stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ คอกช้างร่วมใจจัดการขยะ…รักสุขภาพ
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01517
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2557 - 30 มิถุนายน 2558
งบประมาณ 185,600.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสุวรรณี นวลเจริญ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ สุวิทย์ หมาดอะดำ
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนบ้านคอกช้าง
ละติจูด-ลองจิจูด 6.0886239429195,101.32106781006place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2557 31 ต.ค. 2557 1 มิ.ย. 2557 31 ต.ค. 2557 74,240.00
2 1 พ.ย. 2557 30 เม.ย. 2558 1 พ.ย. 2557 30 มิ.ย. 2558 92,800.00
3 1 พ.ค. 2558 30 มิ.ย. 2558 18,560.00
รวมงบประมาณ 185,600.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ประชาชนในชุมชนเทศบาลตำบลบ้านคอกช้างมีพฤติกรรมการจัดการขยะที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. ร้อยละ90 ของประชาชนเทศบาลตำบลบ้านคอกช้างที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ มีความเข้าใจ ในด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง
  2. มีครัวเรือนเข้าร่วมเป็นเครือข่ายโครงการนำร่อง ไม่น้อยกว่า 40 ครัวเรือน
  3. ปริมาณขยะลดลง อย่างน้อย 200 กิโลกรัม/วัน
  4. มีเครือข่ายเยาวชนตาสัปรด เฝ้าระวังการทิ้งขยะ

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. ชุมชนหันมาเปลี่ยนพฤติกรรมและใส่ใจกับปัญหาขยะของชุมชนโดยรวมได้
2 เพื่อให้ประชาชนเทศบาลตำบลบ้านคอกช้างมีการจัดการขยะให้ครอบคลุมทุกพื้นที่เป้าหมายเพื่อลดภาวะเสี่ยงของการเกิดโรคจากมลภาวะของขยะ

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. เกิดพื้นที่ ที่สามารถใช้ประโยชน์ทดแทนกองขยะอย่างน้อย 6 จุด และเกิดวันทำความสะอาดประจำปีของชุมชน
  2. สภาพแวดล้อมของชุมชน สะอาด เรียบร้อย น่าอยู่อาศัย ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค เช่น แหล่งเพาะพันธุ์ยุง แมลงวัน เป็นต้น

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. สภาพแวดล้อมบริเวณบ้านสะอาด น่าอยู่มากขึ้น
  2. มีการรีไซเคิลขยะในครัวเรือนมากขึ้น
3 เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. ได้คณะทำงานการจัดการขยะที่สมัครใจและเป็นตัวแทนของกลุ่มหรือภาคีต่างๆ จำนวน 30 คน
  2. มีข้อตกลง กฎกติกาของชุมชนในการจัดการเรื่องขยะ
  3. กิดแนวทางจัดทำกองทุนหรือธนาคารขยะในอนาคต 1 กองทุน

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. เกิดความร่วมมือ และมองเป็นปัญหาขยะเป็นเป้าหมายของการแก้ไข และจะทำให้เกิดเวทีการพูดคุยแลกเปลี่ยนสร้างความเข้าใจในปัญหาอื่นของชุมชนได้อีกเช่นปัญหาเด็กเยาวชน
  2. คณะทำงานร่วมกันผลักดันให้ เทศบาลตำบลบ้านคอกช้างมีการจัดทำนโยบายการจัดการขยะในระดับองค์กร มีการจัดการขยะในส่วนที่ประชาชนไม่สามารถดำเนินการได้
4 เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลโครงการ

จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับสสส และสจรส

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2557 16:58 น.