แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ในครัวเรือนโดยใช้แนวคิดจัดการวิถีชีวิตพอเพียงสร้างตลาดนัดเคลื่อนที่
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. เกิดกลุ่มตลาดนัดเคลื่อนที่ 1 กลุ่ม 2. ลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ในครัวเรือนได้ ร้อยละ 20 จากการทำน้ำยาอเนกประสงค์ น้ำยาซักผ้า สบู่ ยาสระผม ครีมนวดผม น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น ตะกร้ามะพร้าว (ผลิตภัณฑ์ตลาดนัดเคลื่อนที่) 3. ประชาชนในหมู่บ้านเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน ร้อยละ 80 4. ประชาชนมีความเครียดลดลงจากเดิมที่เครียดจากหนี้สิน ร้อยละ 20 เชิงคุณภาพ ประชาชนได้เรียนรู้การทำผลิตภัณฑ์ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ นำผลิตภัณฑ์มารวมเป็นตะกร้า นำไปจำหน่ายในตลาด เป็นตลาดนัดเคลื่อนที่ (เดินหิ้วตะกร้ารวมผลิตภัณฑ์ไปทั่วตลาดและตามบ้านเรือน) ในขณะเดียวกันประชาชนทำบัญชีครัวเรือนเพื่อช่วยลดรายจ่ายที่ไม่จำเป็น เพิ่มการออม ลดหนี้ได้ มีความเครียดลดลง มีความสุขเพิ่มขึ้น

 

 

เชิงปริมาณ

  1. จัดตั้งกลุ่มจัดตั้งกลุ่มตลาดนัดเคลื่อนที่ ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันนำสินค้าไปจำหน่ายที่ตลาดนัด168 ตรงข้ามการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ทุกเย็นวันอังคาร  มีคณะกรรมการบริหารจัดการกลุ่ม ประเมินผลการลดรายจ่ายจากการทำบัญชีครัวเรือน
  2. ลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ในครัวเรือนได้ ร้อยละ 20 มีผลิตภัณฑ์ลดรายจ่ายของหมู่บ้านเกิดจากความภูมิใจที่ทุกคนได้มีส่วนร่วมในการคิดและช่วยกันทำ ได้แก่ ยาสระผม สบู่ น้ำยาอเนกประสงค์  น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น  ฝึกปฏิบัติกากรทำตะกร้าใส่ผลิตภัณฑ์ และตะกร้าใส่ของ ซึ่งเกิดจากการเรียนรู้ มีวิธีคิดเปรียบเทียบก่อนหลัง นำไปใช้แล้วมาประเมินผล พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ดียิ่งขึ้น
  3. ประชาชนในหมู่บ้านเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน ร้อยละ 80
  4. ประชาชนมีความเครียดลดลงจากเดิมที่เครียดจากหนี้สิน ร้อยละ 20

เชิงคุณภาพ - ประชาชนได้เรียนรู้การทำผลิตภัณฑ์ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ นำผลิตภัณฑ์มารวมเป็นตะกร้า นำไปจำหน่ายในตลาด เป็นตลาดนัดเคลื่อนที่ (เดินหิ้วตะกร้ารวมผลิตภัณฑ์ไปทั่วตลาดและตามบ้านเรือน) ในขณะเดียวกันประชาชนทำบัญชีครัวเรือนเพื่อช่วยลดรายจ่ายที่ไม่จำเป็น เพิ่มการออม ลดหนี้ได้ มีความเครียดลดลง มีความสุขเพิ่มขึ้น

2 เพื่อลดหนี้สินให้กับครอบครัว ด้วยการทำเกษตรผสมผสาน ปรับปรุงพื้นที่ว่างเปล่าบริเวณข้างบ้าน คันบ่อปลา ให้เป็นพื้นที่ใช้ประโยชน์ สร้างรายได้
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1.คนว่างงาน และผู้สูงอายุ 32 ครัวเรือน รวมกลุ่มทำเกษตรผสมผสาน 2. พื้นที่ว่างเปล่าได้รับการพัฒนาเป็นพื้นที่เกษตรผสมผสาน สร้างรายได้ให้กับครอบครัว 32 ครัวเรือน เชิงคุณภาพ พื้นที่ว่างเปล่าบริเวณข้างบ้าน คันบ่อปลา ปรับเปลี่ยนเป็นการทำเกษตรผสมผสาน สร้างรายได้ ลดรายจ่าย แก้ปัญหาคนว่างงาน และหนี้สินให้ครอบครัวได้

 

 

เชิงปริมาณ

  1. คนว่างงาน และผู้สูงอายุ 32 ครัวเรือน รวมกลุ่มทำเกษตรผสมผสาน ได้ปรับวิธีคิด มีการปฏิบัติการร่วมกัน ใช้ทุนในชุมชน เกิดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ลดรายจ่ายได้

  2. ลงแขกปรับพื้นที่ทำเกษตรผมผสาน ปลูกผักปลอดสารพิษ เลี้ยงสัตว์ เพื่อเตรียมวัตถุดิบได้นำมาใช้ทำผลิตภัณฑ์ของชุมชน และจำหน่ายในตลาดนัดเคลื่อนที่ได้ต่อเนื่อง พื้นที่ว่างเปล่าได้รับการพัฒนาเป็นพื้นที่เกษตรผสมผสาน สร้างรายได้ให้กับครอบครัว 32 ครัวเรือน

เชิงคุณภาพ

พื้นที่ว่างเปล่าบริเวณข้างบ้าน คันบ่อปลา ปรับเปลี่ยนเป็นการทำเกษตรผสมผสาน สร้างรายได้ ลดรายจ่าย แก้ปัญหาคนว่างงาน และหนี้สินให้ครอบครัวได้

3 เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลการดำเนินงานโครงการ
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนครั้งที่เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส หรือ สจรส.มอ. 2. ส่งรายงานงวดได้ทันเวลาและถูกต้อง

 

 

  1. เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส หรือ สจรส.มอ. และพี่เลี้ยง ทุกครั้งที่มาจัดกิจกรรม รวมจำนวน 5 ครั้ง
  2. โครงการจัดทำและส่งรายงานงวดได้ทันเวลา เอกสารการเงินมีความถูกต้อง ครบถ้วน