directions_run

บ้านนาปริก สุขภาวะดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน ตามแนวทางวิถีพอเพียง

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูล และกลไกของชุมชนในการบริหารเพื่อชุมชนน่าอยู่และการพึ่งตนเองยั่งยืน
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. มีข้อมูลชุมชน จำนวน 1 ชุด 2. ร้อยละ 60 ของประชากรมีส่วนร่วมในในการแสดงความคิดเห็นเพื่อจัดทำแผนชุมชน 3. จำนวนแกนนำของหมู่บ้านร้อยละ 70 เข้าร่วมประชุมจัดทำแผน 4. เกิดแผนชุมชน จำนวน 1 แผน เชิงคุณภาพ มีชุดข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ และประชาชนในชุมชนเกิดความตระหนัก มีจิตอาสาร่วมกันสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง รับทราบรายละเอียดกิจกรรมที่เกิดขึ้น ร่วมกันแสดงความคิดเห็นและวางแผนการดำเนินกิจกรรม

1.มีข้อมูลที่เป็นฐานข้อมูลชุมชน จำนวน 1 ชุด 2.ประชาขนในชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนทุกขั้นตอนและร่วมเทีคืนข้อมูลปัญหาชุมชนเพื่อร่วมแก้ไขปัญหาร่วมกัน 3.มีประชาชนในชุมชนแกนนำชุมและภาคีเครือข่ายเข้าร่วมจัดทำแผน ร้อยละ 80

2 เพื่อส่งเสริมชุมชนให้มีการวางแผนการแก้ไขปัญหา (ด้านพฤติกรรมสุขภาพ การบริโภค การออกกำลังกาย (ด้านเศรษฐกิจ) การเพิ่มรายได้ และมีวินัยในการออม
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. มีการนำแผนชุมชนมาแกไขปัญหา ในการส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจชุมชน 2. ร้อยละ 60 คนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจการทำระบบบัญชี-รายจ่าย ของครัวเรือน 3. เกิดครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 50 หลัง ในการทำระบบบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง เชิงคุณภาพ ประชาชนมีสุขภาวะ โรคเรื้อรั้ง ด้านบุคคลสภาพแวดล้อม กลไกในชุมชน ที่มีการบูรณาการ ความพอเพียง ทำให้ประชาชนเล็งเห็นประโยชน์การวางแผนการดูแลสุขภาพ และการใช้เงินและมีความกระตือรือร้นในการออมมากขึ้น เพื่อสุขภาวะที่ดียั่งยืน

1.มีการนำแผนที่ได้จากชุมชนมาร่วมแก้ปัญหาในด้านต่างๆเช่น สุขภาพ รายได้ เศรษฐกิจ และความเป็นอยู่คนในชุม 2.มีการทำบัญชีครัวเรือนรายรับรายจ่ายอย่างต่อเนื่องเพื่อลดรายจ่ายที่ไม่จำเป็น

3 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนของชุมชนในการร่วมกันแก้ไขปัญหา 3.1 ด้านพฤติกรรมสุขภาพ การบริโภค การออกกำลังกาย 3.2 ด้านเศรษฐกิจ สร้างงานภายในชุมชน ส่งเสริมความรู้ ฝึกอบรม การทำบัญชีครัวเรือน เศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. อัตราการบริโภคผักและผลไม้อย่างเพียงพอตามข้อแนะนำ (400 กรัมต่อวัน) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 2. มีตำรับอาหารสมุนไพรพื้นบ้าน 3. จำนวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนเรื่องการร่วมกลุ่ม จำนวน 50 ครัวเรือน 4. คนในชุมชนร่วมมือกันสร้างกลุ่มเพาะเห็ดและเข้าร่วมดำเนินในกิจกรรมต่างๆ จำนวน 50 ครัวเรือน 5. รายได้ต่อครัวเรือนของคนในชุมชนเพิ่มขึ้นจากการเก็บข้อมูลบัญชีครัวเรือน เชิงคุณภาพ ประชาชนในชุมชนมีรูปแบบการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องวิถีชุมชน มีองค์ความรู้สู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ยั่งยืนและประชาชนในชุมชนสามารถจัดตั้งกลุ่มได้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

1.ชุมชนมีการปลูกผักไว้กินเอง ปลอดสารพิษ เพื่อสุขภาพและสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน 2.คนในชุมชนมีการรวมกลุ่มในการส่งเสริมและสร้างอาชีพให้กับตัวเอง โดยการรวมกลุ่มเพาะเห็ดนางฟ้ามีรายได้เข้าสู่ชุมชนและครัวเรือน

4 ติดตามสรุป สนับสนุน จาก สสส. สจรส. และพี่เลี้ยง
ตัวชี้วัด : รับการสนับสนุนติดตาม จาก สสส. สจรส. และพี่เลี้ยง

ขอขอบคุณทางสสส สจรส ที่สนับสนุนทุนเพื่อประโยชน์ต่อชุมชน ส่วนพี่เลี้ยงโครงการจะมีการติดตามให้คำแนะนำปรึกษา และให้กำลังคณะทำงานอยู่เสมอ เมื่อชุมชนต้องการคำแนะนำจะได้รับการตอบรับที่ดีเสมอมา

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูล และกลไกของชุมชนในการบริหารเพื่อชุมชนน่าอยู่และการพึ่งตนเองยั่งยืน (2) เพื่อส่งเสริมชุมชนให้มีการวางแผนการแก้ไขปัญหา (ด้านพฤติกรรมสุขภาพ การบริโภค การออกกำลังกาย (ด้านเศรษฐกิจ) การเพิ่มรายได้ และมีวินัยในการออม (3) 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนของชุมชนในการร่วมกันแก้ไขปัญหา

3.1 ด้านพฤติกรรมสุขภาพ การบริโภค การออกกำลังกาย

3.2 ด้านเศรษฐกิจ สร้างงานภายในชุมชน ส่งเสริมความรู้ ฝึกอบรม การทำบัญชีครัวเรือน เศรษฐกิจพอเพียง (4) ติดตามสรุป สนับสนุน จาก สสส. สจรส. และพี่เลี้ยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh