แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อสร้างจิตสำนึกอนุรักษ์บริเวณต้นน้ำบ้านขุนคีรี ริมห้วย
ตัวชี้วัด : 1. เกิดปราชญ์ชุมชน สืบทอด เล่าความ ความเป็นมาของสายน้ำ อย่างน้อย 2 คน 2. เยาวชนในโรงเรียนร่วมกิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนา ปรับปรุงสายน้ำ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 20

 

 

  1. เกิดปราชญ์ชุมชน สืบทอด เล่าความ ความเป็นมาของสายน้ำจำนวน 2 คน
  2. เยาวชนในโรงเรียนร่วมกิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนา ปรับปรุงสายน้า จำนวนร้อยละ 30
2 เพื่อฟื้นฟูบริเวณต้นน้ำบ้านขุนคีรี
ตัวชี้วัด : เกิดกิจกรรมในการทำความสะอาดสายน้ำ อย่างน้อย 3 เดือนครั้ง(3 ครั้ง)

 

 

  1. เกิดกิจกรรมในการทำความสะอาดสายน้ำ จำนวน 3 ครั้ง เป็นการสร้างการตื่นตัวให้กับชาวบ้าน
3 เกิดบุคคลหรือกลุ่มบุคคลแลเยาวชนในการอนุรักษ์สายน้ำ
ตัวชี้วัด : 1. เกิดกลุ่มอนุรักษ์ต้นน้ำบ้านขุนคีรี ในโรงเรียน 1 กลุ่ม 2. ตัวแทนครัวเรือน 80 ครัวเรือน เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้เรื่อง สร้างจิตสำนึกรักบ้านเกิดพิทักต้นน้ำคลองท่าดี จำนวน 80ครัวเรือน 3. เกิดแปลงปลูกผัก กูด ผัดปลอดสาร บริเวณสองฝั่งริมลำห้วย 4. เกิดฝายหินอย่างน้อย 3 จุดในพื้นที่รูปแบบฝายมีชีวิต

 

 

  1. เกิดกลุ่มอนุรักษ์ต้นน้ำบ้านขุนคีรี ในโรงเรียน 1 กลุ่มจำนวน 20 คน
  2. ตัวแทนครัวเรือน 80 ครัวเรือน เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้เรื่อง สร้างจิตสำนึกรักบ้านเกิดพิทักต้นน้ำคลองท่าดี จำนวน 80ครัวเรือน
  3. เกิดแปลงปลูกผัก กูด ผัดปลอดสาร บริเวณสองฝั่งริมลำห้วย บ้านและโรงเรียน
  4. เกิดฝายหินจำนวน3 จุดในพื้นที่รูปแบบฝายมีชีวิต
4 เพื่อให้เกิดกติกาชุมชน ด้านการอนุรักษ์สายน้ำสู่ ข้อบัญญัตท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : 1. เกิดกติกาชุมชนในการอนุรักษ์สายน้ำ ต้นน้ำบ้านขุนคีรี 2. องค์การบริหารส่วนตำบลกำโลน นำกติกาชุมชนไปปรับใช้เป็น ข้อบัญญัต การอนุรักษ์

 

 

  1. เกิดกติกาชุมชนในการอนุรักษ์สายน้ำ ต้นน้ำบ้านขุนคีรี
  2. องค์การบริหารส่วนตำบลกำโลน นำกติกาชุมชนไปปรับใช้เป็น ข้อบัญญัต การอนุรักษ์ในการประชุมสภาปี 2559
5 เพื่อบริหารการจัดการและติดตามผลการดำเนินโครงการ
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส หรือ สจรส

 

 

พื้นที่เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสสและ สจรส จำนวน 5 ครั้ง