directions_run

อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยสมุนไพรพื้้นบ้าน : บ้านคลองทราย

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยสมุนไพรพื้้นบ้าน : บ้านคลองทราย ”

หมู่ที่ 1 ตำบลคลองทราย อำเภอ นาทวี

หัวหน้าโครงการ
นางสาว วาสนา สุขมี

ชื่อโครงการ อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยสมุนไพรพื้้นบ้าน : บ้านคลองทราย

ที่อยู่ หมู่ที่ 1 ตำบลคลองทราย อำเภอ นาทวี จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 57-02573 เลขที่ข้อตกลง 58-00-0041

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 ตุลาคม 2557 ถึง 15 พฤศจิกายน 2558


กิตติกรรมประกาศ

"อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยสมุนไพรพื้้นบ้าน : บ้านคลองทราย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1 ตำบลคลองทราย อำเภอ นาทวี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยสมุนไพรพื้้นบ้าน : บ้านคลองทราย



บทคัดย่อ

โครงการ " อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยสมุนไพรพื้้นบ้าน : บ้านคลองทราย " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1 ตำบลคลองทราย อำเภอ นาทวี รหัสโครงการ 57-02573 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 ตุลาคม 2557 - 15 พฤศจิกายน 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 213,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 140 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาผู้นำองค์กรและกลุ่มต่างๆในชุมชน ในรูปแบบสภาผู้นำ ในการส่งเสริมและขับเคลื่อนสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนอย่างมีส่วนร่วม
  2. 2.เพื่อสำรวจและรวบรวมพืชสมุนไพรในท้องถิ่น เช่น พืชสมุนไพรที่เป็นอาหาร พืชสมุนไพรที่เป็นยาใช้ในการรักษาและบำบัดโรค
  3. 3.เพื่อให้คนในชุมชนได้ช่วยกันพื้นฟู สืบทอดมรดกภูมิปัญญาด้านสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ ร่วมอนุรักษ์สมุนไพรหายากในท้องถิ่น
  4. การสนับสนุนติดตามโครงการโดยทีม สสส.,สจรส.มอ.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมปฐมนิเทศโครงการชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ 2557 รอบ 2

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00-21.00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -เรียนรู้การใช้เว้ปไซต์ คนใต้สร้างสุข จากวิทยากรที่ทางทีม สจรส.มอ ได้ให้คำแนะนำซึ่งมีรายละเอียดที่ค่อนข้างมาก ซึ่งต้องใช้เวลาในการทำความเข้าใจ

    -เรียนรู้การดำเนินกิจกรรมโครงการจากเจ้าหน้าที่ สสส.และอาจารย์พงษ์เทพ ผู้อำนวยการสถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้

    -ทางพี่เลี้ยงได้ให้ฝึกการลงข้อมูลในเว้ปไซต์ คนใต้สร้างสุข เช่น เมนูแผนภาพ,เมนูรายละเอียด ,การใส่ปฎิทินแผนการทำงาน และการบันทึกรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -สามารถลงข้อมูลในเว้ปไซต์ได้ โดยได้ทำเมนูแผนภาพและการใส่ปฎิทินแผนงานโครงการ

    -มีความเข้าใจในการดำเนินงานโครงการ

    -ได้เพื่อน ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และรู้จักชุมชนอื่นๆ ที่เข้าร่วมโครงการท้องถิ่นน่าอยู่

     

    2 2

    2. ประชุมร่วมกับพี่เลี้ยงในการบันทึกข้อมูลลงในเวบไซต์คนใต้สร้างสุข

    วันที่ 9 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -เรียนรู้เพิ่มเติมการลงบันทึกข้อมูลในเว้ปไซต์ คนใต้สร้างสุข เช่น การลงปฎิทินการทำงาน,การแก้ไขปฎิทิน

    -กำหนดแผนงานให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ของชุมชน และแผนงานตามเอกสารข้อตกลง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีความเข้าใจเพิ่มมากขึ้นในการบันทึกข้อมูลในเว้ปไซต์ คนใต้สร้างสุข

     

    2 2

    3. ประชุมจัดตั้งสภาผู้นำ จำนวน 20 คน

    วันที่ 15 มกราคม 2558 เวลา 13:30-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้ประชุมจัดตั้งสภาผู้นำ จำนวน 20 คน โดยมีตัวแทนจากชุมชน เช่น ครู ,เจ้าหน้าที่ รพ.สต.,อสม.ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน,อบต. และประชาชนในพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้สภาผู้นำ จากตัวแทนคนในชุมชน ได้แก่ ครู, รพ.สต., อสม.,ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อบต. และประชาชน จำนวน 20 คน ประกอบด้วย 1.นายบุญศิริ จันทร 2.นายจิต นิลภ้กดี 3.นายเลี่ยน อ่อนทอง 4.นายธีระพล บุญทอง 5.นางสาววาสนา สุขมี 6.นางนฤมล บุญทอง 7.นางวิภา ดำแก้ว 8.นางอนงค์ อ่อนทอง 9.นางละออง  สีแก้ว 10.นางสาวดวงสุดา อินทร์ช่วย 11.นางอาภร เพชรสุข 12.นางณัฐธ้นยา พุดช่วย 13.นางแอบ ทองดำ 14.นางพิมพา ละม้าย 15.นางบังอร ณะไชย 16.นางรัตนา สังข์ทอง 17.นางสาวนัทชญา ตั่นหุ้ย 18.นางประไพย สุวรรณมณี 19.นางจีราวัลย์ ประช่เรืองฤทธิ์ 20.นางนพรัตน์ สมแหละ

     

    50 64

    4. จัดทำป้ายชื่อโครงการและป้ายเขตปลอดบุหรี

    วันที่ 17 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่ จำนวน 1 ป้าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีป้ายเขตปลอดบุหรี่  เพื่อใช้รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ในการลดการสูบบุหรี่ในพื้นที่ดำเนินกิจกรรม

     

    2 2

    5. สภาผู้นำประชุมประจำเดือน ครั้งที่1

    วันที่ 19 มกราคม 2558 เวลา 13:30-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมสภาผู้นำ ในการเตรียมแผนงานกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้แผนงานในการจัดประชุมชี้แจงโครงการ ในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2558  ซึ่งตรงกับหมุู่บ้านมีการทำประชาคมแผนหมู่บ้าน

     

    20 20

    6. ประชุมชี้แจงรายละเอียดของโครงการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยสมุนไพรพื้นบ้านให้คนในชุมชนได้รับรู้และเข้าใจความเป็นมาของการดำเนินโครงการ

    วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 13:00-16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -การประชุมชี้แจงโครงการ ร่วมกับการประชาคมแผนงาน อบต.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ผู้เข้าร่วมมีความเข้าใจในการดำเนินงานโครงการ ครู เด็กๆเยาวชน ร่วมกันแสดงความคิดเห็นสนใจการจัดกิจกรรมและให้ความร่วมมมือในการกิจกรรมในอนาคต
    - นอกจากนี้ได้พูดคุยแผนในชุมชนร่วมกันทำประชาคม ได้เสนอแผนซ่อมแซมถนนในชุมชนและการขุดลอกคลอง ตลอดจนการซ่อมแซมศาลาเอนกประสงค์ การนำปรัญญา ศก.พอเพียง มาใช้ในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำง จากราคายางตกต่ำ และการรวมกลุ่มกันทำอาชีพเสริม

     

    140 113

    7. สภาผู้นำประชุมประจำเดือนครั้งที่ 2

    วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมร่วมกับผู้นำและกรรมการหมู่บ้านและกรรมการสำนักสงฆ์เพื่อวางแผนเตรียมงานทอดผ้าป่าสามัคคีของสำนักสงฆ์ มีการแบ่งหน้าที่ร่วมรับผิดชอบและขอลงรายละเอียดของโครงการในฏีกาเพื่อขอร่วมทอดผ้าป่าสมุนไพรและขอรับบริจาคพันธุ์พืชสมุนไพร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -หลวงตาทองคำ ผลปุญโญ รักษาการเจ้าอาวาสสำนักสงฆ์ อนุญาติให้ร่วมลงรายละเอียดของโครงการในใบฎีกา โดยมอบหมายให้ นางสาววาสนา สุขมี เป็นผู้จัดทำออกแบบใบฎีกาทอดผ้าป่าสามัคคี -ผู้รับผิดชอบจุดรับบริจาคพัน์พืชสมุนไพรคือ นางนฤมล บุญทองและ นางนพรัตน์ สมแหละ -ผู้รับผิดชอบเรื่องเตรียมปรับพื้นที่สำหรับปลูกพืชสมุนไพร คือ นายเลี่ยน อ่อนทอง -ผู้รับผิดชอบติดต่อประสานงานคือ นายธีระพล บุญทอง

     

    20 19

    8. รับสมัครอาสาสมัครเยาวชน "เจตมูลเพลิงแดง " จำนวน 30 คน ในการเป็นทีมนักสำรวจร่วมกับกลุ่มสภาผู้นำ ฯ ครู และกลุ่มองค์กรในชุมชนในการรวบรวมชนิดพืชสมุนไพรในท้องถิ่นและองค์ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร

    วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้เข้าไปประสานกับครูโรงเรียนนาหมอศรี เพื่อทำความเข้าใจและพูดคุยในการให้เด็กนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการ ซึ่งทางครูก็ให้ความร่วมมือที่จะให้นักเรียนระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนวัดนาหมอศรีผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 1 ตำบลคลองทราย เข้าร่วมกิจกรรมโดยแจ้งกิจกรรมที่ต้องการให้เยาวชนมีส่วนร่วมในการร่วมสำรวจชนิดของสมุนไพรที่มีในท้องถิ่นร่วมกันสภาผู้นำและคณะทำงานโครงการ เพื่อสร้างจิตสำนึกร่วมอนุรักษ์ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรของบรรพบุรุษให้คงอยู่สืบไป โดยให้ผู้สนใจร่วมกิจกรรมมาร่วมกิจกรรมในนาม "กลุ่มเจตมูลเพลิงแดง" ซึ่งครูจะได้นำไปพูดคุยในชั้นเรียนเพื่อรับสมัครเด็กที่มีความสนใจ และมีเวลาในการมาเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เด็กและเยาวชนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจในเรื้องสมุนไพรหรือประโยชน์และการนำไปใช้ แต่ยินดีที่จะเข้าร่วมกิจกรรม  โดยให้แจ้งเวลาจัดกิจกรรมประสานกับทางโรงเรียน มีรายชื่อต่อไปนี้ 1. ด.ช.ธานินทร์ สังข์ทอง 2. ด.ญ.วรรณวิษา เซ้งเตียว 3. ด.ญ.กาญจนา หมวดเพชร์ 4. ด.ช.ธีรภัทร ชัยยุทธ 5. ด.ช.วราฮาล มะหลี 6. ด.ญ.ปานตา ทองกลิ่น 7. ด.ญ.ตรีรัตน์ กมลเจริญ 8. ด.ญ.ขวัญกมล สงแก้ว 9. ด.ช.ศิวกร กายเพ็ชร 10. ด.ญ.พิมลนาฏ ศรีข่วย 11. ด.ญ.สุวภัทร ทองคำ 12. ด.ญ.ณราทิพย์ ยืนยง 13. ด.ญ.เยาวเรศ ทองบุรี 14. ด.ช.ภูสยาม อินทร์รัตนพงค์ 15. ด.ญ.ปรารถนา สุวรรณกาญจน์ 16. ด.ช.ปวริศ จันแก้ว 17. ด.ญ.ดวงพร พรหมรักษา 18. ด.ช.นันทวัฒน์ ดำแก้ว 19. ด.ช.วันชนะ อินทร์แก้ว 20. ด.ช.ชูเกียรติ สุวรรณกาญจน์ 21. ด.ช.ภัทรธร สุวรรณรัตน์

     

    58 46

    9. ประชุมคณะทำงานโครงการ

    วันที่ 5 มีนาคม 2558 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมประชุมเพื่อจัดเตรียมอุปกรณ์และชนิดสมุนไพรที่ต้องใช้ในการทำลูกประคบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดแบ่งหน้าที่ในการจัดหาอุปกร์และวัตถุดิบที่ต้องใช้

    -นางสาว วาสนา สุขมีและนางนฤมล บุญทองรับผิดชอบเรื่องวัตถุดิบ สมุนไพร

    -นางวิภา ดำแก้ว รับผิดชอบจัดเตรียมเอกสาร

    -นายธีรพล บุญทอง รับผิดชอบเรื่องติดต่อประสานงานและเตรียมอุปกรณ์

     

    5 4

    10. สภาผู้นำประชุมประจำเดือน ครั้งที่ 3

    วันที่ 9 มีนาคม 2558 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมร่วมกับผู้นำท้องถิ่นและคณะกรรมการสำนักสงฆ์เพื่อวางแผนการทำกิจกรรมทอดผ้าป่าสามัคคีและรับบริจาคพันธุ์พืชสมุนไพร,แบ่งหน้าที่รับผิดชอบกำหนดจุดรับบริจาคและจุดพักเก็บพันธุ์สมุนไพรที่ได้ก่อนนำไปปลูกจริง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดแบ่งหน้าที่จุดรับผิดชอบร่วมกันทั้งกิจกรรมของสำนักสงฆ์และกิจกรรมโครงการเพราะสภาผู้นำและคณะทำงานโครงการทุกคนล้วนเป็นกรรมการของสำนักสงฆ์ด้วย

    -นางสาววาสนา สุขมี,นางนฤมล บุญทอง,นางประไพย สุวรรณมณีรับผิดชอบกองอำนวยการและจุดรับบริจาคสมุนไพร

    -นายธีระพล บุญทอง,นางวิภา ดำแก้ว,นางอนงค์ อ่อนทอง,นางนพรัตน์ สมแหละ,นางรัตนา สังข์ทอง,นางอาภร เพชรสุข รับผิดชอบจุดพฤกษาพาโชคและประชาสัมพันธ์โครงการ

    -นายจิต นิลภักดี รับผิดชอบกองอำนวยการและประชาสัมพันธ์หลักของสำนักสงฆ์

    -นางละออง สีแก้วและนางบังอร ณะไชย รับผิดชอบเรื่องอาหาร

    -นส.ดวงสุดา อินทร์ช่วย,นางณัฐธันยา พุดช่วย ,นางแอบ ทองดำ รับผิดชอบเครื่องดื่ม

    -นายเลี่ยน อ่อนทองรับผิดชอบเรื่องดูแลความสงบ

     

    20 16

    11. เรียนรู้ตำรับยา สมุนไพรลูกประคบ

    วันที่ 11 มีนาคม 2558 เวลา 13:00-17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -วิทยากรให้ความรู้ สรรพคุณของสมุนไพรที่นำมาทำลูกประคบ
    -วิทยากรให้ความรู้ การนำลูกประคบมาใช้กับการรักษาอาการเจ็บป๋วย -วิทยากรให้ความรู้ส่วนผสมของสมุนไพรแต่ละชนิด  โดยทางชุมชนได้เลือกการทำลูกประคบแบบแห้ง  โดยใช้สมุนไพร ต่อสูตรดังนี้

    -ไพร 500 กรัม

    -ขมิ้น 250 กรัม

    -ผิวมะกรูด 200 กรัม

    -ตะไคร้แกง 200 กรัม

    -ใบมะขามแห้ง 100 กรัม

    -การบูร 30 กรัม

    -พิมเสน 30 กรัม

    -เกลือแกง 50 กรัม

    -อุปกรณ์ ,ผ้าด้ายดิบ,เชือกมะพร้าว,ถุงพลาสติกพับข้าง,ทัพพี,เครื่องชั่ง,กะละมัง

    วิธีทำ -ชั่งสมุนไพรแต่ละชนิดตามสูตร

    -ตำสมุนไพรแต่ละชนิด อย่างหยาบๆ

    -เอาสมุนไพรแต่ละชนิดใส่กะละมัง

    -ใส่การบูร พิมเสนและเกลือลงไป คลุกเคล้าให้เข้ากัน

    -ตักสมุนไพรใส่ผ้าที่เตรียมไว้โดยชั่งน้ำหนักให้เท่าๆกัน ลูกประคบแต่ละลูกจะหนักประมาณ 100 กรัม

    -ห่อลูกประคบให้เป็นลูกกลมๆ ใช้เชือกผูกให้แน่น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ได้ลูกประคบน้ำหนักลูกละ 100 กรัม จำนวน 65 ลูก

    -เด็ก เยาวชน และประชาชนในชุมชนได้เรียนรู้ และมีความรู้การทำลูกประคบและรู้ถึงประโยชน์ของลูกประคบ,วิธีการนำไปใช้และการเก็บรักษา

    -กลุ่มผู้ป๋วย และกลุ่มผู้สูงอายุ ได้ลูกประคบหลังจากที่ทำเสร็จแล้ว กลับไปใช้เพื่อใช้บำบัดรักษาอาการปวดเมื่อย

     

    50 80

    12. ทอดผ้าป่าสมุนไพร

    วันที่ 14 มีนาคม 2558 เวลา 09:00-19.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทอดผ้าป่าสมุนไพร โดยได้ทำกิจกรรมร่วมบุญกับการทอดผ้าป่าของสำนักฆ์ในการรับบุญจากญาติโยมในการทำบุญ ซึ่่งทางกิจกรรมของโครงการได้มีการพูดคุยเสียงตามสายประชาสัมพันธ์ให้ประฃาฃนทั้งในพื้นที่หมู่ 1 และพื้นที่ใกล้เคียงได้นำพืชสมุนไพรที่มีอยู่ที่บ้าน นำมาบริจาคให้กับกลุ่มเพื่อนำไปปลูกเป็นพืชที่แหล่งเรียนรู้ในที่ดินของสำนักสงฆ์ ซึ่งเป็นที่ดินว่างเปล่ายังไม่ได้ใช้ประโยชน์ ตลอดจนในช่วงค่ำ โฆษกในงานทอดผ้าป่าก็ได้พูดคุยกับประชาชนที่มาร่วมงานทอดผ้าให้ประชาชนได้เห็นความสำคัญของการใช้พืชสมุนไพรมาใช้ในชีวิตประจำวันและให้มีการปลูกพืชสมุนไพรในพืชที่ชุมชนทั้งในครัวเรือนในบริเวณบ้าน ที่สวน ที่นา ฯ เพื่อไปสู่การอนุรักษ์สมุนไพรทั้งในท้องถิ่นและสมุนไพรหายาก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ได้สมุนไพรที่มีผู้มีจิตศรัทธา ได้บริจาคให้กับกลุ่ม ประมาณ 6  ชนิด  เช่น
    หัวไพร  จำนวน  20 ต้น ,ตะใคร้ จำนวน  50 ต้น ,พริก 1  ต้น ,หญ้าปักกิ่ง 1 กระถาง,ตะไคร้หอม  50  ต้น,คว่ำตายหงายเป็น  1 กระถาง

    -เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่ชุมชนไม่เคยทำมาก่อน ยังเป็นสิ่งใหม่ในพื้นที่  คนในชุมชนยังขาดความเข้าใจ  และมีความเข้าใจน้อย จึงทำให้ได้สมุนไพรน้อยกว่าเป้าที่กำหนด ตลอดจนเป็นช่วงหน้าแล้งสมุนไพรบางชนิดแห้งและตาย แต่หลังจากได้มีการประชาสัมพันธ์และทำความเข้าใจให้คนที่เข้ามาร่วมงานทอดผ้าป่า  ครัวเรือนที่มีสมุนไพรได้มีการรับปากที่จะนำมาบริจาคให้ในวันหลัง ซึ่งทางคณะทำงานโครงการจะได้มีการนำสมุนไพรที่ได้รับบริจาค นำไปปลูกในพื้นที่ดินของสำนักสงฆ์ ที่ได้มีการปรับพื้นที่ไว้แล้ว

     

    140 140

    13. จัดทำรายงานปิดงวด 1

    วันที่ 16 มีนาคม 2558 เวลา 09:00-15.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -จัดทำรายงานปิดงวด 1 มีเอกสารดังนี้ เอกสาร ส.1 ,ส.2 ง.1

    -ตรวจสอบเอกสารการเงิน  ใบสำคัญรับเงิน

    -ความเรียบร้อยการบันทึกข้อมูล เว้ปไซต์คนใต้สร้างสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้เข้าร่วมประชุมเชิงปฎิบัติการจัดทำรายงานปิดงวด 1 มีเอกสารดังนี้ เอกสาร ส.1 ,ส.2 ง.1  และการบันทึกข้อมูลเว้ปไซต์ คนใต้สร้างสุข  โดยมีพี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่
    สจรส.มอ ให้คำแนะนำโดยให้ทางพื้นที่ที่ยังต้องเพิ่มรายละเอียด ให้มีความเรียบร้อบ และนำส่งเอกสารในวันจันทร์ที่ 23 มีค. 58

     

    2 3

    14. คืนเงินค่าเปิดบัญชีธนาคาร

    วันที่ 16 มีนาคม 2558 เวลา 09:00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนเงินค่าเปิดบัญชีธนาคาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนเงินค่าเปิดบัญชีธนาคาร

     

    2 2

    15. นำพืชสมุนไพรในท้องถิ่นมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ประกอบด้วย การทำน้ำมันเหลืองจากไพล,,การทำยาหม่องสมุนไพร

    วันที่ 21 มีนาคม 2558 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 10.30 น.ผู้เข้าร่วมเรียนรู้กิจกรรมกันแปรรูปสมุนไพร พร้อมเพรียงกันที่ศาลาเอนกประสงค์ของชุมชน หมู่ 1 ซึ่งใช้เป็นที่ฝึกอบรม วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการแปรรูปสมุนไพรมาใช้ประโยขน์ในขีวิตประจำวัน โดยนำเอาสมุนไพร คือไพรและขมิ้น มาแปรรูปเป็นน้ำมันหม่องสมุนไพรสูตรไพร และน้ำมันนวดสูตรไพรผสมขมิ้น ซึ่งผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความสนใจและร่วมกันทำกิจกรรม จนแล้วเสร็จประมาณ 16.30 น. ได้ผลิตภัณฑ์ 2 ชนิด คือ ยาหม่องสมุนไพรสูตรไพร และน้ำมันนวดสูตรไพรและขมิ้น ซึ่งหลังจากเสร็จแล้วก็ได้แจกจ่ายให้กับผู้ที่เข้ามาเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ประฃาชนในพื้นที่ หมู่ 1 ได้ความรู้เกี่ยวกับสมุน เช่น ประโยชน์ของสมุนไพร ,การนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน,การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์

    -ได้ยาหม่องไพล จำนวน 150 ขวด ขนาดขวดละ 0.5 ออนซ์

    -ได้น้ำมันไพลสำหรับนวดขวดละ 8 ซีซี จำนวน  200  ขวด

    -ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ที่ได้ และมีมติร่วมกันว่าจะตั้งเป็นกลุ่มอาชีพและจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชนโดยใช้ชื่อ "ชมรมอนุรักษ์สมุนไพรบ้านคลองทรายหมู่ที่ 1"

     

    50 55

    16. การทำยากันยุงด้วยตะใคร้หอม

    วันที่ 28 มีนาคม 2558 เวลา 13:00-17.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นส.ณฐกานต์ คงธรรม วิทยากรให้ความรู้ การทำน้ำมันตะใคร้หอม
    สัดส่วน ใช้ตะใคร้หอม 1 กก. น้ำกระทิ 3 กก. วิธีทำ สมาชิกที่เข้าร่วมอบรมนำตะใคร้หอมมาหั่นเป็นชิ้นเล็ก และนำไปเคี่ยวกับน้ำกระทิ เคี่ยวไปเรื่อยๆ จนน้ำกระทิแห้ง จนได้ตัวน้ำมันใสรอจนเย็น แล้วบรรจุใส่ขวดขนาด 15 ซีซี ซึ่งได้ทั้งหมด 64 ขวด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ และมีทักษะในการทำน้ำมันตะใคร้หอม กันยุ้ง

    -ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมร่วมกัน ช่วยให้เกิดการผ่อนคลาย และคลายเครียด

    -คนในชุมชนตระหนักที่จะสร้างผลิตภัณฑ์ใช้เองลดใช้สารเคมีนำไปสู่การมีสุขภาพที่ปลอดภัย

     

    50 56

    17. ประชุมสภาผู้นำประจำเดือน ครั้งที่ 4

    วันที่ 1 เมษายน 2558 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมรายงานผลการดำเนินกิจกรรมโครงการในงวดที่ 2  โดยผู้รับผิดชอบโครงการได้แจ้งให้กรรมการรับรู้ว่า กิจกรรมในงวดที่ 2 ไม่สามารถทำได้หมดเนื่องจากภาระกิจของทีม และความพร้อมของกลุ่มเป้าหมายในโครงการ
    ดังนั้นก่อนสรุปปิดโครงการและทำรายงานส่งอาจจะมีบางกิจกรรมที่ต้องทำเพราะเห็นว่ายังมีประโยชน์ และสามารถสร้างความรู้ให้กับคนในชุมชนที่จะเข้ามาร่วมกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการมีความเข้าใจในปัญหาและอุปสรรค์ในการทำงาน เนื่องจากแต่ละคนต่างมีภาระกิจที่มากมายทำให้ไม่มีเวลามาดำเนินกิจกรรมให้เสร็จตามแผนงานที่กำหนดได้ทุกแผนงานแค่ทางคณะทำงานได้ร่วมกันดูแผนงานที่สามารถดำเนินการได้ในบางแผนงาน เช่น การแปรรูปสมุนไพรการสำรวจสมุนไพร เพื่อให้แกนนำและคนในชุมชนได้ร่วมเรียนรู้ และเสริมทักษะชีวิตในบางเรื่อง ตลอดจนเพื่อให้คนในชุมชนได้มีกิจกรรมทำร่วมกัน

     

    20 10

    18. ร่วมกันออกแบบเครื่องมือสำรวจสมุนไพร ร่วมกับ อสม.และเจ้าหน้าที่รพ.สต.ลำชิง

    วันที่ 5 สิงหาคม 2558 เวลา 13:00-17.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการและตัวแทนคณะทำงานได้ปรึกษาหารือกับนางพิมพา สังข์ทอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.ลำชิงเพื่อร่วมออกแบบชุดสำรวจสมุนไพรในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ได้แบบสำรวจในการบันทึกข้อมูล ที่จะใช้ลงสำรวจพืืชสมุนไพรในชุมชน

    -คำถามในแบบสำรวจ ที่ทางคณะทำงานโครงการ ต้องการให้มีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับประเภทของสมุนไพรที่มีอยู่ในพื้นที่ชุมชน ทั้งประเภทสมุนไพรที่เป็นพืชสวนครัว สมุนไพรหายาก ซึ่งเมื่อได้กรอบประเด็นคำถามแล้ว ทางเจ้าหน้าที่ รพ.สต.จะได้มีการพิมพ์ข้อมูลให้แล้วเสร็จ เพื่อนำไปสู่การเก็บข้อมูล

     

    58 8

    19. ทำปุ่ยหมักชีวภาพ

    วันที่ 6 สิงหาคม 2558 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นายธีระพล บุญทอง  ปราชญ์ชุมชนได้ให้ความรู้และฝึกปฎิบัติการทำปุ่ยหมักแห้ง มีส่วนผสม จากวัสดุท้องถิ่น เช่น แกลบ มูลวัว รำข้าว อีเอ็ม(หัวเชื้อจุรินทรีย์เข้มข้น และ กากน้ำตาล
    โดยสมาชิกได้ร่วมกันทำ ในขั้นตอนแรกนำ  แกลบ มูลวัว รำข้าว มาคลุกเคล้าให้เข้ากัน ขั้นตอนที่ 2 ผสมกากน้ำตาลและน้ำสะอาด ให้เข้ากัน พร้อมทั้งใส่อีเอ็มลงไป นำส่วนผสมในขั้นตอนที่  2 มาราดลงบนกองวัสดุ คลุกเคล้าให้เข้ากัน ลองกำดูว่าปุ่ยจับเป็นก้อนหรือเปล่า ถ้าจับเป็นก้อนแสดงว่าใช้ได้ ทิ้งปุ่ยไว้ประมาณ 7-15 วัน จนปุ่ยคลายความร้อน และเย็นลงจึงสามารถนำไปใช้งานได้
    ซึ่งเมื่อผสมเสร็จได้ปุ่ยทั้งหมด  15 กระสอบๆละ 45 ก.ก.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ได้ความรู้ในการทำปุ่ยหมักแห้ง

    -เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ คนที่มาร่วมกันทำปุ่ยหมัก

    -มีปุ่ยอินทรีย์ไปใช้ในแปลงสมุนไพรของชุมชน ช่วยในการบำรุงดิน ลดการใช้ปุ่ยเคมี

     

    140 18

    20. ทำแปลงปลูกสมุนไพรและปลูกสมุนไพร

    วันที่ 14 สิงหาคม 2558 เวลา 13:00-17.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ช่าวเช้า 09.00 น. ชาวบ้านได้มาทำพิธีทางศาสนาที่สำนักสงฆ์ป่าลูกโคกศูทธาวาสซึ่งตรงกับวันพระ หลังจากเสร้จพิธีสงฆ์ ทางแกนนำชุมชนก็ได้พูดเกี่ยวกับสมุนไพร และผู้รับผิดชอบโครงการก็ได้เชิญชวนให้ชาวบ้านในชุมชนได้ร่วมกันปลูกสมุนไพรในที่ดินชุมชนใกล้กับสำนักสงฆ์ ในพื้นที่ที่ไถพรวนไว้แล้ว และปลูกในล้อยางรถยนต์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -คนในชุมชนที่มาร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้เห็นความสำคัญของพืชสมุนไพรและการใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำวัน

    -คนในชุมชนมีการใช้สมุนไพรในชีวิตประจำวันอยู่เดิม โดยเฉพาะการใช้ประกอบอาหารคาว ประเภทแกง ต้ม ซึ่งสมุนไพรที่ใช้ เช่น พริก ตะใคร้ ข่า เป็นต้น จึงอาจจะกล่าวได้ว่า กินอาหารให้เป็นยา

     

    140 80

    21. ลงพื้นที่สำรวจชนิดของสมุนไพรในเขตพื้นที่บ้าน

    วันที่ 26 กันยายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่สำรวจพืชสมุนไพรในบริเวณบ้าน จำนวน 30 ครัวเรือน โดยใช้แบบสำรวจที่ออกแบบโดยมีชื่อสมุนไพรกว่า 50 ชนิดที่สามารถพบได้และมีการปลูกใช้ในครัวเรือนซึ่งทีมที่ลงเก็บข้อมูลได้แก่ทีมคณะทำงานโครงการอสม. ประชาชนทั่วไป ฯลฯ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พืชสมุนไพรที่ครัวเรือนในชุมชนปลูกไว้ เกือบทุกครัวเรือน คือ กล้วย ขมิ้น ข่า ตะใคร้ ซึ่งเป็นพืชและผักสวนครัวที่ทุกครัวเรือนใช้ในชีวิตประจำวันอยู่แล้วโดยเฉพาะการปรุงเป็นอาหาร เช่น เครื่องแกง แต่ในส่วนการนำมาปรุงเป็นยาเพื่อบำบัดโรคกลับพบว่าชุมชนยังขาดความรู้ขณะที่บางครัวเรือนมีการปลูกพืชสมุนไพรเป็นไม้ประดับ และปลูกไว้เพื่อการอนุรักษ์

     

    58 30

    22. การทำลูกประคบ

    วันที่ 26 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นางพิพา สังข์ทอง เจ้าหน้า รพ.สต. บ้านลำชิง ได้เป็นวิทยากรในการฝึกปฎิบัติการทำลูกประคบ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้นำไปใช้เพื่อการดูแลสุขภาพ จากที่ได้ร่วมกันทำลูกประคบโดยการนำสมุนไพรสดมาผสมรวมกัน และทำเป็นก้อนห่อด้วยผ้าขาวบาง ได้จำนวนลูกประคบทั้งหมด 18 ลูก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ได้ความรู้ในการทำลูกประคบ โดยใช้สมุนไพรสด เช่น ตะใคร้ ไพร ขมิ้น ใบมะขาม ผิดมะกรูด พิมเสน การบรู และเกลือแกง มาผสมรวมกันและห่อด้วยผ้าขาวบาง

    -สมาชิกที่ทำลูกประคบเสร็จแล้วนำกลับไปใช้ที่บ้าน เพื่อการดูแลสุขภาพ เช่น การบรรเทาอาการปวดเมื่อย ทำให้สุขภาพดี  ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ลดการพึ่งยา 

     

    50 20

    23. ประชุมกับพี่เลี้ยง เพื่อจัดทำรายงานปิดโครงการ

    วันที่ 6 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พี่เลี้ยงได้แนะนำการทำรายงานปิดโครงการ เช่น รายงาน ส.4  รายงาน ส. 3  รายงานการเงิน  และตรวจสอบเอกสารการใช้จ่ายเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถรายงานกิจกรรมในระบบเว้บไซต์ คนใต้สร้างสุข และจัดทำรายงานปิดโครงการ 

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อพัฒนาผู้นำองค์กรและกลุ่มต่างๆในชุมชน ในรูปแบบสภาผู้นำ ในการส่งเสริมและขับเคลื่อนสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนอย่างมีส่วนร่วม
    ตัวชี้วัด : 1.1 เกิดสภาผู้นำจำนวน 20 คน ที่มาจากองค์กรต่างๆในชุมชนเป็นกลไกขับเคลื่อนการดำเนินโครงการอย่างเป็นรูปธรรมและมีส่วนร่วมของคนใยชุมชน 1.2 มีองค์ความรู้ในการพัฒนาชุมชนจากการถอดบทเรียนจำนวน 1 ฉบับ 1.3 มีการประชุมติดตามการดำเนินงานของสภาผู้นำทุกเดือน จำนวน 10 ครั้ง

    1.เกิดสภาผู้นำจริงจำนวน 14 คนประกอบด้วยคณะทำงาน 5 คน กลุ่มแม่บ้าน 4 คน ผู้นำชุมชน 1 คน บัณฑิตอาสา 1 คน ปราชญ์ชุมชน 1 คน เจ้าหน้าที่ รพ.สต.ลำชิง 2 คนจากการดำเนินโครงการสามารถประชุมร่วมกับสภาผู้นำ จำนวน 4 ครั้งจากเดิมที่ระบุไว้ในแผนงานจำนวน 10 ครั้ง

    2 2.เพื่อสำรวจและรวบรวมพืชสมุนไพรในท้องถิ่น เช่น พืชสมุนไพรที่เป็นอาหาร พืชสมุนไพรที่เป็นยาใช้ในการรักษาและบำบัดโรค
    ตัวชี้วัด : 2.1 เกิดชุดข้อมูลความรู้ทะเบียนพืชสมุนไพรในท้องถิ่นที่เป็นอาหาร และตำรับพืชสมุนไพรใช้ในการบำบัดรักษาโรคจำนวน 2 ชุด 2.2 มีปราชญ์ชุมชนด้านตำรับยาสมุนไพรอย่างน้อย 4 ตำรับๆละ 3 คน ในการคิดค้น การวิจัยสมุนไพรท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องร่วมกับศูนย์สมุนไพรทักษิณ คณะเภสัชศาสตร์ มอ. 2.3 มีผลิตภัณท์ชุมชนที่ทำจากสมุนไพรในท้องถิ่นจำหน่าย สามารถสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน

    ไม่สามารถจำทำข้อมูลชุดความรู้ได้ เนื่องจาก การดำเนินกิจกรรมในแผนงานนี้ขาดผู้รู้ หรือปราชญ์ชุมชนในการให้คำปรึกษา และแนะนำ แตทางคณะทำงานโครงการยังเห็นว่ามีบางกิจกรรมที่สามารถสร้างความรู้ให้กับคนในชุมชน ดังนั้นจึงได้ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรคือ ยาหม่องสมุนไพร,ยากันยุงตะไคร้หอม,ลูกประคบสมุนไพร, น้ำมันนวดจากไพล เพื่อให้คนในชุมชนสามารถนำเอาวัตถุดิบที่มีอยู่ในชุมชนมาปรับใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว

    3 3.เพื่อให้คนในชุมชนได้ช่วยกันพื้นฟู สืบทอดมรดกภูมิปัญญาด้านสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ ร่วมอนุรักษ์สมุนไพรหายากในท้องถิ่น
    ตัวชี้วัด : 3.1 ประชาชนในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้รักสุขภาพจำนวน 80 คน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคและการป้องกัน บำบัดรักษาโรคโดยใช้สมุนไพรเพิ่มมากขึ้น 3.2 ประชาชน 140 คน ในชุมชนได้รับข้อมูลความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับอาหารเป็นยาสมุนไพรโดยอยู่บนพื้นฐานงานวิชาการและระบบสาธารณะสุข 3.3 มีศูนย์เรียนรู้พืชสมุนไพรท้องถิ่นจำนวน 1 แห่งในการถ่ายทอดความรู้และการบำบัดโรค 3.4 มีแปลงสมุนไพรที่ปลูกในครัวเรือนและที่ดินสาธารณะจำนวน 7 ไร่และเขตป่าของชุมชนไมาน้อยกว่า 100 ชนิด สำหรับเป็นแหล่งเรียนรู้และสืบทอดภูมิปัญญาด้านสมุนไพรท้องถิ่น
    1. มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคเน้นผักเป็นยามากขึ้น
    2. ได้รับข้อมูลการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรร้อยละ 70
    3. มีศูนย์เรียนรู้พืชสมุนไพรท้องถิ่น 1 แห่งในบริเวณสำนักสงฆ์ป่าลูกโคกสุทธาวาส สำหรับผู้ที่สนใจเข้ามาเรียนรู้
    4. ทุกครัวเรือนมีแปลงสมุนไพรที่ใช้เป็นอาหารและมีบางครัวเรือนปลูกสมุนไพรหายากไว้เพื่อการอนุรักษ์ ,มีแปลงปลูกสมุนไพรตัวอย่าง เนื้อที่ 2 ไร่ มีพืชสมุนไพรปลูก 50 ชนิด เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ตะไคร้หอม ย่านาง ค้างคาวดำ หญ้าปักกิ่ง ต้นเนียม หญ้าหวาน บอระเพ็ด เจตมูลเพลิงแดง มะขามป้อม ฟ้าทะลายโจรฯลฯในบริเวณสำนักสงฆ์ป่าลูกโคกสุทธาวาส
    4 การสนับสนุนติดตามโครงการโดยทีม สสส.,สจรส.มอ.
    ตัวชี้วัด : 4.1. การเข้าร่วมประชุมติดตามการดำเนินงานจากทีม สสส.,สจรส.มอ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 4.2. การจัดทำรายงานโครงการ (ส.1 ,ส.2 ,ง.1 ,ง.2 ,ส.3)

    4.1มีการเข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้ง

    4.2มีการจัดทำรายงานการดำเนินโครงการตามงวดงาน และนำส่งผลงานให้กับ สสส. ได้

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาผู้นำองค์กรและกลุ่มต่างๆในชุมชน ในรูปแบบสภาผู้นำ ในการส่งเสริมและขับเคลื่อนสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนอย่างมีส่วนร่วม (2) 2.เพื่อสำรวจและรวบรวมพืชสมุนไพรในท้องถิ่น เช่น พืชสมุนไพรที่เป็นอาหาร พืชสมุนไพรที่เป็นยาใช้ในการรักษาและบำบัดโรค (3) 3.เพื่อให้คนในชุมชนได้ช่วยกันพื้นฟู สืบทอดมรดกภูมิปัญญาด้านสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ ร่วมอนุรักษ์สมุนไพรหายากในท้องถิ่น (4) การสนับสนุนติดตามโครงการโดยทีม สสส.,สจรส.มอ.

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยสมุนไพรพื้้นบ้าน : บ้านคลองทราย

    รหัสโครงการ 57-02573 รหัสสัญญา 58-00-0041 ระยะเวลาโครงการ 15 ตุลาคม 2557 - 15 พฤศจิกายน 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    1.การทำลูกประคบโดยใช้สมุนไพรสด

    2.น้ำมันหม่องไพร

    -รายงานหน้าเว้ปไซต์ คนใต้สร้างสุข

    -รายงาน ส.3

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    เกิดสภาชุมชน ที่ไม่เป็นทางการรวมตัวกัน มีการตั้งวงคุย ปรึกษาหารือ และวางแผนการทำงานร่วมกัน

    -รายงานหน้าเว้ปไซต์ คนใต้สร้างสุข

    -รายงาน ส.3

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    แปลงปลูกสมุนไพรตัวอย่าง เนื้อที่ 2 ไร่ มีพืชสมุนไพรปลูก 50 ชนิด เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ตะไคร้หอม ย่านาง ค้างคาวดำ หญ้าปักกิ่ง ต้นเนียม หญ้าหวาน บอระเพ็ด เจตมูลเพลิงแดง มะขามป้อม ฟ้าทะลายโจรฯลฯในบริเวณสำนักสงฆ์ป่าลูกโคกสุทธาวาสใสามารถเป็นพื้นที่เรียนรู้ให้กับคนในชุมชน เยาชน เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านลำชิง

    -รายงานหน้าเว้ปไซต์ คนใต้สร้างสุข

    -รายงาน ส.3

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    ใช้ธรรมมะ เช่น สวดมนต์เข้าวัดในวันพระ

    สำนักสงฆ์ป่าลูกโคก บ้านคลองทราย

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    มีกิจกรรมที่บำรุงพระพุทธศาสนา เช่น ร่วมกันทำผลิตภัณฑ์ เช่น ลูกประคบ น้ำมันหม่องสมุนไพร จำหน่ายเพื่อนำเงินเข้าวัด

    บ้านคลองทราย หมู่ 1 ต.คลองทราย อ.นาทวี จ.สงขลา

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    วิถีชนบท ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

    บ้านคลองทราย หมู่ 1 ต.คลองทราย อ.นาทวี จ.สงขลา

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    มีการช่วยเหลือ เอื้อทร ทั้งงานในชุมชนและกิจกรรมของสำนักสงฆ์

    บ้านคลองทราย หมู่ 1 ต.คลองทราย อ.นาทวี จ.สงขลา

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยสมุนไพรพื้้นบ้าน : บ้านคลองทราย จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 57-02573

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาว วาสนา สุขมี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด