แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ร่วมปลุกจิตสำนึกรักษ์บ้านชุมโค(ต่อเนื่อง) ”

ป่าชายเลน ม.2 ต.ชุมโค อ.ปะทิว จ.ชุมพร

หัวหน้าโครงการ
นางฉลาด ชื่นแก้ว

ชื่อโครงการ ร่วมปลุกจิตสำนึกรักษ์บ้านชุมโค(ต่อเนื่อง)

ที่อยู่ ป่าชายเลน ม.2 ต.ชุมโค อ.ปะทิว จ.ชุมพร จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 57-01495 เลขที่ข้อตกลง 57-00-1073

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มิถุนายน 2557 ถึง 10 กรกฎาคม 2558


กิตติกรรมประกาศ

"ร่วมปลุกจิตสำนึกรักษ์บ้านชุมโค(ต่อเนื่อง) จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ป่าชายเลน ม.2 ต.ชุมโค อ.ปะทิว จ.ชุมพร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ร่วมปลุกจิตสำนึกรักษ์บ้านชุมโค(ต่อเนื่อง)



บทคัดย่อ

โครงการ " ร่วมปลุกจิตสำนึกรักษ์บ้านชุมโค(ต่อเนื่อง) " ดำเนินการในพื้นที่ ป่าชายเลน ม.2 ต.ชุมโค อ.ปะทิว จ.ชุมพร รหัสโครงการ 57-01495 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มิถุนายน 2557 - 10 กรกฎาคม 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 212,670.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 120 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้สมาชิกชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ป่าชายเลน
  2. 2.เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายของชุมชนในเรื่องการอนุรักษ์ป่าชายเลน
  3. 3.เพื่อการบริหารจัดการและติดตามผลโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เข้ารับการปฐมนิเทศโครงการจาก สสส. สจรส.มอ.

    วันที่ 14 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการเดินทางไปร่วมการปฐมนิเทศจากสจรส.มอ.พร้อมฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลในเวปไซด์คนใต้สร้างสุข ในรายละเอียดต่างๆ เช่น วัตถุประสงค์โครงการ ปฏิธินการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การลงข้อมูลไม่เสร็จเนื่องจากผู้ลงข้อมูลยังไม่ค่อยมีความรู้ในเรื่องดังกล่าว  จึงนัดแนะกับพี่เลี้ัยงพื้นที่ มาทำการชี้แนะและสอนการลงรายงาน การทำปฏิทินลงเวบไซต์ต่อ ที่พื้นที่โครงการ ในวันหลัง

     

    2 2

    2. ลงข้อมูลกิจกรรมในเวปไซด์คนใต้สร้างสุข

    วันที่ 15 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการร่วมกับพี่เลี้ยงลงข้อมูลในเวปไซด์คนใต้สร้างสุข ได้แก่ วัตถุประสงค์ ปฏิทินโครงการ การลงข้อมูลกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานโครงการร่วมกับพี่เลี้ยงลงข้อมูลในเวปไซด์คนใต้สร้างสุข  ได้แก่ วัตถุประสงค์ ปฏิทินโครงการ การลงข้อมูลกิจกรรม

     

    2 2

    3. จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และป้ายโครงการ

    วันที่ 4 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการร่วมออกแบบป้ายโครงการและป้ายเขตปลอดบุหรี่เพื่อติดตั้งตามที่สสส.กำหนดไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และป้ายโครงการอย่างละจำนวน 1 ป้าย

     

    2 2

    4. ประชุมชี้แจงโครงการให้สมาชิกในชุมชนได้รับทราบรายละเอียดของโครงการและเข้าร่วมกิจกรรม

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดแบ่งพื้นที่ป่าชายเลน ให้สมาชิกใหม่และสมาชิกเก่าได้ร่วมกันรับผิดชอบ
    • รับสมาชิกใหม่จำนวน 10 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จัดแบ่งพื้นที่ป่าชายเลนทั้งพื้นที่สมบูรณ์ พื้นที่เพิ่มจากปีที่แล้ว ซึ่งเป็นสีเขียวแต่ยังไม่สมบูรณ์เต็มที่ และพื้นที่เสื่อมโทรม ให้สมาชิกใหม่และสมาชิกเก่าได้ร่วมกันรับผิดชอบพัฒนาและเฝ้าระวังออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 25 คน(สมาชิกใหม่ 70 เก่า 30)
    • แต่ละกลุ่มจะมีพื้นที่ให้ดูแล ลักษณะใกล้เคียงกันเพื่อให้กลุ่มเกิดการแข่งขันกันพัฒนากันเองโดยกลุ่มอาจใช้เวลาว่างของสมาชิกผลัดเปลี่ยนกันลงพื้นที่อาจลงไม่พร้อมกันแล้วแต่การบริหารจัดการของกลุ่มแต่รุ่นพี่จะมีบทเรียนจากการดำเนินงานปีที่ผ่านมา

     

    150 150

    5. สร้างความรู้ความเข้าใจแก่สมาชิกใหม่เรื่องการอนุรักษ์ป่าชายเลน

    วันที่ 17 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ให้ความรู้เกี่ยวกับป่าชายเลนให้กับสมาชิกกลุ่มใหม่ โดยวิทยากรและแกนนำอนุรักษ์ที่เกิดจากปีแรกมาเป็นครูถ่ายทอดในลักษณะของพี่สอนน้อง ดำเนินการ 2 วัน
    วันแรก เป็นการเรียนรู้จากวิทยากรสถานีพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลนที่ 43 อำเภอปะทิวเพื่อให้ได้ความรู้ที่แท้จริง
    วันที่สอง เป็นการเรียนรู้กับพี่(แกนนำเก่า)ด้วยการเรียนรู้ในพื้นที่ที่จริงให้สมาชิกได้เห็นว่าป่าชายเลนที่สมบูรณ์มีลักษณะแบบไหน และป่าเสื่อมโทรมอยู่อย่างไร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำรุ่นพี่/วิทยากรร่วมกันให้ความรู้และข้อแนะนำการเป็นแกนนำอนุรักษ์แก่สมาชิกใหม่ ซึ่งรุ่นน้องทุกคนให้ความสนใจกับเนื้อหาการอบรมและสนุกกับการได้ลงพื้นที่จริง

     

    70 70

    6. ประชุมติดตามโครงการโดยชุมชน

    วันที่ 19 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการทุกคนร่วมประชุมเพื่อติดตามผลกิจกรรมครั้งที่ผ่านมาหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการจัดกิจกรรมที่ผ่านมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานโครงการทุกคนเข้าร่วมการประชุมการติดตามผลการจัดกิจกรรมครั้งที่ผ่านมาและหาแนวทางการแก้ไขเพื่อป้องกันการเกิดปัญหาเดิม

     

    15 15

    7. ประชุมติดตามโครงการโดยชุมชน

    วันที่ 4 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการร่วมประชุมติดตามประเมินผลโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานโครงการทุกคนร่วมประชุมติดตามประเมินผลโครงการโดยมีการให้ข้อเสนอแนะแนวทางการติดตามผลกิจกรรมต่างๆของโครงการและเพื่อให้มีความโปร่งใสในการดำเนินงาน เช่น ให้มีการชี้แจงรายละเอียดของการใช้จ่ายงบประมาณทุกครั้งในวันประชุมหมู่บ้าน

     

    15 15

    8. จัดแบ่งพื้นที่ป่าชายเลนให้สมาชิกใหม่และสมาชิกเก่าได้ร่วมกันรับผิดชอบพัฒนาและเฝ้าระวัง

    วันที่ 5 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะทำงานโครงการประสานงานกับโรงเรียนในพื้นที่ใกล้เคียง/ประชาชนเพื่อร่วมกิจกรรมการอนุรักษ์(ดูแลพื้นที่ป่าชายเลน)
    • นัดหมายวันประชุมโดยให้ทุกกลุ่มได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมแบ่งพื้นที่รับผิดชอบและรับทราบว่าตนเองรับผิดชอบพื้นที่บริเวณใดของป่าชายเลน กติกาการเข้าร่วมกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานโครงการ/แกนนำเยาวชนจากสถานศึกษา/ประชาชนเข้าร่วมการประชุมการแบ่งพื้นที่เพื่อรับฟังการชี้แจงขั้นตอนและแนวทางในการดำเนินการดูแลพื้นที่ป่า ซึ่งส่วนใหญ่มีความกระตือรือร้นและอยากเห็นพื้นที่ที่ตนเองรับผิดชอบและรับมอบเสื้อทีมเพื่อใส่ในวันที่ลงพื้นที่ทำกิจกรรม

     

    100 100

    9. กลุ่มผู้รับผิดชอบพื้นที่ป่าชายเลนที่ได้รับมอบหมายลงพื้นที่ดูแลพื้นที่ของตนเอง

    วันที่ 9 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำอนุรักษ์/กลุ่มผู้รับผิดชอบพื้นที่ป่าชายเลนทั้ง 4 กลุ่ม ลงพื้นที่เพื่อดูแลพื้นที่ป่าที่กลุ่มตนเองรับผิดชอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำอนุรักษ์และกลุ่มผู้รับผิดชอบทั้ง 4 กลุ่ม ลงพื้นที่ดูแลพื้นที่ป่าที่กลุ่มตนเองรับผิดชอบ

     

    100 100

    10. คณะทำงานออกประเมินพื้นที่ป่าชายเลนของกลุ่มต่างๆ

    วันที่ 10 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะติดตามประเมินผลโครงการทุกคนลงพื้นที่ตรวจสอบผลการดูแลพื้นที่ป่าของแต่ละกลุ่มถึงการพัฒนาพื้นที่ที่ตนเองรับผิดชอบ รวมถึงการสร้างสรรค์พื้นที่ของตนเองให้เป็นที่น่าสนใจแก่กลุ่มที่เข้ามาศึกษาหรือท่องเที่ยว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะติดตามประเมินผลโครงการทุกคนลงพื้นที่ตรวจสอบผลการดูแลพื้นที่ป่าของแต่ละกลุ่มเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการประกวดการดูแลพื้นที่ป่าชายเลนซึ่งพบว่าบางกลุ่มมีการสร้างจุดหรือสถานที่ให้เด่นกว่ากลุ่มอื่น บางกลุ่มจะเน้นการปลูกต้นไม้ให้มากและเพิ่มขึ้น

     

    15 15

    11. รณรงค์ปลูกป่าชายเลน

    วันที่ 12 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -คณะทำงานโครงการไปรับพันธุ์กล้าไม้ก่อนวันรณรงค์ที่ตำบลปากคลอง เพื่อใช้ปลูกในวันรณรงค์ -ประชาชนในพื้นที่ กลุ่มเด็กเยาวชน กลุ่มอนุรักษ์ ร่วมกิจกรรมรณรงค์ปลูกป่าชายเลนในวันที่กำหนด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -คณะทำงานโครงการไปรับกล้าไม้เพื่อใช้ปลูกในวันรณรงค์จำนวน 400 ต้น คือ ต้นโกงกาง
    -ประชาชนในพื้นที่ กลุ่มเด็กเยาวชน กลุ่มอนุรักษ์ และพนักงานบริษัท CP ร่วมปลูกป่าชายเลนในพื้นที่ที่กำหนดไว้

     

    120 120

    12. กลุ่มผู้รับผิดชอบพื้นที่ป่าชายเลนลงพื้นที่ดูแลพื้นที่ของตนเอง

    วันที่ 5 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบพื้นที่ป่าชายเลนทั้ง 4 กลุ่ม ลงพื้นที่ดูแลพื้นที่ป่าชายเลนที่ตนเองรับผิดชอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบทั้ง 4 กลุ่ม ลงพื้นที่ที่ตนเองรับผิดชอบเพื่อดูแลพื้นที่ป่าชายเลนโดยการปลูกต้นไม้เพิ่มเติมในส่วนที่เสียหายหรือตายไป เพื่อให้ได้พื้นที่ป่าชายเลนที่อุดมสมบูรณ์

     

    15 100

    13. ประชุมจัดทำร่างข้อเสนอเชิงนโยบายด้านการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ป่าชายเลนครั้งที่ 1

    วันที่ 5 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นัดคณะกรรมการโครงการ/แกนนำอนุรักษ์/เจ้าหน้าที่อนุรักษ์ป่าชายเลน/ประชาชนเข้าร่วมประชุมจัดทำร่างกติกาการใช้พื้นที่ป่าชายเลนเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดเวทีประชาคมเพื่อให้ประชาชนลงมติและนำไปประกาศใช้ต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเป้าหมายได้ร่วมก้นร่างกติกาซึ่งได้จำนวน 8 ข้อ ได้แก่
    1. ห้ามบุกรุกป่าชายเลน
    2. ห้ามตัดไม้ในป่าชายเลนโดยไม่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการ
    3. ห้ามจับสัตว์น้ำโดยวิธีทำลายล้าง เช่น ระเบิดปลา ยาเบื่อ
    4. ห้ามจับปูแสมในช่วงฤดูวางไข่
    5. ห้ามจับปูแสมขนาด 130 ตัวต่อ 1 กิโลกรัม
    6. ห้ามจับหอยภู่กันขนาด ึ7.ห้ามจับหอยจุ๊บแจงขนาดไม่เกิน 400 ตัวต่อ 1 กิโลกรัม
    8. ห้ามจับปูดำขนาด 5 เซนติเมตร

     

    35 35

    14. ประชุมติดตามโครงการโดยชุมชน

    วันที่ 6 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานโครงการทั้ง 15 คน ประชุมเพื่อติดตามผลการดำเนินงานของกลุ่มอนุรักษ์ทั้ง 4 กลุ่่ม ที่ดำเนินการในพื้นที่ พร้อมลงพื้นที่เพื่อสำรวจการดูแลพื้นที่ของแต่ละกลุ่ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานโครงการทุกคนประชุมและลงพื้นที่ตรวจสอบผลการดูแลพื้นที่ป่าของแต่ละกลุ่มเพื่อให้คะแนนในการประกวดเมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรม ซึ่งพบว่าทุกกลุ่มมีการลงพื้นที่ที่ตนเองรับผิดชอบดูแล

     

    15 15

    15. จัดทำป้ายชื่อพันธุ์ไม้/พันธุ์สมุนไพร ป้ายแสดงเส้นทางเดินในพื้นที่แหล่งเรียนรู้

    วันที่ 7 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นัดคณะกรรมการโครงการและเจ้าหน้าที่อนุรักษ์ป่าชายเลนร่วมลงพื้นที่เพื่อกำหนดจุดติดตั้งป้ายเพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้โดยกำหนดไว้จำนวน 50 จุด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้กำหนดจุดติดตั้งป้ายแสดงแหล่งเรียนรู้ในพื้นที่ป่าชายเลนจำนวน 50 จุด และจัดจ้างทำป้ายชื่อพันธุ์ไม้/พืชสมุนไพร

     

    15 15

    16. สร้างศูนย์เรียนรู้เรื่องการอนุรักษ์และการจัดการป่าชายเลนในพื้นที่

    วันที่ 8 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นัดคณะกรรมการโครงการ/แกนนำอนุรักษ์ร่วมสร้างศูนย์การเรียนรู้การอนุรักษ์และจัดการป่าชายเลนจำนวน 3 ฐาน ได้แก่ ฐานที่ 1 ฐานเรียนรู้เรื่องการอนุรักษ์พันธุ์ไม้/สมุนไพร ฐานที่ 2 ฐานการเรียนรู้เรื่องการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ ฐานที่ 3 ฐานสาธิตการเพาะพันธุ์ต้นกล้าไม้ พร้อมว่าจ้างร้านจัดทำป้ายฐานเรียนรู้จำนวน 4 ป้าย 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการโครงการ/แกนนำอนุรักษ์ร่วมสร้างศูนย์การเรียนรู้การอนุรักษ์และจัดการป่าชายเลน จำนวน 35 คน ร่วมสร้างฐานการเรียน 3 ฐาน เพื่อให้กลุ่มผู้ที่สนใจได้เข้ามาเรียนรู้ ได้แก่ ฐานที่ 1 ฐานเรียนรู้เรื่องการอนุรักษ์พันธุ์ไม้/สมุนไพร ฐานที่ 2 ฐานการเรียนรู้เรื่องการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ ฐานที่ 3 ฐานสาธิตการเพาะพันธุ์ต้นกล้าไม้  พร้อมจัดทำศาลาศูนย์เรียนรู้จำนวน 1 หลังซึ่งใช้ระยะเวลาในการก่อสร้าง 1 เดือน และวางแผนขยายต่อเติมอาคารเพื่อรองรับคณะและกลุ่มต่างๆที่เข้ามาเรียนรู้และร่วมกิจกรรมต่างๆ

     

    35 35

    17. ประชุมพิจารณาร่างกฎกติกาการใช้พื้นที่ป่าครั้งที่2

    วันที่ 10 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชาชนในหมู่บ้านร่วมกับคณะทำงานโครงการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมพิจารณาร่างกฎกติกาการใช้พื้นที่จากครั้งที่1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนในหมู่บ้านร่วมกับคณะทำงานโครงการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมพิจารณาร่างกฎกติกาการใช้พื้นที่จากครั้งที่1ผลปรากฎว่าประชาชนส่วนใหญ่ให้คงเดิมไว้

     

    35 25

    18. เพื่อประชุมจัดทำร่างกฎกติกาการใช้พื้นที่ป่าชายเลนครั้งที่ 3

    วันที่ 12 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชาชนคณะกรรมการทำงานโครงการหน่วยงานภาครัฐร่วมพิจารณาข้อบังคับครั้งที่ 1และ 2 พร้อมทั้งลงในพื้นที่จริงเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการประกอบการตัดสินใจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ร่างกติกาการใช้พื้นที่ป่าชายเลน จำนวน 8 ข้อ ได้แก่
    1. ห้ามบุกรุกป่าชายเลน
    2. ห้ามตัดไม้ในป่าชายเลนโดยไม่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการ
    3. ห้ามจับสัตว์น้ำโดยวิธีทำลายล้าง เช่น ระเบิดปลา ยาเบื่อ
    4. ห้ามจับปูแสมในช่วงฤดูวางไข่
    5. ห้ามจับปูแสมขนาด 130 ตัวต่อ 1 กิโลกรัม
    6. ห้ามจับหอยภู่กันขนาด
    7. ห้ามจับหอยจุ๊บแจงขนาดไม่เกิน 400 ตัวต่อ 1 กิโลกรัม
    8. ห้ามจับปูดำขนาด 5 เซนติเมตร

     

    35 25

    19. กลุ่มผู้รับพื้นที่ป่าชายเลนทั้ง 4 ลงพื้นที่รับผิดชอบของตนเอง

    วันที่ 10 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำอนุรักษ์/กลุ่มผู้รับผิดชอบทั้ง 4 กลุ่ม ลงพื้นที่เพื่อดูแลพื้นที่ป่าที่กลุ่มตนเองรับผิดชอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำอนุรักษ์/กลุ่มผู้รับผิดชอบทั้ง 4 กลุ่ม ได้เตรียมการลงพื้นที่เพื่อดูแลพื้นที่ป่าที่กลุ่มตนเองรับผิดชอบ แต่มีเพียง 3 กลุ่มที่ได้ลงพื้นที่ที่ตนเองรับผิดชอบ ส่วนอีกกลุ่มที่เหลือติดปัญหาเรื่องฝนตกไม่สามารถลงพื้นที่ได้

     

    100 100

    20. คณะติดตามประเมินผลออกประเมินพื้นที่ป่าชายเลนของกลุ่มต่างๆ

    วันที่ 10 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการติดตามการดำเนินงานการดูแลพื้นที่ป่าของแต่ละกลุ่ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการติดตามการดำเนินงานการดูแลพื้นที่ป่าของแต่ละกลุ่มพบว่าในครั้งนี้ในบางจุดไม่สามารถลงไปในพื้นที่ได้เนื่องจากฝนตก

     

    15 15

    21. ประชุมติดตามโครงการโดยชุมชน

    วันที่ 11 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมาและวางแผนการจัดกิจกรรมครั้งถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการทุกคนเข้าร่วมประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมาและวางแผนการจัดกิจกรรมครั้งถัดไปซึ่งช่วงเดือนตุลาคมเกิดฝนตกหนักทำให้การจัดกิจกรรมบางส่วนต้องเลื่อนการจัดกิจกรรม

     

    15 15

    22. รายงานความก้าวหน้าต่อสจรส.มอ./พี่เลี้ยง

    วันที่ 15 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ของสจรส.มอ.และเตรียมเอกสารการเงินเพื่อให้เจ้าหน้าที่สจรส.มอ.ตรวจสอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การลงรายงานผ่านระบบออนไลน์ไม่เรียบร้อย เอกสารการเงินครบถ้วนตามกิจกรรมที่ดำเนินงาน

     

    2 2

    23. ประชุมติดตามโครงการโดยชุมพร

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการ / เจ้าหน้าที่การเงิน/คณะทำงาน เดินทางทางตามที่พี่เลี้ยงนัดหมายเพื่อรายงานการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมาและลงรายงานผ่านระบบออนไลน์และวางแผนการดำเนินกิจกรรมถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมรายงานบางกิจกรรมที่ดำเนินการไม่ได้ลงรายงานในระบบออนไลน์ ในส่วนของเอกสารการเงินครบถ้วนตามกิจกรรม

     

    2 3

    24. กลุ่มผู้รับผิดชอบทั้ง 4 กลุ่ม ลงพื้นที่เพื่อปรับปรุงพื้นที่ป่าชายเลนของตนเอง

    วันที่ 26 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำที่เป็นนักเรียนลงพื้นที่ที่ได้รับการมอบหมายให้รับผิดชอบดูแลป่าที่ปลูกไว้พร้อมทั้งซ่อมแซมป่าที่เสียหาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำซึ่งส่วนใหญ่เป็นนักเรียนและแกนนำชุมชนทั้ง 4 กลุ่ม ลงพื้นที่ดูแลป่าชายเลนที่ปลูกไว้และได้รับมอบหมายพร้อมทั้งซ่อมแซมในส่วนที่ตายหรือที่เสียหาย เพิ่มต้นโกงกางอีก 150 ต้น รวม 4 แปลง พื้นที่ 30 ไร่

     

    100 100

    25. กลุ่มผู้รับผิดชอบทั้ง 4 กลุ่ม ลงพื้นที่เพื่อปรับปรุงพื้นที่ป่าชายเลนและปลูกป่าชายเลนในพื้นที่รับผิดชอบของตนเอง

    วันที่ 5 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แกนนำอนุรักษ์ นักเรียน และแกนนำชุมชนลงพื้นที่ร่วมกันสำรวจพื้นที่ที่รับผิดชอบและปลูกป่าเพิ่มเติมรวมทั้งปลูกทดแทนในส่วนที่เสียหาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำอนุรักษ์ทั้งในส่วนของนักเรียนและแกนนำชุมชนที่รับผิดชอบลงพื้นที่ที่กลุ่มได้รับมอบหมายปลูกต้นโกงกางเพิ่มเติมและซ่อมแซม จำนวน 200 ต้น ในพื้นที่1 ไร่ จากส่วนที่เสียหายในพื้นที่ทั้ง 30 ไร่ ของป่าชายเลนหมู่ที่ 2 ชุมโค

     

    120 125

    26. ประชุมติดตามโครงการโดยชุมชน

    วันที่ 6 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการโครงการร่วมประชุมสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการร่วมสรุปผลการดำเนินงานและให้แกนนำอนุรักษ์เฝ้าระวังพื้นที่อย่างเข้มงวด โดยมีอาสาสมัครในพื้นผลัดเปลี่ยนกันตรวจสอบบุคคลภายนอก ถ้าพบจะมีการตักเตือนไม่ให้เข้าไปในพื้นที่ เนื่องจากมีคนต่างถิ่นเข้ามาบุกรุกทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

     

    15 15

    27. พบพี่เลี้ยงโครงการ

    วันที่ 7 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการนำเอกสารโครงการปรึกษาพี่เลี้ยง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานเดินทางพบพี่เลี้ยงเพื่อให้ช่วยตรวจสอบเอกสารทางการเงินและการลงรายงานในระบบรายงาน ซึ่งในพื้นที่มีปัญหาเรื่องระบบอินเตอร์เน็ตที่ไม่สามารลงข้อมูลได้

     

    2 2

    28. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์มาตรการ/กติกาชุมชนเพื่อติดตั้งให้ประชาชนได้รับทราบ

    วันที่ 8 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการโครงการร่วมกันร่างมาตรการการใช้พื้นที่ป่าชุมชน นำเสนอสมาชิกเพื่อรับฟังความคิดเห็นเพื่อออกเป็นระเบียบของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการโครงการร่วมกันร่างมาตรการการใช้พื้นที่ป่าชุมชน นำเสนอสมาชิกเพื่อรับฟังความคิดเห็นและออกเป็นระเบียบของชุมชน ประกอบด้วย๑) ห้ามบุกรุกป่าชายเลน ๒) ห้ามตัดไม้ในป่าชายเลนโดยไม่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการ ๓) ห้ามจับสัตว์นำ้โดยวิธีทำลายล้าง เช่น ระเบิดปลา ยาเบื่อ ๔) ห้ามจับปูแสมในช่วงฤดูวางไข่(มิถุนายนถึงพฤศจิกายน)๕) ห้ามจับปูแสมขนาด ๑๓๐ ตัวต่อ ๑ กก. ๖) ห้ามจับหอยภู่กันขนาด ๕ ซม. ๗) ห้ามจับหอยจุ๊บแจงขนาดไม่เกิน ๔๐๐ ตัวต่อ ๑ กก. ๘) ห้ามจับปูดำขนาด ๕ ซม. ซึ่งสมาชิกส่วนใหญ่เห็นด้วย

     

    15 15

    29. คณะติดตามประเมินผลออกประเมินพื้นที่ป่าชายเลนของกลุ่มต่างๆที่ชุมชนแต่งตั้ง

    วันที่ 10 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการโครงการลงพื้นที่ประเมินผลการดำเนินงานของกลุ่มอนุรักษ์ฯ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการโครงการลงพื้นที่ประเมินผลการดำเนินงานของกลุ่มอนุรักษ์ฯที่เฝ้าระวังปรับปรุงซ่อมแซมพื้นที่ป่าเพื่อมอบรางวัล ซึ่งพบว่าส่วนใหญ่่แต่ละกลุ่มทำได้ดี มีบ้างที่พื้นที่เสียหายซ้ำซาก แต่กลุ่มมีความพยายามด้วยการทำร่องน้ำให้น้ำได้ไหลออกบ้าง ทำให้กล้าไม้ฟื้นตัว

     

    15 15

    30. ประชุมติดตามโครงการโดยชุมชน

    วันที่ 5 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการร่วมประชุมสรุปผลและวางแผนการดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการโครงการร่วมประชุมสรุปผลการดำเนินงานพบว่ามีประชาชนตัดยอดจากไปขนมและทำใบจากมุงหลังคา บ้างโดยผู้ใหญ่บ้าน/คณะกรรมการอนุญาตและวางแผนการทำความสะอาดป่าให้มีความต่อเนื่อง

     

    15 15

    31. กลุ่มผู้รับผิดชอบทั้ง 4 กลุ่ม ลงพื้นที่ป่าชายเลนรับผิดชอบของตนเอง

    วันที่ 9 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กลุ่ม 4 กลุ่มที่รับผิดชอบพื้นที่ลงพื้นที่เพิ่มพื้นที่และซ่อมแซมป่าชายเลน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มแกนนำอนุรักษ์ทั้ง 4 กลุ่มร่วมกันลงพื้นที่สำรวจความเสียหายและปรับปรุงซ่อมแซมโดยปลูกป่าต้นโกงกางเพิ่มพื้นที่ป่าชายเลนในพื้นที่เดิมให้อุดมสมบูรณ์

     

    100 100

    32. ประชุมติดตามโครงการโดยชุมชน

    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการโครงการร่วมประชุมวิเคราะห์และสรุปผลการดำเนินงานเพื่อนำเสนอสมาชิก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการโครงการจัดประชุมสรุปผลการดำเนินงานและร่วมวางแผนการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป ซึ่งส่วนใหญ่ไม่พบปัญหามีบางกิจกรรมที่ต้องย้ายไปทำในช่วงหลัง เช่นการอบรมแกนนำเลื่อนไปในเดือน ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๘

     

    15 15

    33. กลุ่มผู้รับผิดชอบทั้ง 4 กลุ่ม ลงพื้นที่ป่าชายเลนที่รับผิดชอบของตนเอง

    วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กลุ่มสมาชิกลงพื้นที่สำรวจและปลูกซ่อมแซมป่าเพิ่มเติม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกลุ่มทั้ง 4 กลุ่มลงพื้นที่ดูแลพื้นที่ป่าและซ่อมแซมในส่วนที่เสียหายในพื้นที่รับผิดชอบให้เป็นพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์ในชั่วโมงการเรียนการสอนการจัดการสิ่งแวดล้อม

     

    100 100

    34. คณะติดตามประเมินผลออกประเมินพื้นที่ป่าชายเลนของกลุ่มต่างๆ

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการลงพื้นที่ประเมินผลการปรับปรุงและดูแลพื้นที่ป่า

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการลงพื้นที่ตรวจสอบการเฝ้าระวังของกลุ่มแกนนำอนุรักษ์ในการเฝ้าระวังพื้นที่ป่าชายเลนเพื่อมอบขวัญกำลังใจให้กลุ่มที่ดูแลได้ดีเยี่ยม

     

    15 15

    35. พัฒนาศักยภาพแกนนำอนุรักษ์ให้เป็นวิทยากรประจำฐานเรียนรู้และเป็นมัคคุเทศก์ชุมชนรุ่นใหม่ ที่สามารถให้คำแนะนำและนำชมพื้นที่ในฐานต่างๆได้อย่างถูกต้อง

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการอบรมพฒนาศักยภาพแกนนำอนุรักษ์ให้เป็นวิทยากรประจำฐานการเรียนรู้ จากผู้ที่มีประสบการณ์  และเรียนรู้หลักการเป็นวิทยากรจากการท่องเที่ยวจังหวัดชุมพร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำเยาวชนที่ร่วมโครงการมีความรู้ความสามารถในการเป็นวิทยากรประจำฐาน และพร้อมเป็นมัคคุเทศก์ของชุมชนในการช่วยอนุรักษ์ป่าชายเลนต่อไป

     

    35 35

    36. ประชุมติดตามโครงการโดยชุมชน

    วันที่ 5 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานร่วมประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงานของโครงการเพื่อเตรียมปฏิบัติงานครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการโครงการจัดการประชุมโดยมีนายอภิชาติ ไชยางพานิช เจ้าหน้าที่ป่าไม้ชำนาญงาน ให้ความรู้วิธีการปลูกป่าและนำพันธุ์ไม้มาเสริมในพื้นที่ และร่วมติดตามผลการดำเนินงานที่ผ่านมา พร้อมทั้งเสนอให้ผู้นำท้องถิ่นทราบ

     

    15 15

    37. กลุ่มผู้รับผิดชอบทั้ง 4 กลุ่มลงพื้นที่ป่าชายเลนของตนเอง

    วันที่ 6 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -สมาชิก แกนนำ ลงพื้นที่ป่าชายเลนทั้งพื้นที่สมบูรณ์ พื้นที่จากการเพิ่มปีที่แล้ว ซึ่งเป็นสีเขียวแต่ยังไม่สมบูรณ์เต็มที่ และพื้นที่เสื่อมโทรม ให้สมาชิกใหม่และสมาชิกเก่าได้ร่วมกันรับผิดชอบพัฒนาและเฝ้าระวังออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 25 คน - แต่ละกลุ่มจะมีพื้นที่ให้ดูแล ลักษณะใกล้เคียงกันเพื่อให้กลุ่มเกิดการแข่งขันกันพัฒนากันเองโดยกลุ่มอาจใช้เวลาว่างของสมาชิกผลัดเปลี่ยนกันลงพื้นที่อาจลงไม่พร้อมกันแล้วแต่การบริหารจัดการของกลุ่มแต่รุ่นพี่จะมีบทเรียนจากการดำเนินงานปีที่ผ่านมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีเจ้าหน้าที่ป่าไม้และประชาชนในพื้นร่วมสำรวจต้นกล้าไม้ที่ปลูกแล้วพบมีการเจริญเติบโตเพิ่มขึ้น และเพิ่มเติมในส่วนขาด ทำให้มีพื่นที่ป่าสีเขียวเพิ่มขึ้นในพื่นที่ในความรับผิดชอบ

     

    120 120

    38. จัดประชุมประชาคมและให้มีการถ่ายทอดทางหอกระจายข่าวเพื่อให้สมาชิกชุมชนได้รับทราบทั่วกัน

    วันที่ 20 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมประชาคมและมีการถ่ายทอดทางหอกระจายข่าวเพื่อให้สมาชิกในชุมชนได้รับทราบทั่วกัน และรับฟังความคิดเห็นจากสมาชิกในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกในชุมชนเห็นด้วยกับข้อเสนอที่ทางคณะทำงานของโครงการเสนอไป เช่นระเบียบชุมชนและประสานให้ชุมชนใกล้เคียงรับทราบระเบียบที่กำหนด และร่างระบียบชุมชนคนริมทางเข้าออกป่าชายเลนให้เป็นระเบียบในเรื่องการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งจัดกระจายข่าวสารทางหอกระจายข่าวเพื่อให้สมาชิกในชุมชนรับทราบ

     

    150 150

    39. ประชุมติดตามโครงการโดยชุมชน

    วันที่ 5 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการโครงการร่วมพูดคุยปรึกษาหารือเรื่องการทำงานในครั้งที่ผ่านมา และปรึกษาเรื่องการทำงานในครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการปรึกษาร่วมกับบริษัทซีพี เรื่องการวางแผนในการทำงานในด้านการจัดทำทางเดินลงเพื่ินที่ป่า และเตรียมพันธุ์กุ้งขาวให้ชาวบ้าน ๑ล้านตัว และให้ชุมชนเตรียมพร้อมในการจัดคนและวันในการปล่อยกุ้งดังกล่าว

     

    15 15

    40. ประชุมคณะกรรมการโครงการ

    วันที่ 5 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการโครงการในการสรุปผลการดำเนินงานและเตรียมปิดโครงการพร้อมทั้งเตรียมจัดพิธีมอบรางวัลรางวัลให้แก่กลุ่มที่มีการดูแลพื้นที่ดีและสม่ำเสมอ จัดพิธีมอบรางวัลรางวัลให้แก่กลุ่มที่มีการดูแลพื้นที่ดีและสม่ำเสมอ ได้แก่ รางวัลกลุ่มดีเด่น จำนวน 3 รางวัล รางวัลจากคนเก่งของชุมชน จำนวน 3 รางวัล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการสรุปผลการดำเนินงานทั้งหมดตั้งแต่การชี้แจงโครงการแก่ชุมชน การปลูกต้นโกงกาง รวมทั้งทำความสะอาดป่า กำหนดระเบียบชุมชนในการจับสัตว์น้ำและตัดไม้ การอบรมมัคคุเทศก์น้อย พัฒนาศักยภาพแกนนำ ทางคณะทำงานโครงการเห็นสมควรให้รางวัลทุกกลุ่มเท่าเทียมกันได้แก่ รางวัลกลุ่มดีเด่น ให้แก่ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลทั้ง 4 กลุ่ม เนื่องจากมีการดูและอยู่สม่ำเสมอ กันทุกกลุ่ม

     

    15 15

    41. พบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจสอบรายงาน

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำรายงานให้พี่เลี้ยงตรวจสอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การจัดทำรายงานและรายงานการเงินไม่สอดคล้องกันต้องปรับให้เป็นไปในทางเดียวกันและมีหลักฐานครบถ้วนในการเบิกจ่ายทุกครั้ง

     

    2 2

    42. จัดประชุมปิดโครงการเพื่อนำเสนอผลการดำเนินงานของโครงการแก่สมาชิกชุมชนและหาแนวทางในการต่อยอดโครงการ

    วันที่ 26 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงานโครงการร่วมกับสำนักงานประมงอำเภอ/จังหวัดเพื่อกำหนดการจัดงานในพื้นที่ป่าชายเลนโดยใช้ชื่องานว่า กิจกรรมพิธีปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำและปลกต้นไม้เพื่อเป็นการถวายความจงรักภักดีและถวายเป็นพระราชกุศลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้สำนักงานประมงเป็นผู้รับผิดชอบในการเชิญบุคคลต่างๆเข้าร่วมงาน ส่วนคณะกรรมการโครงการ/หมู่บ้านรับผิดชอบการจัดสถานที่และการเลี้ยงรับรอง หลังจากกิจกรรมดังแล้วเสร็จมีการประชุมสรุปผลการดำเนินงานของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพรให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิดการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำและปลูกต้นไม้ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวนประมาณ 500 คน ที่ร่วมกิจกรรมการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำและปลูกต้นไม้ มีการมอบรางวัลให้กับกลุ่มการดูแลพื้นที่ป่าชายเลนดีเด่นจำนวน 6 รางวัล ได้แก่ 1.โรงเรียนบ้านบางจาก 2.โรงเรียนบ้านชุมโค 3.โรงเรียนบ้านคลองวังช้าง 4. โรงเรียนบ้านดอนทราย 5. โรงเรียนบ้านบ่ออิฐ 6. โรงเรียนบ้านหินกบ มีการสรุปผลการดำเนินกิจกรรมและแนวทางการพัฒนาต่อยอดพื้นที่ป่าชายเลนให้เป็นเรียนรู้ทางธรรมชาติต่อไป

     

    150 345

    43. พบพี่เลี้ยง

    วันที่ 21 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำรายงานและหลักฐานทางการเงินให้พี่เลี้ยงตรวจสอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการลงรายงานการเงินไม่ถูกต้อง ต้องปรับ และจัดหลักฐานให้ครบถ้วน พร้อมที่จะให้ทีมพี่เลี้ยงตรวจสอบรายงานต่อไป

     

    2 2

    44. พบพี่เลี้ยงเพื่อสรุปผลโครงการ

    วันที่ 27 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการนำเอกสารรายงานทางการเงินให้พี่เลี้ยงตรวจสอบความถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการนำเอกสารรายงานทางการเงินให้พี่เลี้ยงตรวจสอบความถูกต้องทั้งในส่วนของรายงานกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ รายงานการเงินเพื่อจัดทำเอกสารส่งให้ สสส.ต่อไป

     

    2 1

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้สมาชิกชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ป่าชายเลน
    ตัวชี้วัด : 1.1 ร้อยละ 60 ของสมาชิกใหม่มีความรู้ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในอนุรักษ์ป่าชายเลน 1.2 มีพื้นที่ป่าชายเลนที่สมบูรณ์เพิ่มขึ้นอีก 50 ไร่ 1.3 มีศูนย์เรียนรู้ด้านการอนุรักษ์ป่าชายเลน

    1.1 ชุมชนมีสมาชิกใหม่ที่มีความรู้ความเข้าใจและเข้าร่วมอนุรักษ์ป่าชายครอบคลุมทุกหลังคาเรือน คิดเป็น ร้อยละ 99
    1.2 มีพื้นที่ป่าชายเลนที่สมบูรณ์เพิ่มขึ้นอีก 51 ไร่ โดยมีการปลูกป่าเพิ่มเติมจำนวน 5 ครั้ง ในเวลา 1 ปี โดยแต่ละครั้งจะปลูกกล้าไม้ประมาณ 500 กว่าต้น พร้อมทั้งมีการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ เช่น กุ้งขาว ปูดำ และปลา เพื่อเพิ่มความสมบูรณ์ของป่าชายเลน

    1.3 มีศูนย์เรียนรู้ด้านการอนุรักษ์ป่าชายเลนที่มีฐานเรียนรู้และมีสถานที่รองรับการเรียนรู้ในพื้นที่ที่ค่อนข้างสมบูรณ์และมีกลุ่มนักเรียน นักศึกษาเข้าเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และร่วมปลูกป่าเสริมในส่วนที่เสียหาย ทำให้มีความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทั้งพื้นที่ป่า สัตว์น้ำ ซึ่งเป็นสิ่งที่ชุมชนมีความคาดหวังมาตั้งแต่ต้น

    2 2.เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายของชุมชนในเรื่องการอนุรักษ์ป่าชายเลน
    ตัวชี้วัด : 2.1 ชุมชนมีนโยบายของชุมชนด้านการอนุรักษ์ป่าชายเลน

    2.1 ชุมชนมีนโยบายสาธารณะในเรื่องของการอนุรักษ์และใช้พื้นที่ป่าที่ชัดเจน โดยตั้งเป็นกฏกติกาชุมชนในการจับสัตว์น้ำ เช่น กำหนดขนาดของสัตว์น้ำแต่ละชนิดที่เหมาะสม และอนุญาตให้จับได้

    3 3.เพื่อการบริหารจัดการและติดตามผลโครงการ
    ตัวชี้วัด : ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานเข้าร่วมการจัดกิจกรรมของ สสส./สจรส.มอ./พี่เลี้ยงโครงการทุกครั้ง

    ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานเข้าร่วมการจัดกิจกรรมของ สสส./สจรส.ม.อ./พี่เลี้ยงโครงการทุกครั้ง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้สมาชิกชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ป่าชายเลน (2) 2.เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายของชุมชนในเรื่องการอนุรักษ์ป่าชายเลน (3) 3.เพื่อการบริหารจัดการและติดตามผลโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ร่วมปลุกจิตสำนึกรักษ์บ้านชุมโค(ต่อเนื่อง)

    รหัสโครงการ 57-01495 รหัสสัญญา 57-00-1073 ระยะเวลาโครงการ 10 มิถุนายน 2557 - 10 กรกฎาคม 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    ชุมชนมีการประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานในเวทีประชุมผู้นำท้องที่เมื่อมีกิจกรรมใหม่ๆ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    มีนักเรียนในโรงเรียนชุมชนใกล้เคียงและกลุ่มเยาวชนเข้ามาร่วมเรียนรู้วิธีการทำงานใหม่ๆของชุมชน

    ภาพถ่าย

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    ในศูนย์เรียนรู้มีฐานเรียนรู้เกิดขึ้น 4 ฐาน

    ฐานเรียนรู้ 4 ฐาน ได้แก่ ฐานพันธ์ุไม้ป่าชายเลน ฐานพันธ์ุสัตว์น้ำ ฐานพืชสมุนไพร และฐานการเพาะพันธ์ุต้นกล้าไม้

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    สมาชิกส่วนใหญ่มีการปฏิบัติตนตามหลักสุขอนามัยส่วนบุคคล ทั้ง การชำระร่างกายให้สะอาด การดื่มน้ำที่สะอาด การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย ฯลฯ

    พี่หลาดบอกว่าถ้าไม่รู้ว่าดูแลอย่างไรให้นึกถึงสุขบัญญัติ 10 ประการที่ท่องสมัยเรียน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    มีการบริโภคอาหารปลอดสารพิษ และเลือกอาหารที่เหมาะสมกับวัยและกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อโรคที่ต้องใส่ใจ เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเส้นเลือด โรคหัวใจ เป็นต้น

    รายงานผลการดำเนินงาน/ภาพถ่าย

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    กลุ่ม อสม.และกลุ่มผู้สูงอายุ ที่มีการออกกำลังกายเป็นประจำที่ศูนย์หมู่บ้าน ส่วนสมาชิกชุมชนคนวัยอื่นๆ เข้าร่วมเป็นบางครั้งที่มีเวลาว่าง

    ภาพถ่าย/อสม./ผู้สูงอายุ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    สมาชิกมีการ ลด ละ และเลิก บุหรี่ เหล้าและการพนัน ได้เกือบทั้งหมู่บ้าน

    ผู้ใหญ่ทวีบอกว่า ปีแรก เลิกได้แค่ 15 คน ปีนี้เราต้องเลิกกันให้หมด

    หมู่บ้านปลอดสิ่งเสพติดและอบายมุข

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    มีการดูแลสุขภาพเบื้องต้นด้วยยาสามัญประจำบ้านและสมุนไพรที่มีเกือบทุกครัวเรือน เช่น ฟ้าทะลายโจร ขมิ้นชัน ข่า ตะไคร้ กระเพรา ซึ่งใช้สมุนไพรเป็นทั้งอาหารและยา

    เจ้าหน้าที่ รพ.สต.สนับสนุนให้คำแนะนำเรื่องสรรพคุณ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    มีการจัดกิจกรรมในครอบครัว อาทิการกินข้าวพร้อมหน้าพ่อแม่ลูก อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 วัน การพักผ่อนและเข้าปลูกป่า เป็นต้น

    ภาพถ่าย

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    ชุมชนมีการจัดการขยะอย่างครบวงจร ชุมชนจึงสะอาดเป็นระเบียบ

    ภาพถ่าย

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    ชุมชนมีการสร้างพื้นที่สาธารณะสำหรับนักปั่นชมธรรมชาติของป่าชายเลนและมีศุนย์เรียนรู้ที่สามารถใช้เป็นแหล่งท่องเที่ยว พักผ่อนหย่อนใจของครอบครัวในวันหยุดมาทำกิจกรรมร่วมกัน เช่น การปลูกป่า(มีการเพาะพันธ์ุไม้ไว้รองรับจำนวนมาก)

    ภาพถ่าย/รายงานผลโครงการ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    มีการปลูกผักสวนครัวไว้กินเองที่เหลือแจกจ่ายและขายเป็นการเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัว

    ภาพถ่ายกิจกรรม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    คณะกรรมการและแกนนำชุมชน แกนนำอนุรักษ์ มีการร่างกติกาการใช้พื้นที่ป่าชายเลน ซึ่งได้เปิดเวทีรับฟังความคิดเห็นจากสมาชิกชุมชนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องและจัดทำเป็นป้ายถาวรติดตั้งในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้ของชุมชนที่ชัดเจน

    ภาพถ่าย และป้ายประชาสัมพันธ์นโยบายหรือกติกาของชุมชนที่ติดตั้งในพื้นที่ จำนวน 8 ข้อ ได้แก่ 1.ห้ามบุกรุกป่าชายเลน 2.ห้ามตัดไม้ในป่าชายเลนโดยไม่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการ 3.ห้ามจับสัตว์น้ำโดยวิธีทำลายล้าง เช่น ระเบิดปลา หรือใช้ยาเบื่อ 4.ห้ามจับปูแสมในช่วงฤดูวางไข่ 5.ห้ามจับปูแสมขนาด 130 ตัวต่อ 1 กิโลกรัม 6.ห้ามจับหอยภู่กันขนาด 7.ห้ามจับหอยจุ๊บแจงขนาดไม่เกิน 400 ตัวต่อ 1 กิโลกรัม 8. ห้ามจับปูดำขนาด 5 เซนติเมตร เพื่อนำเข้าเวทีประชาคมก่อนประกาศใช้

    พัฒนาสู่ข้อบัญญัติของท้องถิ่นและธรรมนูญตำบลต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    ชุมชนมีการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่มในชุมชนและนอกชุมชน เพื่อการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และเรียนรู้กันและกันเป็นการช่วยหนุนเสริมด้านการพัฒนา

    ชุมชนบ้านทุ่งยอ/ชุมชนบ้านส้านแดง/ชุมชนบ้านควนดิน/ชุมชนบ้านแหลมยางนา

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    สมาชิกชุมชนมีการประเมินสภาพปัญหาของชุมชนนำมาวางแผนแก้ไข แสวงหางบประมาณที่จำเป็น และมีการร่วมกันจัดการกับปัญหารวมทั้งมีการติดตามประเมินผล

    แผนชุมชน/แผนงานโครงการ

    แผนพัฒนาตำบล

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    ชุมชนมีทุนทางสังคมและทุนบุคคลที่มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้แก่สมาชิกทั้งในและนอกชุมชน

    ปราชญ์ชาวบ้านด้านทำกะปิ/ทำน้ำตาลมะพร้าว และการแปรรูปสัตว์น้ำหลายชนิด

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    สมาชิกชุมชนและสมาชิกกลุ่มอนุกรักษ์ทั้ง 4 กลุ่มยังคงมีการปฏิบัติภาระกิจอยู่อย่างต่อเนื่อง เพราะต้องเป็นห้องเรียนธรรมชาติให้กับเด็กนักเรียนและนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างๆอย่างต่อเนื่อง

    สมาชิกกลุ่มประจำฐานเรียนรู้ 4 ฐาน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    พี่หลาดเล่าว่ามีความภาคภูมิใจมากที่สามารถชักจูงคนในชุมชนให้มีส่วนร่วมและให้ความสำคัญในการอนุรักษ์ป่าชายเลนให้คงอยู่เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหารไว้ให้คนรุ่นหลังได้เห็นเยี่ยงอย่าง

    ผู้รับผิดชอบโครงการ(นางฉลาดชื่นแก้ว)

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    สมาชิกชุมชนมีการรวมกลุ่มกันในการสร้างงานสร้างอาชีพตามรอยบรรพบุรุษที่ทำทุกอย่างที่กินได้ ปลอดภัยและไม่ผิดจารีตประเพณี เช่น จับสัตว์น้ำ ทำกะปิ ทำน้ำตาลมะพร้าว เป็นต้น เป็นการเพิ่มรายได้แก่ครอบครัวอย่างพอเพียง

    กลุ่มกะปิ/กลุ่มน้ำตาลมะพร้าว ที่มีการนำสินค้าขึ้นไปจำหน่ายในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงที่ปทุมธานีทุกปี

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    สมาชิกชุมชนมีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันทั้งเรื่องทุกข์และสุข

    เรื่องเล่าของผู้ใหญ่ทวี/พี่หลาด/น้องวุฒิ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    การจะดำเนินการสิ่งใดนอกเหนือแผนงานโครงการผู้ใหญ่จะเรียกประชุมสมาชิกชุมชน ปรึกษาหารรือภายใต้ข้อมูลและข้อคิดเห็นของสมาชิกและที่ปรึกษาทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและองค์กรภาคประชาสังคม

    หัวหน้าป่าชายเลนอำเภอปะทิว/ผู้แทนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด/เจ้าหน้าที่ รพ.สต./นักพัฒนาชุมชนเทศบาลตำบลชุมโค

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    ร่วมปลุกจิตสำนึกรักษ์บ้านชุมโค(ต่อเนื่อง) จังหวัด ชุมพร

    รหัสโครงการ 57-01495

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางฉลาด ชื่นแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด