directions_run

โครงการสภาเด็กและเยาวชนกับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน (ปี 2 ต่อเนื่อง)

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการสภาเด็กและเยาวชนกับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน (ปี 2 ต่อเนื่อง)

รหัสโครงการ 57-01520 รหัสสัญญา 57-00-1069 ระยะเวลาโครงการ 10 มิถุนายน 2557 - 10 กรกฎาคม 2558

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การใช้สภาเด็กและเยาวชนในระดับหมู่บ้าน

  • คู่มือการดำเนิงานสภาเด็กของชุมชน
  • ประธานสภา คือ นายนิอาซูวันนิมะ เบอร์โทรติดต่อ 084-5343489

ควรจะมีการพัฒนา ทีมงานของสภาเด็กฯ มีความเชี่ยวชาญ/ชำนาญเพิ่มเติมในเรื่องทักษะการพูดเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ให้กับชุมชนอื่นได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
  • การใช้สภาเด็กและเยาวชนในระดับหมู่บ้านทำให้เกิดพลังของกลุ่มเยาวชนที่พร้อมจะขับเคลื่อนการทำงานตามบทบาทภารกิจของชุมชนเกิดการมีส่วนร่วมและความร่วมมือของคนทุกภาคส่วนในชุมชน ทั้ง แกนนำเยาวชน ผู้นำศาสนา ผู้นำท้องถิ่น และครูตาดีกา ในการร่วมแรงร่วมใจ ตั้งแต่กระบวนการคิด ริเริ่มจนถึงการขับเคลื่อนการทำงานอย่างเป็นรูปธรรม
  • คู่มือการดำเนิงานสภาเด็กของชุมชน
  • ประธานสภา คือ นายนิอาซูวันนิมะ เบอร์โทรติดต่อ 084-5343489

จะต้องสร้างพื้นที่ให้เยาวชนได้แสดงบทบาทของตัวเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและจิตสำนึกในการพัฒนาชุมชนของตัวเอง โดยเฉพาะการใช้กิจกรรม โครงการที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมเป็นเครื่องมือในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาต่างๆ ในชุมชน นอกจากนี้ จำเป็นที่จะต้องสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนอย่างเข้มข้น และเป็นรูปธรรมมากขึ้น เพื่อรองรับสถานการณ์ต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น ผู้บริหารท้องถิ่น /เทศบาล ที่เป็นตัวแทนชุมชน ประมาณ 8-10 คน จะต้องสร้างมาตรฐานและสามารถเป็นกลไกในการผลักดันวาระการพัฒนาด้านเด็กและเยาวชนให้เป็นประเด็นหลักๆในการจัดสรรงบประมาณของท้องถิ่นต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
  • สภาเด็กเยาวชนแล้ว ยังมีการกำหนดเขตพื้นที่ตามมัสยิด หรือ บาลาเซาะห์ทั้งหมดในชุมชน จำนวน 6 แห่ง เพื่อแบ่งโชนให้เด็กเยาวชนรับผิดชอบประจำเขตของตัวเองในการเตรียมความพร้อมหรือประสานงานเรื่องต่างๆ โดยมีผู้ใหญ่ในชุมชน/คณะกรรมการมัสยิดเพื่อเป็นพี่เลี้ยง

ดูได้จากการแบ่งกลุ่มผู้รับผิดชอบในแต่ละเขต โดยมีหัวหน้าชุด 2-3 คนเป็นคนประสานงานหลัก และจะมีรายชื่อของเด็กเยาวชนที่เป็นสมาชิกในแต่ละเขตประมาณ เขตละ 20 – 30 คน

จะต้องวางระบบให้แต่ละเขตที่เยาวชนรับผิดชอบ จำนวน 6 เขต มีผู้ใหญ่/ผู้นำชุมชนที่เป็นที่ปรึกษาประจำเขตเพื่อคอยให้คำแนะนำและเป็นตัวแทนในการพูดคุยในระดับชุมชนอีกครั้ง ทั้งนี้ก็เพื่อความรวดเร็วในการประสานงาน และความคล่องตัวในการดำเนินกิจกรรม/โครงการต่างๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
  • จากการขับเคลื่อนโครงการในปีที่ 2 นี้ทำให้ชุมชนฮูมอลานัสเกิดสภาเด็กและเยาวชน ขึ้น ต่อยอดจากกลุ่มแกนนำเด็กและเยาวชนปีที่แล้ว โดยมีโครงสร้างและบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจนขึ้น เป็นกลไกในการพัฒนาที่คนในชุมชน โดยมีตัวแทนจากทุกภาคส่วน ทั้งผู้นำศาสนา ผู้นำท้องถิ่น และครูตาดีกา เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการ พิจารณาคัดเลือก และแต่งตั้งสภาเด็กเยาวชน ให้เป็นตัวแทนที่จะดำเนินกิจกรรมโครงการต่อยอดอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
  • กลุ่มนักศึกษาเพือพัฒนาชุมชน เป็นเยาวชนที่ไปเรียนนอกพื้นที่ ในเวลาปิดเทอมจะกลับมาหนุนเสริมด้านวิชาการและการทำงานสภาเด็กและเยาวชน
  • คู่มือการดำเนิงานสภาเด็กของชุมชน
  • ประธานสภา คือ นายนิอาซูวันนิมะ เบอร์โทรติดต่อ 084-5343489

วางระบบให้เป็นสภาเด็กฯ ที่ได้รับการยอมรับจากทุกภาคส่วน รวมทั้งเป็นแหล่งในการศึกษาเรียนรู้ของชุมชนภายนอกได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
  • เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างกลุ่มเด็กเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรม โดยเฉพาะการคิดสร้างสรรค์กิจกรรมใหม่ๆ เพื่อการต่อยอดในปีที่ 2 นี้ทำให้คนในชุมชน เกิดความภูมิใจในบทบาทหน้าที่ของสภาเด็กฯ โดยเฉพาะการขับเคลื่อนกิจกรรมที่สอดคล้องกับวิถีด้านศาสนา ประเพณี และวัฒนธรรมที่สำคัญในชุมชนอีกด้วย
  • ประเมินได้จากการร่วมทำกิจกรรมด้านศาสนาประเพณีวัฒนธรรมทุกครั้งจะมีเด็กเยาวชนเข้าร่วมไม่ต่ำกว่า 30 คน และคนในชุมชน (คณะกรรมการมัสยิด ,ครูตาดีกา, ผู้บริหารท้องถิ่น , ผู้นำศาสนา และคนทั่วไป) จำนวน ประมาณ 50 คน

ควรให้เด็กเยาวชนทำกิจกรรมที่เป็นการหนุนเสริมประเพณีวัฒนธรรมที่ดีงามในชุมชนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดการยอมรับของคนทุกภาคส่วนในชุมชนต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
  • เกิดกติกาของชุมชนที่ได้รับการยอมรับจากทุกคนในชุมชนหลายข้อ ตัวอย่างเช่น มีการกำหนดให้ครอบครัวใดที่มีลูกหรือสมาชิกในครอบครัวข้องเกี่ยวกับยาเสพติด ต้องได้รับการต่อต้านและผู้นำศาสนาจะไม่ทำพิธีการใดๆ เยาวชนและครอบครัวจะต้องเปลี่ยนแปลงตัวเอง นอกจากนี้ผลจากการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชน ทำให้เกิดข้อปฏิบัติร่วมกันในชุมชน คือ เมื่อใดที่จะมีการทำกิจกรรมใหญ่ทุกคนต้องร่วมมือและแสดงความรับผิดชอบอย่างเป็นรูปธรรม หรือต้องให้การสนับสนุน

ดูได้จากกฎกติกาที่เกิดขึ้นในชุมชน(ข้อบังคับของชุมชน) ที่ร่างขึ้นมาโดยทุกฝ่ายและเกิดการยอมรับร่วมกัน

ควรทำเป็นกติกาของชุมชนที่ครอบคลุมประเด็นอื่นๆในชุมชน ไม่ใช่เรื่องเด็กเยาวชนที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดเท่านั้น แต่ควรมีเรื่องจริยธรรมอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น คนที่ไม่ทำการละหมาด คนที่ไม่ถือศีลอดในเดือนบวช ควรมีมาตรการลงโทษอย่างเป็นรูปธรรมด้วยเช่นกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
  • มีกลุ่มเยาวชนหรือองค์กรอื่น สนใจที่จะเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถึงกระบวนการจัดกิจกรรม/โครงการ และแนวทางการบริหารงานของสภาเด็กฯ ชุมชนฮูมอลานัส
  • มีการติดต่อประสานงานเข้ามาผ่านประธานสภาเด็กฯ และผู้รับผิดชอบโครงการโดยตรง
  • ตัวแทนองค์กรจากภายนอกชุมชนสนใจที่จะศึกษาจากคู่มือ/หลักสูตรการทำงานของสภาเด็กฯชุมชนฮูมอลานัส
  • พัฒนาทักษะการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะทำงานสภาเด็กฯ และจัดทำคู่มือ/หลักสูตรให้สมบูรณ์ สามารถนำไปศึกษาและใช้ประโยชน์ต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
  • มีการใช้กองทุนเด็กกำพร้าของมัสยิดประจำหมู่บ้าน และกองทุนซากาตมาใช้ในการช่วยเหลือและสมทบการดำเนินโครงการของ สสส.เพื่อให้เกิดการทำงานเชิงบูรณาการ รวมทั้งสร้างความตระหนักในการช่วยเหลือชุมชนของทุกภาคส่วน
  • ประเมินได้จากการร่วมบูรณาการงบประมาณของกองทุนประจำหมู่บ้านที่มีอยู่แล้วเพื่อสมทบการดำเนินงาน รวมทั้งช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเฉพาะ เช่น เด็กกำพร้า เด็กยากจน เป็นต้น

ควรมีการบูรณาการระหว่างกองทุนที่มีอยู่ในชุมชน กับการดำเนินโครงการต่างๆ ในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความร่วมมือและภาพของการพัฒนาที่เป็นองค์รวมต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ