directions_run

แนวทางร่วมสร้างชุมชนป้อมหกให้น่าอยู่ปีที่ 2 : ป้อมหก Eco planet ปฎิบัติการชุมชนรักษ์โลก(ต่อเนื่อง)

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ แนวทางร่วมสร้างชุมชนป้อมหกให้น่าอยู่ปีที่ 2 : ป้อมหก Eco planet ปฎิบัติการชุมชนรักษ์โลก(ต่อเนื่อง)
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01528
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 มิถุนายน 2557 - 10 กรกฎาคม 2558
งบประมาณ 213,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย ณรงค์ชัย ชูเรืองสุข
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวอารีย์ สุวรรณชาตรี
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนป้อมหก 170/18 ถ.รัถการ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110
ละติจูด-ลองจิจูด 6.9821936121911,100.47409057613place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 10 มิ.ย. 2557 10 พ.ย. 2557 10 มิ.ย. 2557 10 พ.ย. 2557 86,000.00
2 11 พ.ย. 2557 10 พ.ค. 2558 11 พ.ย. 2557 10 ก.ค. 2558 107,000.00
3 11 พ.ค. 2558 10 ก.ค. 2558 20,000.00
รวมงบประมาณ 213,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมการพัฒนาชุมชนด้านการจัดการขยะ

1.1 ร้อยละ 90 ของประชาชนป้อมหกที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ การจัดการขยะต้นทาง (การแยกขยะจากครัวเรือน) ได้อย่างถูกต้องตามแบบประเมิน คู่มือการจัดการขยะ

1.2 เกิดคณะทำงาน เกี่ยวกับสวัสดิการชุมชนผ่านกองทุนขยะ อย่างน้อย 20 คน
1.3 เกิดกลุ่มเยาวชนจิตอาสาพัฒนาชุมชนอย่างน้อย 1 ทีม

2 เพื่อจัดระบบสวัสดิการชุมชนผ่านกองทุนขยะ

2.1. ร้อยละ 90 คนในชุมชนนำขยะรีไซร์เคิล รวมเป็นกองกลาง ช่วยเหลื่อและแบ่งปันสู่สังคม และเกิดเป็นกองทุน 1 กองทุน

3 สภาพแวดล้อมของชุมชน สะอาด เรียบร้อย น่าอยู่อาศัย

3.1 คนในชุมชนร้อยละ90 ร่วมกันพัฒนา ปรับภูมิทัศน์ชุมชน โดยการปลูกพืชสวนครัว ไม้ดอก ไม้ประดับ บริเวณริมถนนและพื้นที่สาธารณะของชุมชนทุกเดือน

3.2 สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 100 คน มีรายได้เพิ่มขึ้น จากผลผลิตในชุมชน(ดูจากบัญชีครัวเรือน )

3.3 เกิดเครือข่ายชุมชนสีเขียว 5 ชุมชน

3.4 เกิดชุดความรู้เรื่อง การปลูกพืช ผักฉบับคนเมือง ตามวิถีแห่งความพอเพียง ผ่านธนาคารขยะชุมชน

3.5 เกิดครัวเรือนต้นแบบ อย่างน้อย 5 ครัวเรือน มีการจัดการขยะในรุปแบบพลังงานทางเลือก

4 การสนับสนุนติดตามโครงการโดยทีม สสส.,สจรส.มอ.

4.1. การเข้าร่วมประชุมติดตามการดำเนินงานจากทีม สสส.,สจรส.มอ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
4.2. การจัดทำรายงานโครงการ (ส.1 ,ส.2 ,ง.1 ,ง.2 ,ส.3)

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2557 16:58 น.