stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ฟื้นชีวิตเล คืนวิถีชีวิตชุมชน บ้านหัวลำภู
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-02559
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 ตุลาคม 2557 - 15 พฤศจิกายน 2558
งบประมาณ 213,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายถาวร เถี้ยมไล่
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวอารีย์ สุวรรณชาตรี
พื้นที่ดำเนินการ บ้านหัวลำภู หมู่ที่ 1 ตำบลป่าขาด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.2560131068178,100.47964811325place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ต.ค. 2557 15 มี.ค. 2558 15 ต.ค. 2557 19 มี.ค. 2558 85,200.00
2 16 มี.ค. 2558 15 ก.ย. 2558 20 มี.ค. 2558 8 พ.ย. 2558 106,500.00
3 16 ก.ย. 2558 15 พ.ย. 2558 21,300.00
รวมงบประมาณ 213,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้มีสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง

1.1.เกิดสภาผู้นำชุมชนที่มาจากองค์กรและกลุ่มต่างๆในชุมชน จำนวน 19 คน เป็นกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการ และสร้างการเรียนรู้ กระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

1.2.มีการติดตามและประเมินผลโครงการและมีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ1ครั้ง

2 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและกระบวนการเรียนรู้ในการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งโดยชุมชน

2.1 ร้อยละ 60 คนในชุมชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญ ในทรัพยากรประมง เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่ง

2.2 ร้อยละ 25 ของจำนวนครอบครัวชาวประมงบ้านหัวลำภู มีการสืบสานอาชีพประมงต่อจากบรรพบุรุษ

2.3 มีกติกา ข้อตกลง และแผนงานในการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งฯ 1 แผน

2.4 มีการฟื้นฟูเขตอนุรักษ์ทางทะเลและชายฝั่ง โดยการปลูกป่าริมเล ไม่น้อยกว่า 3 ชนิด ,ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ ปีละ 2 ครั้ง,การทิ้งอีเอ็มบอลในพื้นที่ทะเลสาบสงขลา ไม่น้อยกว่า 10,000 ลูกและการทำซั้งบ้านปลา จำนวน 30 ลูก
( ซั้งบ้านปลา คือ ปะการังเทียม ที่นำเอาวัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น เช่น ไม้ใฝ่,ทางมะพร้าว )

3 เพื่อให้เกิดมาตรการ การเฝ้าระวัง ลาดตะเวน และการบริหารแนวเขตอนุรักษ์อย่างเป็นรุปธรรมและมีความยั่งยืน

3.1 เกิดกลุ่มอาสาสมัครเฝ้าระวังทางทะเลและชายฝั่ง จำนวน 15 คน

3.2 หน่วยงานที่มีความพร้อม สามารถออกตรวจจับและปราบปราม รวมกับชุมชน อย่างน้อยอาทิตย์ละ 1 ครั้ง การวัดและหน่วยการวัดติดตามจากตารางการทำงานของชุดเฝ้าระวังเขตอนุรักษ์ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผลทางคดี พร้อมกับลงพื้นที่สำรวจ เดือนละครั้ง

3.3 มีป้าย กติกาข้อตกลงเขตอนุรักษ์ ในการทำประมงในแนวเขตอนุรักษ์ จำนวน 3 ป้าย

4 ประชุมติดตามการดำเนินโครงการโดย สสส.สจรส.

4.1. การเข้าร่วมประชุมติดตามการดำเนินงานจากทีม สสส.,สจรส.มอ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75

4.2. การจัดทำรายงานโครงการ (ส.1 ,ส.2 ,ง.1 ,ง.2 ,ส.3)

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2557 18:36 น.