

คณะทำงาน ผู้นำชุมชน  ตัวแทนครัวเรือน

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีความรู้ความเข้าใจและสามารถแปรรูปสมุนไพร เป็นชาชงสมุนไพรได้ 2.รู้จักชาใบขลู่ รู้สรรพคุณประโยชน์ของชาใบขลู่กระเจี๊ยบแดงและตะไคร้ 3.มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ภายในกลุ่ม 4.มีความรักสามัคคีเพิ่มขึ้น

คณะทำงาน  ผู้นำชุมชน  ตัวแทนครัวเรือน  เยาวชน

7,000.00 7,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีความรู้  ความเข้าใจ  และสามารถทำการแปรรูปสมุนไพร ไดด้วยตัวเอง 2.มีความรักความสามัคคี 3.มีกรยอมรับกันภายในกลุ่ม

กิจกรรมหลัก : กลุ่มแปรรูปสมุนไพรชุมชน (3 ครั้ง)i

18,000.00 50 ผลผลิต

1.เกิดการรวมกลุ่มและจัดสวัสดิการในการแปรรูปสมุนไพร 2.เกิดรายได้ในการแปรรูปสมุนไพร 3.สร้างอาชีพให้เกิดในชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

1.มีการรวมกลุ่ม แบ่งหน้าที่ในการทำงาน 2.มีการสร้างอาชีพเสริมให้กับชุมชน 3.ประชาชนเห็นคุณค่าของสมุนไพรทั้งทางตรงและทางอ้อม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย 50 คน

10,000.00 10,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.กลุ่มเป้าหมายได้ทบทวนความรุ้ 2.แบ่งหน้าที่การรับผิดชอบ
3.จัดตั้งกลุ่มเพื่อบริหารจัดการ 4.ได้เรียนรู้การนำภูมิัปัญญามาใฃ้

กลุ่มเป้าหมาย 50 คน

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.สมาชิกกลุ่มได้เรียนรู้สรรพคุณสมุนไพรที่ใช้ในการอบ 2.สมาชิกกลุ่มได้เรียนรู้คุณค่าของสมุนไพร 3.สมาชิกได้รู้ข้อห้ามของการอบสมุนไพร 4.ได้แบ่งกลุ่มกันปลูกสมุนไพร

กลุ่มเป้าหมาย 50 คน 

4,000.00 4,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.สมาชิกกลุ่มได้เรียนรุ้สรรพคุณของชาสมุนไพร 2.ได้เรียนรู้วิะีการแปรรูปชาสมุนไพร 3.ได้เรียนรู้คุณค่าของชาสมุนไพร 4.ได้แบ่งหน้าที่ในการผลิต 

กิจกรรมหลัก : การปฐมนิเทศกิจกรรมตามโครงการi

2,000.00 3 ผลผลิต

1.ประชาชนได้รับทราบเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาโครงการ 2.เปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วม 3.เน้นกระบวนการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม โปร่งใส


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน : ประชาชนเข้าใจแนวทางพัฒนาหมู่บ้านมากขึ้นและนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้พัฒนา การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม : มีการนำทรัพยากรที่ใช้ในชุมชนมาร่วมพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกลไก: กำหนดให้ประชาชนเข้าร่วมประชุมหมู่บ้าน ตามแผนที่กำหนด

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คณะทำงาน 3 คน 

2,000.00 2,000.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คณะกรรมการได้เรียนรู้และเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินโครงการ
  2. คณะทำงานเรียนรู้วิธีคิดในการดำเนินโครงการตามแผนงาน รวมถึงวิธีการดำเนินกิจกรรมของโครงการ
  3. เรียนรู้วิธีการใช้งานระบบการทำงานบนเว็บไซต์คนใต้สร้างสุข

กิจกรรมหลัก : หนุนเสริมและติดตามในพื้นที่ ร่วมกับ สจรส.มอi

8,000.00 20 ผลผลิต

1.เป็นการเผยแพร่ผลการดำเนินงานให้กับประชาชนทั่วไปได้รับทราบ 2.เป็นการสร้างความโปร่งใสในการทำงาน 3.มีภาคีมาร่วมทำงาน 4.เป็นการเล่าและบอกต่อเรื่องราวดีดีในการพัฒนางาน ทำให้เกิดความชื่นชม และเสริมพลังใจแก่คนทำงาน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน : เปลี่ยนความคิดในทางบวกมากขึ้น การเผยแพร่ผลงาน ทำให้คนอื่นมาช่วยตรวจสอบกิจกรรม และแก้ไขข้อผิดพลาดได้ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม : กระบวนการทำงานโปร่งใส ตรวจสอบได้ และมีการเสริมพลังใจ การเปลี่ยนแปลงกลไก : มีภาคีระดับตำบลเขาไปร่วมตรวจสอบ เข้าไปร่วมทำงานมากขึ้น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 15 ครั้ง

คณะทำงาน 5 คน 

0.00 0.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการร่วมประชุม ได้ผลสรุปดังนี้

  1. การบันทึกเอกสารการทำกิจกรรมให้ใช้แบบฟอร์มที่ร่วมกันกำหนด
  2. หลักฐานการดำเนินงานให้แนบตามแบบฟอร์ม
  3. การทำกิจกรรมให้ยึดตามปฏิทินที่ได้ร่วมกันกำหนด
  4. เมื่อดำเนินกิจกรรมเรียบร้อยแล้วให้บันทึกรายงานกิจกรรมลงในเว็บไซต์
  5. รายงานบนเว็บไซต์ต้องตรงกับเอกสารการเงิน เอกสารรายงานกิจกรรรม
  6. กำหนดวันทำรายงานปิดโครงการงวดแรก ภายในเดือนตุลาคม 57
  7. กำหนดให้ตัวแทนคณะทำงานนำสมุดบัญชีเงินฝากไปปรับตรวจเช็คเงินสนับสนุนโครงการ

คณะทำงาน 5 คน

0.00 0.00 5 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ตัวแทนโครงการเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับกลวิธีการดำเนินงานตามโครงการ และให้ทบทวนกิจกรรมการดำเนินงาน 2.ให้ทำการปรับปรุงปฏิทิน การดำเนินงาน ให้สอดคล้องกับกระบวนการพัฒนางานในพื้นที่
3.เรียนรู้วิธีการบันทึกกิจกรรมในแบบบันทึก การจัดเก็บเอกสาร
4.เรียนรู้วิธีการเขียนใบเสร็จรับเงิน ใบสำคัญรับเงิน
5.เรียนรู้วิธีการบันทึกข้อมูลในโปรแกรมออนไลน์

ส่ิิ่งที่ได้เรียนรู้คือ คณะทำงานมีความตั้งใจ โครงการนี้ สามารถดำเนินงานได้ เพราะทุกคนในทีมงานเข้าใจ และสามัคคี

คณะทำงาน 5 คน 

0.00 0.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้เผยแพร่ให้ภาคีสุขภาพ ได้ทราบเกี่ยวกับโครงการ และอาสามาร่วมทำงาน
  2. ได้วางแผนการพัฒนาหมู่บ้านและตำบลร่วมกัน
  3. เน้นให้เกิดกระบวนการทำงานเป็นระบบ โปร่งใส ตรวจสอบได้
  4. ผู้นำชุมชุมชน หน่วยงานราชการ ให้ความสำคัญ
  5. เป็นการทำงานแบบผสมผสานทุกมิติ
  6. มีการวางเป้าหมายทำงานร่วมกันคือ สุขภาวะ

คณะทำงาน 5 คน

0.00 0.00 5 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.คณะทำงานได้ร่วมพูดคุยและเล่าเรื่องราวดีดี กระบวนการพัฒนาให้กับคณะกรรมการพัฒนาพื้นที่ตำบลเขาพระบาท ผู้นำชุมชน และหน่วยงานราชการในพื้นที่
2.ทุกคนได้รับรู้นโยบายการพัฒนาพื้นที่ตำบลเขาพระบาทและหมู่บ้านตนเองร่วมกัน 3.เป็นการบูรณาการร่วมของหน่วยงานและพื้นที่ของตำบลเขาพระบาท
4.เกิดแนวทางการการขับเคลื่อนงานหมู่บ้านสุขภาพดีและตำบลสุขภาพดี 5.เป็นการตรวจสอบการทำงาน เน้นความโปร่งใส 6.เป็นการประเมินโครงการแบบไขว้ ร่วมกับชุมชน 7.เป็นแนวทางการพัฒนาหมู่บ้านที่ดี

คณะทำงานเข้าร่วม 5 คร

0.00 0.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้รู้จักภาคีและเรียนรู้ในการทำงานร่วมกัน
  2. นำเสนอผลการดำเนินงานให้กับภาคีทราบ
  3. มีการบูรณาการงานร่วมของหมู่บ้าน หน่วยงานราชการและพื้นที่ของตำบลเขาพระบาท
  4. ได้เรียนรู้การให้กำลังใจและสร้างขวัญการทำงานร่วมกัน
  5. ได้เรียนรู้แนวทางการฟื้นฟูธรรมชาติในชุมชน
  6. เรียนรู้การนำสมุนไพรมาใช้ในการพัฒนา

คณะทำงาน 5 คน 

0.00 0.00 5 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กิจกรรมที่เกิดขึ้นที่บ้านไกรไทย ประกอบด้วย 1.การจัดทำสวนสมุนไพรชุมชน 2.การสำรวจข้อมูลสมุนไพรชุมชน 3.การจัดทำธนาคารสมุนไพร 4.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้วิถีภูมิปัญญา

สิ่งที่ทุกคนให้ความสนใจคือ 1.นำสมุนไพรและภูมิปัญญา มาใช้ในการดูแลสุขภาพตนเอง 2.ทำให้เกิดการแปรรูปสมุนไพร และเกิดรายได้ 3.ส่งเสริมการเกิดกลุ่มวิสาหกิจชุมชน

คณะทำงาน 5 คน

1,500.00 1,500.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีการตรวจสอบติดตามความก้าวหน้าของโครงการ พบว่าเป็นไปตามแผนงานที่วางไว้
  2. คณะทำงานได้รับการเสริมพลัง และมีกำลังใจทำงานต่อไป
  3. มีการปรับรูปแบบและระบบการทำงาน เพื่อให้สอดคล้องกับกิจกรรมโครงการ
  4. มีการสำรวจข้อมูลครัวเรือน
  5. มีการประชุมคณะทำงาน  5 ครั้ง ทำให้ทุกคนเข้าใจมากขึ้น
  6. มีกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2 ครั้ง
  7. มีธนาคารสมุนไพร
  8. มีกิจกรรมต่อเทียนภูมิปัญญา เป็นการเรียนรู้ภูมิปัญญาชุมชน และเรียนรู้ของดีในชุมชน

คณะทำงาน 5 คน

0.00 0.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในที่ประชุม พบว่า กิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว ประกอบด้วย
1.ชุมชนช่วยกันสำรวจข้อมูล 148  ครัวเรือน
2.มีการจัดกิจกรรมปรับพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้สมุนไพรและภูมิปัญญา
3.ชุมชนให้ความร่วมมือดี และะทำให้ทุกคนมองเห็นปัญหาของตนเอง
4.สร้างความตระหนักให้เกิดในตนเอง ครอบครัว ชุมชน 5.เกิดธนาคารสมุนไพร 6.มีการสร้างสวนสมุนไพร

สิิ่งที่เกิดในวันนี้คือ 1.มีการสรุปบทเรียนการพัฒนา 2.คณะทำงานทั้งจังหวัดนครศรีธรรมราช แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กระบวนการพัฒนางาน 3.ตรวจสอบเอกสารและปิดงวดรายงาน งวดที่ 1 4.ประเมินความพร้อมของโครงการ ซึ่งมีความพร้อม

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม 100 คน 

0.00 0.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.จากการนำสมุนไพรและวิถีภูมิปัญญาไปใช้ในการดูแลสุขภาพ ทุกคนยอมรับ 2.อาการปวดเมื่อใช้ประคบ หรืออบสมุนไพร หายดีขึ้น 3.การใช้สมุนไพรเป็นการคุณค่าในด้านการรักษา 4.เป็นการส่งเสริมแพทย์ทางเลือกในการดูแลสุขภาพ 5.ลดค่าเดินทางไปหาหมอ
6.ทุกคนในครัวเรือน สามารถดูแลกันเองได้
7.เป็นการส่งเสริมการพึ่งตนเอง ระดับตนเองและครัวเรือน
8.เกิดกระบวนการมีสว่นร่วมและให้การช่วยเหลือ ส่งเสริมให้เกิดความเอื้ออาทร 9.เป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เพราะปลูกสมุนไพรเพิ่ม

คณะทำงานเผยแพร่ผลการดำเนินงาน 500 คน 

0.00 0.00 500 500 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เป็นการส่งเสริมและเผยแพร่การใช้สมุนไพรชุมชน
  2. เป็นการเผยแพร่ผลการดำเนินงานตามโครงการ
  3. สร้างการมีส่วนร่วมของภาคีในการดำเนินงาน
  4. ส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญของภูมิปัญญาและสมุนไพร

คณะทำงาน 2 คน 

1,000.00 1,000.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานถอนเงินค่าเปิดบัญชี 1,000 บาท 

คณะทำงาน10 คน ร่วมกับพี่เลี้ยง 

0.00 0.00 10 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ทุกหมู่บ้านได้แสดงนิทรรศการผลการดำเนินงานของตนเอง
2.ได้เห็นภาพความเข็มแข็งของชุมชน 3.ทุกหมู่บ้านพึ่งตนเองได้
4.ประชาชนได้เรียนรู้การดำเนินชีวิตที่ปลอดภัย 5.เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพ 6.เป็นแหล่งรวบรวมอาหารที่ปลอดภัย 7.ประชาชนทุกคนที่เข้าร่วมงานได้ออกกำลังกาย 8.ทุกคนมีความสุข

คณะทำงาน 5 คน เรียนรู้วิธีปิดโครงการ

0.00 0.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากผลการดำเนินงาน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตามโครงการ ดังนี้
สรุปผลงานโดยรวมพบว่า คนบ้านไกรไทย มีการปรับวิธีคิด  มีส่วนร่วมในการกิจกรรมเพิ่มขึ้น นำทุนของชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์  เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมของชุมชน และมีกฎการทำงานกลุ่มร่วมกัน ดังนี้ 1. มีกรณีผู้ป่วยตัวอย่างใช้สมุนไพรรักษาโรคระยะสุดท้ายของชีวิต (แพทย์ให้ความเห็นว่าให้เสียชีวิตที่บ้าน) ผลพบว่ากรณีตัวอย่างได้ใช้สมุนไพรจนหายจากโรค และมีการขยายผลต่อในชุมชน 2. เกิดความเอื้ออาทร ความสามัคคีในชุมชน 3.มีกลุ่มสมุนไพรบ้านไกรไทย มีกติกาของกลุ่ม แบ่งหน้าที่ในการทำงาน
4.ปรับเปลี่ยนวิธีการประคบ อบสมุนไพร เดิมกำหนดเวลาเปิด ปิด ปรับเป็นช่วงเวลาที่ประชาชนสะดวก
5.มีห้องเรียนชุมชน มีการสำรวจสมุนไพรบนภูเขาพระบาทและเรียนรู้เพิ่มเติม 6.ลดรายจ่ายของครัวเรือนในการรักษาโรค
7.เกิดกลไกในการติดตามงาน มีการทำงานร่วมกันทุกหมู่บ้าน
8.มีการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างโครงการเก่า และโครงการใหม่ ในชุมชน 9.พัฒนาต่อยอดเป็นหลักสูตรการเรียน การสอนในโรงเรียนวัดพระบาท 10.จากผลที่มีการใช้สมุนไพรทำให้คนเกิดความตระหนัก หันมาเลิกบุหรี่ เลิกกาแฟ เลิกกินกระท่อม

คณะทำงาน 3 คน

2,000.00 2,000.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการสรุปผลการดำเนินงานจากการทำโครงการที่ได้ทำมาทั้งหมด 2.นำผลการประเมิน ผลการติดตามความก้าวหน้า และผลการถอดบทเรียน มาเรียบเรียง สรุป เพื่อรายงานความคืบหน้าของโครงการ 3. สรุปและรายงานผลโดยจัดทำเป็นรูปเล่มและรายงานลงในโปรแกรมออนไลน์ 4.เรียนรู้วิธีปิดโครงการ 5.บทสรุปที่ได้จากการทำโครงการ คือ (1)ชุมชนน่าอยู่บนวิถีความพอเพียง  (2)สร้างความรัก ความสามัคคีภายในชุมชน  (3)เรียนรู้วิธีการอยู่รอดในสังคมปัจจุบัน

คณะทำงาน 5 คน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 150 คน

3,500.00 3,500.00 150 150 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้มีการนำเสนอและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพื้นที่ต่างๆ
  2. เกิดคุณค่าจากการพัฒนางาน
  3. ทำให้มองเห็นทุนในชุมชนมากขึ้น และเห็นคุณค่าของทีมงาน
  4. ได้รับการเสริมแรงจากหน่วยงานภาครัฐ

กิจกรรมหลัก : ค่าจัดทำป้ายปลอดบุหรี่i

1,000.00 5 ผลผลิต

1.มีการจัดทำป้ายโครงการและป้ายปลอดบุหรี่
2.มีการติดตั้งป้ายบุหรี่ในอาคารเอนกประสงค์ 3.มีกฎห้ามสูบบุหรี่อย่างถาวร


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การเปลี่ยนแปลงในคน : 1.กระตุ้นให้ประชาชนเลิกบุหรี่ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม : 1.มีสถานท่ี่งดสูบบุหรี่่ในชุมชน การเปลี่ยนแปลงกลไก : 1.มีกฎห้ามสูบบุหรี่ในท่ี่ชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คณะทำาน 2 คน

1,000.00 1,000.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีป้ายรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ติดไว้ที่อาคารประชุม 2.มีป้ายโครงการเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
ธนาคารสมุนไพร

1.ให้เยาวชนและคณะทำงาน รวมกันสำรวจสมุนไพรในครัวเรือน 2.แต่ละครัวเรือน มอบสมุนไพรให้กับธนาคาร ได้คนละกี่ต้น อะไรบ้าง 3.จัดกิจกรรมกลุ่มธนาคารสมุนไพรในการเก็บรวบรวม และขยายพันธ์ุสมุนไพร

1.มีการขึ้นทะเบียนสมุนไพรของครัวเรือนและชุมชน 2.มีการอนุรักษ์สมุนไพร โดยธนาคารสมุนไพรเป็นผุู้รวบรวม 3.เกิดแนวทางการหวงแหนสมุนไพรชุมชน 4.เกิดคุณค่า และเห็นประโยชน์ 5.เรียนรู้ภูมิปัญญาชุมขน

ชาสมุนไพร

1.มีการนำสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน มาแปรรูป โดยการตากแห้ง เพื่อสงเสริมให้นำไปใช้เป็นชาชง ดังนี้ 1.1 ชาใบขลู่ สามารถลดความดันโลหิต เบาหวานได้ 1.2 ชาตระไคร้ สรรพคุณลดท้องอืด ท้องเฟ้อได้ 1.3 ชาใบเตย สรรพคุณบำรุงหัวใจ

1.ลดการใช้สารเคมี ที่มาจากการซื้อชาหรือสมุนไพรชง 2.ประหยัดค่าใช้จ่าย 3.ส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชน 4.สร้างคุณค่าด้านสมุนไพรในชุมชน

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
1.สวนสมุนไพรชุมชน

1.มีการรวมกลุ่มเพื่อนำสมุนไพรจากครัวเรือน มาปลูกในสถานที่สาธารณะ เพื่อทำเป็นสวนสมุนไพรชุมชน 2.มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลสมุนไพรจากชุมชน 3.เป็นการอนุรักษ์สมุนไพรในชุมชน 4.มีการสอนให้เยาวชนมาร่วมดู รักษาสมุนไพร

1.เกิดการรวมกลุ่มกันของคนสามวัยในการดูแลสมุนไพรชุมชน 2.เกิดกระบวนการอนุรักษ์หวงแหนสมุนไพร 3.มีการแบ่งหน้าที่ในการดูแลสุมไพร 4.ส่งเสริมให้เกิดความรัก สามัคคี

2.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยสมุนไพร

1.มีการนำสมุนไพรที่มีอยุู่่ในชุมชน มาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มที่สำรวจพฤติกรรมสุขภาพพบว่าตนเองมีความเสี่ยง ดังนี้ 1.1 ดื่มน้ำสมุนไพรลดอ้วน ได้แก่ การดื่มน้ำมะนาวกับน้ำผึ้งรวง และนำ้อุ่น ทุกวัน เพื่อลดน้ำหนัก 1.2 การล้างสารพิษในร่างกาย โดยการดื่มน้ำใบย่านาง 1.3 การปรับสมดุลร่างกาย โดยการดื่มน้ำคลอโรฟิลล์ และดื่มน้ำกระชาย 2.กรณีที่มีอาการเจ็บปวดกล้ามเนื้อ เคล้็ดขัดยอก เข็ดเมื่อย ให้ทำการประคบด้วยลูกสมุนไพรชุมชน 3.กรณีที่ปวดเมื่อย เป็นภูมิแพ้ ปรับสมดุลร่างกาย ให้อบสมุนไพร

1.เป็นการดูแลรักษาตัวเอง โดยไม่ต้องใช้ยาเคมี 2.ลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ 3.เป็นการปรับสมดุลร่างกายด้วยภูมิปัญญา 4.สร้างคุณค่าให้เกิดกับสมุนไพร

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นางชะอ้อน สารักษ์ 58 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช

1.มีความเสียสละ และตั้งใจที่สืบทอดภูมิปัญญา 2.มีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 3.ซื่อตรง โปร่งใส 4.รักความยุติธรรม

นางสมสวย ภูแข็ง 278 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช

1.มีความตั้งใจในหน้าที่ ที่ได้รับผิดชอบ  2.มองเห็นคุณค่าภูมิปัญญาที่มีต่อสุขภาพ 3.ทำงานด้วยใจ และเสียสละ โดยไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย 4.ชักชวนลูกสาว เข้าร่วมกิจกรรม เพื่อให้เรียนรู้และมีการสืบทอด

นางสายชล เพ็งตุก 1 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช

1.นำสมุนไพรไปใช้ในการดูแลตนเอง 2.มีความตั้งใจ และยอมรับในวิถีภูมิปัญญา 3.เรียนรู้ และเข้าใจ และเปิดใจกว้าง

นางบุปผา ชูเมือง 74 หมู่ที่ 4 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช

1.จัดทำเป็นฐานสมุนไพรในครัวเรือน เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ประชาชนในหมู่บ้านไกรไทย

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

1.รอบสถานที่ศาลาเอนกประสงค์ 2.โรงเรียนวัดพระบาท

ได้ถูกพัฒนาให้เป็นสวนสมุนไพรชุมชน โดยมีการนำสมุนไพรจากครัวเรือนมาปลูกที่ศูนย์กลางทั้ง 2 แห่ง และแบ่งเวรหน้าที่รับผิดชอบในการดูแล

วัดพระบาท

เป็นสถานที่สำรวจสมุนไพรและเป็นสถานที่สำหรับการจัดกิจกรรมเรื่องสมุนไพร

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีระบบการทำงานที่ชัดเจน ตรวจสอบได้ ทุกคนให้ความร่วมมือ

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ทุกคนตั้งใจทำงาน และมีการทำงานเป็นทีม

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

ผลลัพธ์การทำงาน เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

มีระบบการบริหารจัดการที่ดี มอบหมายหน้าที่การทำงาน

2.2 การใช้จ่ายเงิน

การใช้จ่ายเงินเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

2.3 หลักฐานการเงิน

หลักฐานการเงินตรวจสอบได้

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

1.การดำเนินงานตามกิจกรรม เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ 2.การบริหารการเงินโปร่งใส เป็นไปตามกิจกรรมที่กำหนดและตรวจสอบได้ 3.สามารถปิดเอกสารตามโครงการได้ตามเวลาที่กำหนด

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

สิ่งทีี่กิดขึั้นจากกิจกรรม 1.กลุ่มเป้าหมายร่วมกันพัฒนให้เกิดเป็นสวนสมุนไพรและธนาคารสมุนไพร ทำให้เห็นกระบวนการอนุรักษ์สมุนไพรแม้ว่าการทำธนาคารจะเป็นในรูปแบบของชาวบ้าน แต่ก็ถือว่ามีความตั้งใจทำ ภาพที่ประทับใจคือชาวบ้านยินดีมอบสมุนไพรให้กับโครงการทุกบ้าน ถือว่าเป็นเรื่องที่ดีมาก 2.ชุมชนเข้มแข็ง แม้ว่าจะมีปัญหาบ้างในการพัฒนา แต่ทีมงานหลายคนตั้งใจ จนนำการพัฒนาไปได้ 3มีหลายกลุ่มวัยและภาคี เข้ามาร่วมงาน ทำให้เห็นความตั้งใจในการพัฒนากิจกรรม 4.การพัฒนามีการเชื่อมโยงกับชุมชนได้เป็นอย่างดี
5.มีการใช้ทุนทางสังคมที่มีอยุ่ได้เหมาะสม 6.การใช้วิถีพุทธ สามารถเชื่อมร้อยกิจกรรมได้เป็นอย่างดี

สร้างรายงานโดย Nongluk_R