directions_run

คนโคกสิเหรงกินดีอยู่ดี มีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ ภายใต้สิ่งแวดล้อมน่าอยู่

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 คนในชุมชนมีการจัดทำระบบบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของครัวเรือน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 60 คน ในชุมชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญ ในการจัดทำระบบบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของครัวเรือน 2. ร้อยละ 60 คน ในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ การจัดทำระบบบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของครัวเรือน 3. เกิดครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 40 คน ในการทำระบบบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง 4. เกิดครูบัญชีอาสา อย่างน้อย 30 คน ในการติดตามให้ความช่วยเหลือการทำบัญชีครัวเรือนอย่างถุกต้อง 5. ร้อยละ 5 การเพิ่มขึ้นของคนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมดำเนินงานจัดทำระบบบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของครัวเรือน 6. ร้อยละ 10 รายจ่ายในครัวเรือนลดลงในทุกรายการ หนี้สินลดลง และมีเงินออม

 

 

 

2 เพื่อส่งเสริม พัฒนาอาชีพให้คนในชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ และมีความมั่นคงยั่งยืน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 คนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการทำเกษตรตามหลักปรัญชญาเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถปฎิบัติได้ 2. เกิดกลุ่มเผื่อการผลิตในชุมชน อย่างน้อย 3 กลุ่ม กลุ่มปุ๋ย,กลุ่มผัก,กลุ่มเมล็ดพันธุ์ ฯ ในระดับครัวเรือนและชุมชน 3. กลุ่มเป้าหมายอย่างน้อย 60 ครอบครัว มีรายได้เพิ่มขึ้น (ดูจากบัญชีครัวเรือน

 

 

 

3 เด็ก เยาวชนและคนในชุมชน มีการสืบสานศิลปการละเล่นท้องถิ่น ลิเกฮูลู และสามารถเผยแพร่และถ่ายทอดวิถีวัฒนธรรมชุมชนให้คนอื่นได้รับรู้ และส่งต่อรุ่นต่อรุ่นได้
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 30 เด็กและเยาวชน มีความรู้ ทักษะในการเล่นลิเกฮูลู สามารถจัดแสดง มีรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว 2.ร้อยละ 80 เด็ก เยาวชนและคนในชุมชน ยึดหลักปรัญชญาเศรษฐกิจพอเพียงและวิถีวัฒนธรรมชุมชนไว้เป็นที่ยึดเหนี่ยวในการดำรงชีวิต

 

 

 

4 การสนับสนุนติดตามโครงการโดยทีม สสส.,สจรส.มอ.
ตัวชี้วัด : 1. การเข้าร่วมประชุมติดตามการดำเนินงานจากทีม สสส.,สจรส.มอ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 2. การจัดทำรายงานโครงการ (ส.1 ,ส.2,ง.1,ง.2 ,ส.3)