task_alt

บ้านต้นมะขามเทศ น่าอยู่ สุขภาพดี ด้วยวิถีวัฒนธรรมชุมชน

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ บ้านต้นมะขามเทศ น่าอยู่ สุขภาพดี ด้วยวิถีวัฒนธรรมชุมชน

ชุมชน หมู่ที่ 4 บ้านต้นมะขามเทศ ตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ

รหัสโครงการ 57-01530 เลขที่ข้อตกลง 57-00-1063

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มิถุนายน 2557 ถึง 10 กรกฎาคม 2558

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน มิถุนายน 2557 ถึงเดือน พฤศจิกายน 2557

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมปฐมนิเทศโครงการชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ปี 2557

วันที่ 14 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจในการดำเนินงานชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.ผศ.ดร.ภก พงศ์เทพ สุธีรวุฒิ  แนะนำการดำเนินงานโครงการ ภายใต้เงื่อนไขของ สสส.และ สจรส.

2.นายวินิจ ชุมนูรักษ์ อธิบายการดำเนินงานโครงการผ่านเว้ปไซต์ คนใต้สร้างสุข และเอกสารข้อตกลงโครงการ

3.พี่เลี้ยงพื้นที่ให้คำแนะนำ การรายงานข้อมูลและการใช้เว้ปไซต์ คนใต้สร้างสุขแก่ผู้รับผิดชอบโครงการ ซึ่งผุ้รับผิดชอบโครงการมีความเข้าใจในระดับหนึ่ง ซึ่งอาจจะต้องให้คำปรึกษาและแนะนำอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ประชุมปฐมนิเทศโครงการชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ปี 57

กิจกรรมที่ทำจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสุเทพ เซ่งล่าย และคณะทำงานโครงการ

 

2 2

2. ประชุมทีมคณะทำงานในการเตรียมงานเวทีชีแจงโครงการ "บ้านต้นมะขามเทศ น่าอยู่ สุขภาพดี ด้วยวิถีวัฒนธรรมชุมชน"

วันที่ 16 กันยายน 2557 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

1.เพื่อทำความเข้าใจที่มาของโครงการ2.วางแผนการดำเนิน3.กำหนดวันเวลาในการดำเนนิกิจกรรมคือวันที่20  กันยายน  2557  ประชาสัมพันธ์จัดประชุมแกนนำประชาชนและเยาวชนเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการรับสมัครเข้ากลุ่มเรียนรู้

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.ได้กำหนดวันเวลาในการทำกิจกรรม

2.ได้ผู้รับผิดชอบในกิจกรรมต่างๆ

3.ได้จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

1.ผู้เข้าร่วมประชุมได้ทราบถึงที่มาของโครงการ

2.ร่วมวางแผนและลงมือปฏิบัติตามข้อตกลงในที่ประชุม

3.ลงมือปฏิบัติ

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ผู้เข้าร่วมประชุมได้ทราบถึงที่มาของโครงการ

2.ร่วมวางแผนและลงมือปฏิบัติตามข้อตกลงในที่ประชุม

3.ลงมือปฏิบัติ

 

10 10

3. ประชุมจัดทำความเข้าใจโครงการชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ แก่แกนนำชุมชน ประชาชนในชุมชนบ้านมะขามเทศและรับสมัครเด็ก เยาวชนร่วมเรียนรู้วัฒนธรรมชุมชนใน 3 ด้าน คือ มโนราห์ ,กลองยาว,อาหารท้องถิ่น

วันที่ 20 กันยายน 2557 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น  ให้เกิดขึ้นกับเด็กเยาวชนและประชาชนในชุมชน2.เพื่อสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมประชุม  100%

2.มีการแสดงกลองยาวของกลุ่มไทรใหญ่

3.เด็กและเยาวชนได้สมัครเข้าร่วมกิจกรรมเรียนรู้ตามความถนัดและความสนใจ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

1.ประชาสัมพันธ์จัดประชุมแกนนำ  ประชาชนและเยาวชนในชุมชนจำนวน  200  คน

2.ชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการและการรณรงค์ให้พื้นที่การดำเนินการกิจกรรมเป็นพื้นที่ลดเหล้าและบุหรี่

3.รับสมัครเด็กและเยาวชนในโรงเรียนจำนวน  110  คน  เข้าร่วมเรียนรู้ตามความถนัดและความสมัครใจ  โดยแบ่งเป็น  3  กลุ่มการเรียนรู้  คือ
    -  กลุ่มมโนราห์
    -  กลุ่มการแสดงกลองยาว
    -  กลุ่มอาหารพื้นบ้านเพื่อสุขภาพ

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ประชาสัมพันธ์จัดประชุมแกนนำ  ประชาชนและเยาวชนในชุมชนจำนวน  200  คน

2.ชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการและการรณรงค์ให้พื้นที่การดำเนินการกิจกรรมเป็นพื้นที่ลดเหล้าและบุหรี่

3.รับสมัครเด้กและเยาวชนในโรงเรียนจำนวน  110  คน  เข้าร่วมเรียนรู้ตามความถนัดและความสมัครใจ  โดยแบ่งเป็น  3  กลุ่มการเรียนรู้  คือ
    -  กลุ่มมโนราห์
    -  กลุ่มการแสดงกลองยาว
    -  กลุ่มอาหารพื้นบ้านเพื่อสุขภาพ

 

200 130

4. จัดทำป้ายรณรงค์เขตปลอดบุหรี่

วันที่ 20 กันยายน 2557 เวลา 13.00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อประชาสัมพันธ์และรณรงค์การลดดื่มเหล้าและงดสูบบุหรี่เพื่อให้คนในชุมชนรับทราบและปฏิบัติตาม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.คนในชุมชนจำนวน 200 คนทราบถึงการประชาสัมพันธ์การงดเหล้าและสูบบุหรี่

2.การประสัมพันธ์ในเรื่องนี้สามารถบอกต่อต่อกันได้ตามอีกหลายหมู่บ้าน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ป้ายเขตปลอดบุหรี่ ของ สสส. จำนวน 1 ป้าย  ขนาด 49 x 130 เวนติเมตร ที่มีข้อความ"สถานที่นี้ปลอดบุหรี่"

กิจกรรมที่ทำจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงผู้จัดทำป้ายการประชาสัมพันธ์การรณรงค์ลดสูบบุหรี่ให้ผู้จัดทำทราบถึงขนาดและความต้องการพร้อมทั้งชี้แจงงบประมาณที่สสส.สนับสนุนให้จัดทำแผ่นป้ายเพื่อผู้จัดทำจะได้เข้าใจตรงกันและลดความผิดพลาดโดยผู้ทำป้ายได้นัดวันที่เอาป้ายคือหนึ่งสัปดาห์นับจากวันที่สั่งทำ

 

2 2

5. เด็กและเยาวชนฝึกการแสดงกลองยาวครั้งที่ 1

วันที่ 25 กันยายน 2557 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญา  ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.นักเรียนมีความรู้  ทักษะด้านกลองยาว

2.เด็กเยาวชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์กับตนเองและชุมชน

3.เกิดความสามัคคีของคนในชุมชนและชุมชนที่มีความเอื้ออาทรแบ่งปัน

4.เด็ก  เยาวชนและคนในชุมชนได้รับประสบการณ์และมุมมองใหม่ๆจากภูมิปัญญา

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

กระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาด้านกลองยาว

วิธีการ

-บรรยายให้ความประวัติความเป็นมาของกลองยาว

-ฝึกทักษะการตีกลองยาว

กิจกรรมที่ทำจริง

นายวินัย เคหันติโม ปราช์ญชุมชนด้านกลองยาว บรรยายให้ความประวัติความเป็นมาของกลองยาวในพื้นที่ชุมชน และฝึกทักษะการตีกลองยาวให้กับกลุ่มเด็ก เยาวชน

 

32 30

6. เด็ก เยาวชน ฝึกรำมโนราห์ครั้งที่1

วันที่ 25 กันยายน 2557 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญา  ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.นักเรียนมีความรู้  ทักษะด้านมโนราห์

2.เด็กเยาวชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์กับตนเองและชุมชน

3.เกิดความสามัคคีของคนในชุมชนและชุมชนที่มีความเอื้ออาทรแบ่งปัน

4.เด็ก  เยาวชนและคนในชุมชนได้รับประสบการณ์และมุมมองใหม่ๆจากภูมิปัญญา

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

กระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาด้านมโนราห์

วิธีการ -บรรยายให้ความรู้  โนราห์  คุณค่าและเอกลักษณ์นาฎศิลป์ทางภาคใต้

ฝึกทักษะการขับกลอนโนราหฺจากเรื่องราววิถีคนลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

ฝึกท่ารำในท่วงท่าต่างๆของโนราห์  12  ท่า

กิจกรรมที่ทำจริง

กระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาด้านโนราห์

วิธีการ
-นางเผือน พงค์จักรี ปราชญ์ชุมชน บรรยายให้ความรู้มโนราห์  คุณค่าและเอกลักษณ์นาฎศิลป์ทางภาคใต้

-ฝึกท่ารำในท่วงท่าต่างๆของโนราห์  12  ท่า

 

20 20

7. เด็ก เยาวชนฝึกการแสดงกลองยาวครั้งที่ 2

วันที่ 26 กันยายน 2557 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญา  ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.นักเรียนมีความรู้  ทักษะด้านกลองยาว

2.เด็กเยาวชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์กับตนเองและชุมชน

3.เกิดความสามัคคีของคนในชุมชนและชุมชนที่มีความเอื้ออาทรแบ่งปัน

4.เด็ก  เยาวชนและคนในชุมชนได้รับประสบการณ์และมุมมองใหม่ๆจากภูมิปัญญา

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

กระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาด้านกลองยาว

วิธีการ

-บรรยายให้ความประวัติความเป็นมาของกลองยาว

-ฝึกทักษะการตีกลองยาว

-บรรยายให้ความประวัติความเป็นมาของกลองยาว

กิจกรรมที่ทำจริง

กระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาด้านกลองยาว

วิธีการ

-บรรยายให้ความประวัติความเป็นมาของกลองยาว

-ฝึกทักษะการตีกลองยาว

-บรรยายให้ความประวัติความเป็นมาของกลองยาว

 

30 30

8. เด็ก เยาวชน ฝึกรำมโนราห์ครั้งที่ 2

วันที่ 26 กันยายน 2557 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญา  ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.นักเรียนมีความรู้  ทักษะด้านมโนราห์

2.เด็กเยาวชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์กับตนเองและชุมชน

3.เกิดความสามัคคีของคนในชุมชนและชุมชนที่มีความเอื้ออาทรแบ่งปัน

4.เด็ก  เยาวชนและคนในชุมชนได้รับประสบการณ์และมุมมองใหม่ๆจากภูมิปัญญา

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

กระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาด้านมโนราห์ วิธีการ -บรรยายให้ความรู้  โนราห์  คุณค่าและเอกลักษณ์นาฎศิลป์ทางภาคใต้

ฝึกทักษะการขับกลอนโนราหฺจากเรื่องราววิถีคนลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

ฝึกท่ารำในท่วงท่าต่างๆของโนราห์  12  ท่า

กิจกรรมที่ทำจริง

กระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาด้านโนราห์
วิธีการ
-บรรยายให้ความรู้มโนราห์  คุณค่าและเอกลักษณ์นาฎศิลป์ทางภาคใต้ -ฝึกท่ารำในท่วงท่าต่างๆของโนราห์  12  ท่า

 

20 20

9. ประชุมร่วมกับพี่เลี้ยงโครงการ

วันที่ 27 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อทำความเข้าใจในการรายงานหน้าเวปไซด์และการทำเล่มรายงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการมีความเข้าใจมากยิ่งขึ้นและสามารถนำมาปฏิบัติได้ถูกต้อง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ประชุมติดตามการดำเนินงานโครงการฯ โดยทีม สสส.สจรส.มอ. และพี่เลี้ยงโครงการ

กิจกรรมที่ทำจริง

เจอพี่เลี้ยงคือพี่อารีย์  สุรรณชาตรี  พูดคุยทำความเข้าใจในการรายงานหน้าเวปไซด์และรายละเอียดข้อมูลในแต่ละหัวข้อว่าทำอย่างไร

 

3 3

10. เด็ก เยาวชนฝึกรำมโนราห์ครั้งที่ 3

วันที่ 2 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญา  ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.นักเรียนมีความรู้  ทักษะด้านกลองยาว

2.เด็กเยาวชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์กับตนเองและชุมชน

3.เกิดความสามัคคีของคนในชุมชนและชุมชนที่มีความเอื้ออาทรแบ่งปัน

4.เด็ก  เยาวชนและคนในชุมชนได้รับประสบการณ์และมุมมองใหม่ๆจากภูมิปัญญา

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

กระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาด้านมโนราห์ วิธีการ

-บรรยายให้ความรู้  โนราห์  คุณค่าและเอกลักษณ์นาฎศิลป์ทางภาคใต้

-ฝึกทักษะการขับกลอนโนราหฺจากเรื่องราววิถีคนลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

-ฝึกท่ารำในท่วงท่าต่างๆของโนราห์  12  ท่า

กิจกรรมที่ทำจริง

ฝึกท่ารำในท่วงท่าต่างๆของโนราห์  12  ท่า

 

20 20

11. เด็ก เยาวชน ฝึกการแสดงกลองยาวครั้งที่3

วันที่ 2 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญา  ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.นักเรียนมีความรู้  ทักษะด้านกลองยาว

2.เด็กเยาวชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์กับตนเองและชุมชน

3.เกิดความสามัคคีของคนในชุมชนและชุมชนที่มีความเอื้ออาทรแบ่งปัน

4.เด็ก  เยาวชนและคนในชุมชนได้รับประสบการณ์และมุมมองใหม่ๆจากภูมิปัญญา

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

กระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาด้านกลองยาว

วิธีการ

-บรรยายให้ความประวัติความเป็นมาของกลองยาว

-ฝึกทักษะการตีกลองยาว

-บรรยายให้ความประวัติความเป็นมาของกลองยาว

กิจกรรมที่ทำจริง

1.เด็ก เยาวชนมาพร้อมกันที่โรงเรียนวัดไทรใหญ่จำนวน  30  คน

2.เด็ก เยาวชนพบกับวิทยากรเตรียมตัวฝึกซ้อม

3.เด็ก  เยาวชน  ฝึกตีกลองยาวและฝึกรำกลองยาวอย่างพร้อมเพรียงกัน

 

30 30

12. เด็ก เยาวชนฝึกการแสดงกลองยาวครั้งที่ 4

วันที่ 3 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญา  ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.นักเรียนมีความรู้  ทักษะด้านกลองยาว

2.เด็กเยาวชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์กับตนเองและชุมชน

3.เกิดความสามัคคีของคนในชุมชนและชุมชนที่มีความเอื้ออาทรแบ่งปัน

4.เด็ก  เยาวชนและคนในชุมชนได้รับประสบการณ์และมุมมองใหม่ๆจากภูมิปัญญา

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

กระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาด้านกลองยาว

วิธีการ

-บรรยายให้ความประวัติความเป็นมาของกลองยาว

-ฝึกทักษะการตีกลองยาว

-บรรยายให้ความประวัติความเป็นมาของกลองยาว

กิจกรรมที่ทำจริง

วิทยากรโดยนายวินัย  เคหันติโม  ได้มาทำการสอนตีกลองยาวในเวลา  13.00  น.  เด็กและเยาวชนมาลงทะเบียนพร้อมกันและได้พบปะพูดคุย  หลังจากนั้นได้ลงมือตีกลองยาว  และตีฉาบ  อีกทั้งฝึกการรำกลองยาวโดยมีนักเรียนผู้หญิงจำนวน  10  คน 

 

30 30

13. เด็ก เยาวชน ฝีกมโนราห์ครั้งที่ 4

วันที่ 3 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญา  ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.นักเรียนมีความรู้  ทักษะด้านรำมโนราห์

2.เด็กเยาวชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์กับตนเองและชุมชน

3.เกิดความสามัคคีของคนในชุมชนและชุมชนที่มีความเอื้ออาทรแบ่งปัน

4.เด็ก  เยาวชนและคนในชุมชนได้รับประสบการณ์และมุมมองใหม่ๆจากภูมิปัญญา

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

กระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาด้านมโนราห์ วิธีการ -บรรยายให้ความรู้  โนราห์  คุณค่าและเอกลักษณ์นาฎศิลป์ทางภาคใต้

ฝึกทักษะการขับกลอนโนราหฺจากเรื่องราววิถีคนลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

ฝึกท่ารำในท่วงท่าต่างๆของโนราห์  12  ท่า

กิจกรรมที่ทำจริง

ฝึกท่ารำในท่วงท่าต่างๆของโนราห์  12  ท่า

 

20 20

14. ประชุมติดตามและประเมินผลจากการเรียนรู้ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมชุมชน

วันที่ 8 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสรุปและติดตามความก้าวหน้าของแต่ละกิจกรรม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมประชุมได้ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมประชุมและให้ความร่วมมือที่จะดำเนินกิจกรรมบ้านต้นมะขามเทศน่าอยู่  สุขภาพดี  วิถีวัฒนธรรมชุมชน  และจะชักจูงบุตรหลานให้เข้ามาร่วมโครงการอีกได้เล็งเห็นว่าเป็นโครงการที่ดีเกิดประโยชน์กับคนในชุมชนทำให้ชุมชนมีความสามัคคี  มีความร่วมมือ  อีกทั้งเป็นกิจกรรมทีทำให้เด็กเยาวชนได้ห่างไกลยาเสพติด

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ติดตามและประเมินผลจากการเรียนรู้ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 10 เดือน เพื่อนำไปสู่การทำเอกสารชุดความรู้วัฒนธรรมชุมชนเพื่อการเผยแพร่การจัดการเรียน การสอนในระดับโรงเรียน และชุมชน

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ผู่เข้าร่วมประชุมพร้อมเพรียงกันณ  กลุ่มออมทรัพย์หมู่  4  บ้านไทรใหญ่

2.ผู้ใหญ่บ้านมานพ  คงสม  กล่าวเปิดประชุม

4.ผู้อำนวยการสุเทพ  เซ่งล่าย  ชี้แจงการประชุมการดำเนินงานที่ผ่านและชี้แจงรายเอียดการใช้งบประมาณในการทำกิจกรรม

5.ผู้เข้าร่วมประชุมรับฟังและเสนอแนะแนวทางในการดำเนินกิจกรรมในขั้นต่อไๆป

6.ปิดประชุมเวลา  16.30  น.

 

20 20

15. เด็ก เยาวชน ฝีกการแสดงกลองยาวครั้งที่ 5

วันที่ 9 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญา  ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.นักเรียนมีความรู้  ทักษะด้านกลองยาว

2.เด็กเยาวชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์กับตนเองและชุมชน

3.เกิดความสามัคคีของคนในชุมชนและชุมชนที่มีความเอื้ออาทรแบ่งปัน

4.เด็ก  เยาวชนและคนในชุมชนได้รับประสบการณ์และมุมมองใหม่ๆจากภูมิปัญญา

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

กระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาด้านกลองยาว

วิธีการ

-ฝึกทักษะการตีกลองยาว

-ฝึกทักษะการรำกลองยาว

กิจกรรมที่ทำจริง

กระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาด้านกลองยาว

วิธีการ

-ฝึกทักษะการตีกลองยาว

-ฝึกทักษะการรำกลองยาว

 

30 30

16. เด็ก เยาวชน ฝีกรำมโนราห์ครั้งที่ 5

วันที่ 9 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญา  ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.นักเรียนมีความรู้  ทักษะด้านรำมโนราห์

2.เด็กเยาวชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์กับตนเองและชุมชน

3.เกิดความสามัคคีของคนในชุมชนและชุมชนที่มีความเอื้ออาทรแบ่งปัน

4.เด็ก  เยาวชนและคนในชุมชนได้รับประสบการณ์และมุมมองใหม่ๆจากภูมิปัญญา

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

กระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาด้านมโนราห์ วิธีการ -บรรยายให้ความรู้  โนราห์  คุณค่าและเอกลักษณ์นาฎศิลป์ทางภาคใต้

ฝึกท่ารำในท่วงท่าต่างๆของโนราห์  12  ท่า

กิจกรรมที่ทำจริง

กระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาด้านมโนราห์ วิธีการ -บรรยายให้ความรู้  โนราห์  คุณค่าและเอกลักษณ์นาฎศิลป์ทางภาคใต้

ฝึกท่ารำในท่วงท่าต่างๆของโนราห์  12  ท่า

 

20 20

17. ประชุมกรรมการเตรียมแผนงานกิจกรรมยุวฑูตน้อยสำรวจเส้นทางอาหาร

วันที่ 14 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินงานยุวฑูตน้อยสำรวจเส้นทางอาหาร  ห่วงโซ่การผลิตของท้องถิ่น

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะกรรมการรับทราบถึงวิธีและขั้นตอนการดำเนินงานและแบ่งงานกันว่าใครทำอะไร  โดยแบ่ง อสม.  ร่วมกับเด็กและเยาวชนออกเก็บข้อมูลในวันที่  27-29  ตุลาคม  2557  โดยนัดลงทะเบียนพร้อมกัยที่ออมทรัพย์บ้านไทรใหญ่หมู่ที่  4

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

วิเคราะห์ข้อมูลการสำรวจเส้นทางอาหาร ห่วงโซ่การผลิตของท้องถิ่นและสรุปเป็นเอกสาร

กิจกรรมที่ทำจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 12คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

-คณะกรรมการจำนวน  12คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เวลา 13.00 น. คณะกรรมการโครงการ ที่ประกอบด้วยผู้ใหญ่บ้าน ,อสม,ปราชณ์ชุมชน ,รพสต  ครู ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลอย่างดี

 

12 12

18. เด็ก เยาวชนฝึกการแสดงกลองยาวครั้งที่6-7

วันที่ 15 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญา  ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.นักเรียนมีความรู้  ทักษะด้านกลองยาว

2.เด็กเยาวชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์กับตนเองและชุมชน

3.เกิดความสามัคคีของคนในชุมชนและชุมชนที่มีความเอื้ออาทรแบ่งปัน

4.เด็ก  เยาวชนและคนในชุมชนได้รับประสบการณ์และมุมมองใหม่ๆจากภูมิปัญญา

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

กระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาด้านกลองยาว

วิธีการ

-ฝึกทักษะการตีกลองยาว

-ฝึกทักษะการรำกลองยาว

กิจกรรมที่ทำจริง

กระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาด้านกลองยาว

วิธีการ

-ฝึกทักษะการตีกลองยาว

-ฝึกทักษะการรำกลองยาว

 

30 30

19. ร่วมแสดงกลองยาววันทอดกฐินวัดไทรใหญ่

วันที่ 19 ตุลาคม 2557 เวลา 08:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อให้เด็ก  เยาวชน  ได้ร่วมแสดงกลองยาวในวันทอดกฐินวัดไทรใหญ่

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-เป็นการแสดงกลองยาวของกลุ่มเด็ก เยาวชน ให้คนในชุมชนได้ร่วมชื่นชมยินดีกับบุตรหลานของตน ที่สามารถถ่ายทอดประเพณัวัฒนธรรมท้องถิ่นในชุมชน อีกทั้งเพื่อเป็นทดสอบความรู้ของกลุ่มเด็ก ที่ได้มีการร่ำเรียนเกี่ยวกับกลองยาวที่ถ่ายทอดโดยปราชญ์ชุมชนผ่านกิจกรรมโครงการ

-คนในชุมชนตื่นตา ตื่นใจ กับการแสดงของเด็กๆ เยาวชนในท้องถิ่น และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมและเกิดความสามัคคีในหมู่คณะ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

กระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาด้านกลองยาว

วิธีการ

-ฝึกทักษะการตีกลองยาว

-ฝึกทักษะการรำกลองยาว

กิจกรรมที่ทำจริง

ในวันที่  19  ตุลาคม  2557  ณ  วัดไทรใหญ่ได้มีการทอดกฐินขึ้น  และในวันนั้นทางทีมงานปราชญ์ชุมชน  และผู้ปกครอง  ได้นำเด็กและเยาวชนไปร่วมการแสดงกลองยาว  โดยผู้ปกครองช่วยกันแต่งหน้าแต่งชุดการแสดงให้กับเด็ก เยาวชน  กันอย่างสามัคคี  และได้ออกขบวนแห่กฐินไปวัดเวลา  9.00 น ซึ่งในวันนั้นได้รับความสนใจผู้ที่ไปร่วมทำบุญ  และคนที่ร่วมไปให้กำลังใจอย่างล้นหลาม  สร้างความสนุกสนานครื้นเครงเป็นอย่างมาก 

 

50 50

20. คืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 22 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

คืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

คืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

กิจกรรมที่ทำจริง

คืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

 

2 2

21. จัดกระบวนการเรียนรู้ พัฒนาเยาวชนในการจัดทำแบบสอบถามในการเก็บข้อมูลเส้นทางอาหาร ห่วงโซ่การผลิตของท้องถิ่น

วันที่ 22 ตุลาคม 2557 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อให้เด็ก  เยาวชนร่วมกันสำรวจแหล่งอาหารของท้องถิ่นมีอะไรบ้าง 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.เด็ก  เยาวชน  เกิดการเรียนรู้วิถีชุมชน คือ การทำนา,การทำสวนยางพารา,และการปลูกผัก เช่น ผักสวนครัวทั้งที่ใช้ในด้านอาหารและสมุนไพร เช่น ตะใคร้ มะเขือพวง พริก ขิง ข่า

2.คนในชุมชนได้รับประสบการณ์และมุมมองใหม่ๆจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งภูมิปัญญาที่พบในพื้นที่ชุมชน คือ ด้านการถนอมอาหารปลาส้ม ,น้ำพริกชนิดต่างๆ

3.เด็ก  เยาวชน  มีจิตอาสามีความสามัคคีเป็นชุมชนที่มีความเอื้ออาทร

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ยุวฑูตน้อยสำรวจเส้นทางอาหาร ห่วงโซ่การผลิตของท้องถิ่น เช่น เกษตรอินทรีย์ เกษตรเคมี เพื่อให้เห็นความแตกต่าง และความความปลอดภัยของอาหารในท้องถิ่น

1.พัฒนาศักยภาพเด็ก เยาวชนในการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม

2.จัดทำเครื่องมือแบบสอบถาม โดยร่วมออกแบบ มีอสม.ครู,อบต.และปราญช์ชุมชน

3.ทดลองใช้เครื่องมือแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่าง 1 กลุ่ม

4.ลงพื้นที่เก็บข้อมูล

5.วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปจัดทำเป็นเอกสาร

กิจกรรมที่ทำจริง

ในวันที่  22  ตุลาคม  2557  เวลา 8.30  น  ทุกคนมาพร้อมกัน  ณ  ห้องประชุมกลุ่มออมทรัพย์หมู่ที่  4  บ้านไทรใหญ่ โดยมี  เด็ก  เยาวชน  ตัวแทนครู  อสม  รพสต  ผู้ใหญ่บ้านและปราชญ์ชุมชน  ได้เข้าร่วมลงทะเบียน  และหัวหน้าโครงการทำการชี้แจงวัตถุประสงค์  ทุกคนรับทราบและดำเนินกิจกรรมไปในทิศทางเดียวกัน  และได้ทำแบบสอบถามโดย  คุณสมทรงเป็นผู้ออกแบบสอบถาม  ก่อนจะลงพื้นที่ในเวลา  10.00  น. โดยแบ่งกลุ่มอสมกับเด็กและเยาวชนออกเป็น10  ทีมและลงพื้นที่กลุ่มตัวอย่างในหมู่ที่  4  จำนวน  120  ครัวเรือน  ในเวลา  12.30  น. ทุกกล่มได้กลับมาพร้อมกับรับประทานอาหารเที่ยงหลังจากนั้นได้ร่วมกันสรุปและวิเคราะห์ข้อมูลว่าคนชุมชนบ้านต้นมะขามเทศ  มีแหล่งอาหารจากที่ใดบ้าง ผลิตอาหารในชุมชน

 

45 24

22. ประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดทำรายงานปิดงวด1 โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ ภาคใต้ปี 2557 รุ่น1(ภาคใต้ตอนล่าง 7 จังหวัด ได้แก่ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา พัทลุง สตูล และตรัง

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00-16.30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อจัดทำรายงานปิดงวด 1 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีความเข้าใจในการจัดทำรายงาน แต่เนื่องจากสัญญาณอินเตอร์เน็ตมีการขัดข้อง ทำให้ไม่สาารถดำเนินให้แล้วเสร็จในวันนี้ แต่จะมีการดำเนินการให้เสร็จและนำส่งรายงานไม่เกินวันศุกร์ที่ 7 พ.ย.57 ให้กับ สจรส.มอ.

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดทำรายงานปิดงวด1  โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่  ภาคใต้ปี  2557  รุ่น1(ภาคใต้ตอนล่าง  7  จังหวัด  ได้แก่ปัตตานี  ยะลา  นราธิวาส  สงขลา  พัทลุง  สตูล  และตรัง

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดทำรายงานปิดงวด 1 โดยมีเอกสารนำส่ง คือ ส.1,ส.2,ง.1และสำเนาสมุดเงินฝากบัญชีธนาคาร พร้อมทั้งตรวจสอบเอกสารบิลค่าใช้จ่ายในกิจกรรมโดยเจ้าหน้าที่ สจรส.มอ.และพี่เลี้ยง

 

2 2

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 46 22                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 198,400.00 84,205.00                  
คุณภาพกิจกรรม 88 66                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. เด็ก เยาวชน ฝึกการแสดงกลองยาว ครั้งที่8-9 ( 13 พ.ย. 2557 )
  2. เด็ก เยาวชนฝึกการแสดงกลองยาว ครั้งที่ 10 ( 24 พ.ย. 2557 - 25 พ.ย. 2557 )
  3. เยาวชนร่วมแสดงกลองยาวในวันพ่อแห่งชาติ ( 3 ธ.ค. 2557 )
  4. เรียนรู้ภูมิปัญญา ในด้านอาหารท้องถิ่น ครั้งที่ 1 "การทำน้ำสมุนไพร" ( 5 ก.พ. 2558 )
  5. เด็ก เยาวชน ฝึกการทำอาหารท้องถิ่น ครั้งที่ 2 "น้ำพริกปลาทู" ( 6 ก.พ. 2558 )
  6. เด็ก เยาวชน เรียนรู้การทำอาหารท้องถิ่น ครั้งที่ 3 "ทำขนมวุ้นแฟนตาซี" ( 12 ก.พ. 2558 )
  7. เด็ก เยาวชน เรียนรู้การทำอาหารท้องถิ่น การทำน้ำพริกปลากรอบครั้งที่4 ( 17 ก.พ. 2558 )
  8. เด็ก เยาวชน เรียนรู้การทำอาหารท้องถิ่น การทำผัดมะเขือครั้งที่5 ( 18 ก.พ. 2558 )
  9. "พี่สอนน้อง " โดยจัดเป็นกลุ่มเรียนรู้ในโรงเรียนวัดไทรใหญ่ เกี่ยวกับภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นด้านมโนราห์ ( 22 ก.พ. 2558 )
  10. เด็ก เยาวชน ฝึกรำมโนราห์ ครั้งที่ 8-10 ( 23 ก.พ. 2558 )
  11. เด็กและเยาวชนเรียนรู้การทำอาหารท้องถิ่นครั้งที่6 "ยำสมุนไพร" ( 25 ก.พ. 2558 )
  12. "พี่สอนน้อง " โดยจัดเป็นกลุ่มเรียนรู้ในโรงเรียนวัดไทรใหญ่ เกี่ยวกับภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นด้านกลองยาว ( 26 ก.พ. 2558 )
  13. เด็ก เยาวชน เรียนรู้การทำอาหารท้องถิ่น ครั้งที่ 7 การทำหมี่กรอบ" ( 27 ก.พ. 2558 )
  14. เด็ก เยาวชน เรียนรู้ การทำอาหารท้องถิ่น ครั้งที่ 8 การทำขนมเทียน" ( 28 ก.พ. 2558 )
  15. "พี่สอนน้อง " โดยจัดเป็นกลุ่มเรียนรู้ในโรงเรียนวัดไทรใหญ่ เกี่ยวกับภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นด้านอาหารท้องถิ่น ( 1 มี.ค. 2558 )
  16. เด็ก เยาวชน เรียนรู้การทำอาหารท้องถิ่น การทำน้ำพริกกะปิกับข้าวหมูแดงครั้งที่9-10 ( 2 มี.ค. 2558 )
  17. ประชุมติดตามและประเมินผลจากการเรียนรู้ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมชุมชน ( 11 มี.ค. 2558 )
  18. อบรมเชิงปฎิบัติการ การทำหนังสั้นเกี่ยวกับวัฒนธรรมชุมชน ( 29 เม.ย. 2558 - 30 เม.ย. 2558 )
  19. ร่วมเสวนาในหัวข้อ "ภูมิปัญญาอาหารชุมชน เส้นทางความมั่นคงทางอาหาร ระะบบการผลิตที่เกื้อหนุน รักษาความสมดุลของระบบนิเวศวิทยา" ( 1 พ.ค. 2558 )

(................................)
นายสุเทพ เซ่งล่าย
ผู้รับผิดชอบโครงการ