แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ชีวินทรีย์เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย ”

ม.3 ต.อ่าวลึกน้อย อ.อ่าวลึก จ.กระบี่

หัวหน้าโครงการ
นายเหม บุตรหลำ

ชื่อโครงการ ชีวินทรีย์เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย

ที่อยู่ ม.3 ต.อ่าวลึกน้อย อ.อ่าวลึก จ.กระบี่ จังหวัด กระบี่

รหัสโครงการ 57-02584 เลขที่ข้อตกลง 58-00-0078

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 ตุลาคม 2557 ถึง 20 พฤศจิกายน 2558


กิตติกรรมประกาศ

"ชีวินทรีย์เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย จังหวัดกระบี่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.3 ต.อ่าวลึกน้อย อ.อ่าวลึก จ.กระบี่

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชีวินทรีย์เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย



บทคัดย่อ

โครงการ " ชีวินทรีย์เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย " ดำเนินการในพื้นที่ ม.3 ต.อ่าวลึกน้อย อ.อ่าวลึก จ.กระบี่ รหัสโครงการ 57-02584 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 ตุลาคม 2557 - 20 พฤศจิกายน 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 201,100.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 190 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. การใชัประโยชน์จากทรัพยากร (วัสดุเหลือใช้ภาคเกษตรในชุมชน) และเพื่อสร้างการขับเคลื่อนโครงการด้วยสภาผู้นำชุมชน
  2. หนุนเสริมเศรษฐกิจฐานล่าง สร้างสิ่งแวดล้อมดี มีสุขภาวะ ห่างไกลยาเสพติด
  3. เพื่อติดตาม สนับสนุนการดำเนินงานโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศผู้รับทุนโครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ทราบแนวทางในการจัดทำรายงานผล และรายงานการเงิน โดยการทำรายงานการเงินแยกรายกิจกรรม/ครั้ง กระบวนการและระบบการติดตามประเมินผล การทำรายงานโครงการ และ รายงานการเงิน การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์ การป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรมและการจัดทำรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทราบแนวทางในการจัดทำรายงานผล และรายงานการเงิน
    บันทึกการประชุม วาระการประชุม เอกสารประกอบการประชุมพร้อมภาพถ่ายกิจกรรม กรณีมีค่าอาหาร ต้องมีหลักฐานทางการเงิน ได้แก่ใบสำคัญรับเงินหรือใบบิลเงินสด
    กรณีจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ (ค่าวัสดุ คือ ค่าใช้จ่ายเพื่อวัสดุสิ้นเปลืองในการทำกิจกรรม ได้แก่ วัสดุเครื่องเขียน วัสดุสำนักงาน วัสดุโฆษณาและเผยแพร่) ต้องมีหลักฐานทางการเงิน ได้แก่ใบสำคัญรับเงิน/บิลเงินสด โดยออกจากร้านมีชื่อที่อยู่ของร้านชัดเจน มีเลขกำกับภาษี/เลขบัตรประชาชน ของเจ้าของร้าน  บิลออกในนามโครงการของพื้นที่ตนเอง ค่าใช้สอย ได้แก่ ค่าพาหนะ ค่าที่พัก ค่าถ่ายเอกสาร ค่าอาหารและเครื่องดื่ม ค่าตอบแทน ได้แก่ ค่าตอบแทนวิทยากร  กรณีเป็นรายชั่วโมง ต้องมีความรู้ความชำนาญ  กรณีเป็นปราญชชาวบ้าน หรือ เจ้าหน้าที่ รพ.สต. คิดเป็นรายชั่วโมง 600 บาท,กรณีเป็นคนต่างพื้นที่ สามารถเบิกได้ 1000 บาท/วัน ใบสำคัญรับเงินจะต้องไม่มีรอยลบ รอยขูดหรือรอยขีดเขียน  **ห้ามใช้ใบส่งของแทนบิลเงินสดหรือใบสำคัญรับเงิน รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม จะต้องมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อย มากกว่า หรือเท่ากับ 5-10 % ของเป้าหมายที่วางไว้ รับรู้การบริหารจัดการโครงการ (ทีมงาน/ชุมชน) และวิธีการจัดการปัญหา การทำรายงานโครงการ และ รายงานการเงิน  การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์ ทุกกิจกรรมจะต้องมีการบันทึกรายละเอียดกิจกรรมและรายละเอียดทางการเงิน ในเว็ปไซต์ www.happynetwork.org สามารถรับรู้ถึงกระบวนการและระบบการติดตามประเมินผล เพื่อการหนุนเสริมโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่พื้นที่ภาคใต้ ทบทวนและออกแบบเชิงระบบของโครงการ การวางแผนการดำเนินงาน และการป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรมและการจัดทำรายงาน

     

    2 2

    2. เวทีแจ้งวัตถุประสงค์ของโครงการ สร้างความตระหนักร่วม ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการขับเคลื่อนสภาผู้นำชุมชน กิจกรรมโครงการ

    วันที่ 18 ธันวาคม 2557

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เวทีชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการ สร้างความตระหนักร่วม ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการขับเคลื่อนสภาผู้นำชุมชน อธิบายรายละเอียดและแจกเอกสารประกอบการบรรยาย กิจกรรมโครงการ การพัฒนาศักยภาพของกลุ่ม การเริ่มต้นการขยาย การสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับตัวโครงการ และมีการบอกถึงการปฏิบัติงาน
    2. ชี้แจงจุดมุ่งหมายที่สำคัญของ สสส. เรื่องหน่วยงานและภาคีร่วมของ สสส.  ผู้รับผิดชอบ ตลอดจนพี่เลี้ยงของโครงการ งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เวทีชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการ สร้างความตระหนักร่วม ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการขับเคลื่อนสภาผู้นำชุมชน อธิบายรายละเอียดและแจกเอกสารประกอบการบรรยาย กิจกรรมโครงการ การพัฒนาศักยภาพของกลุ่ม การเริ่มต้นการขยาย การสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับตัวโครงการ และมีการบอกถึงการปฏิบัติงาน ทีมนำ ทีมทำ ทีมร่วม และได้แจ้งให้กลุ่มเป้าหมายได้ทราบในส่วนของการจัดการ การวางทีมเพื่อการปฏิบัติ เป็น ทีมนำ ทีมทำ ทีมร่วม และติดตามผลให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทราบ ว่ามีใครบ้าง  แจ้งที่มาที่ไปของโครงการซึ่งล้วนแต่เกิดจากปัญหาของครัวเรือนในชุมชนทั้งสิ้นและเชื่อมโยงไปถึงแผนพัฒนาหมู่บ้าน ชี้ให้เห็นถึงชุมชนเข้งแข็งจะต้องมีคุณลักษณะอย่างไร จากรายบุคคล สู่ครอบครัว ชุมชน สังคม ทำดีเพื่อตอบแทนแผ่นดิน ครอบครัวท้องถิ่นมั่นคง ดำรงชีวิตแบบพอเพียง ตามหลักสุขภาวะ 4 มิติ สร้างกลุ่มให้เกิดงานในชุมชน "สู่" ธนาคารเพื่อความมั้นคงทางอาหารของชุมชน โดยสภาผู้นำชุมชนเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อน เริ่มจากการผลิตที่มีคุณภาพไม่ใช้สารเคมีทุกประเภท  การแปรรูปเพื่อยกระดับราคา ทำเอง กินเอง ใช้เอง เพื่อให้เห็นถึงค่าใช้จ่ายในครัวเรือนที่รั่วไหลออกจากชุมชน แถมยังไม่มีความปลอดภัยในชีวิต และวางโครงสร้างให้เห็นถึงกระบวนการทำงานของโครงการกับคาดหวังที่อยากเห็น และอยากให้เป็น ต้องอาศัยความร่วมมือจากพี่น้องลูกหลานในชุมชนทุกท่าน ชุมชนท้องถิ่นเป็นฐานของสังคม ชุมชนเข้มแข็งอยู่ที่คน คนในชุมชนพึ่งตนเองได้ คนในชุมชนพึ่งพาช่วยเหลือกัน กลุ่มช่วยเหลือกันในกลุ่ม เครือข่ายช่วยเหลือกันระหว่างกลุ่มองค์กร มีเหตุผล ร่วมคิดร่วมทำ ร่วมเรียนรู้ มีความพอประมาณ ทำให้สังคมเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกัน เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน มีการจัดทำแผนชีวิตและครอบครัว และมีการตอบรับดีมากจากกลุ่มเป้าหมายและสมาชิกที่ยังไม่ได้เข้าร่วมโครงการ
    2. ชี้แจงจุดมุ่งหมายที่สำคัญของ สสส. เรื่องหน่วยงานและภาคีร่วมของ สสส.  ผู้รับผิดชอบ ตลอดจนพี่เลี้ยงของโครงการ งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุน การพัฒนาศักยภาพของคน เพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง การจัดการข้อมูล  วิเคราะห์ ปัญหา การแก้ปัญหา การทำแผนพัฒนาเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนา การบริหารจัดการโครงการ กลไกล คือพี่เลี้ยง การสนับสนุนของพี่เลี้ยง

     

    190 67

    3. อบรมให้ความรู้เรื่อง การนำวัสดุเหลือใช้ เช่น ทางปาล์มน้ำมัน ,เศษอาหารในครัวเรือน,ของเหลือทิ้งจากการเพาะเลี้ยงประมง รุ่นที่ 1

    วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เกริ่นนำในเรื่องของกระบวนการการนำวัสดุเหลือใช้ มาใช้ประโยชน์ โดยดูวิดีทัศน์จากการปฏิบัติงานของโครงการเมื่องปีที่แล้ว ในเรื่องของการเลี้ยงใส้เดือนดิน ในรูปกระบวนการของการได้มาซึ่งปุ๋ย และ เปรียบเทียบให้เห็นโดย นำวัสดุเหลือใช้ภาคประมง เช่น เปลือกหอย สามารถนำมาผสมกับทางปาล์ม และเศษอาหารมาทำเป็นอาหารสัตว์ได้ สอนให้ได้รู้ถึงขั้นตอน วิธีการ การเลือกวัสดุ มาผสมกันโดยคำนึงถึง คุณค่าของอาหารที่มีประโยชน์ ในวัสดุแต่ละชนิดเป็นที่ตั้ง โดยใช้หลักวิชาการ และนักวิชาการ จากศูนย์วิจัยพันธ์สัตว์มาเป็นวิทยากร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างหลากหลายจากการนำวัสดุเหลือใช้จากครัวเรือน และภาคการเกษตรมาทำให้เกิดประโยชน์แก่ครัวเรือน
    • เกิดการผสมผสานระหว่างภูมิปัญญาท้องถิ่นและหลักวิชาการก่อเป็นนวัตกรรมชุมชน เกี่ยวกับสูตรอาหารสัตว์
    • ทำให้เกิดแนวคิดในการพึ่งพาตัวเองบนพื้นฐานของความเป็นจริง โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาสร้างคุณค่าให้เกิดประโยชน์สูงสุด
    • เกิดบทเรียน นำไปสู่การพัฒนา แบบบูรณาการโดยประชาชน นำราชการ และสนองตามบริบท และความเหมาะสม
    • เยาวชนคนรุ่นใหม่เกิดแรงบันดาลใจ ในการเข้าร่วมกิจกรรม

     

    105 53

    4. อบรมให้ความรู้เรื่อง การนำวัสดุเหลือใช้ เช่น ทางปาล์มน้ำมัน ,เศษอาหารในครัวเรือน,ของเหลือทิ้งจากการเพาะเลี้ยงประมง รุ่นที่ 2

    วันที่ 7 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เรียนรู้กระบวนการฝึกปฏิบัติ โดยเทียบเคียง โครงการปีก่อน เป็นจุดดึงดูด -ปฏิบัติได้โดยอาศัยวิชาการที่ถูกต้อง -มีความรับผิดชอบ ในระบบสุขภาพที่สำคัญที่สุด -มีจิตสำนึกว่าชีวิตคนอื่นที่สำคัญเยื่องชีวิตตน -บริโภคอาหารปลอดภัย ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลยาเสพติด -ผลิตอาหารแบบปลอดภัย ชีวิตครัวเรือน ชุมชน สุขภาพดี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างหลากหลายจากการนำวัสดุเหลือใช้จากครัวเรือน และภาคการเกษตรมาทำให้เกิดประโยชน์แก่ครัวเรือน
    • เกิดการผสมผสานระหว่างภูมิปัญญาท้องถิ่นและหลักวิชาการก่อเป็นนวัตกรรมชุมชน เกี่ยวกับสูตรอาหารสัตว์
    • ทำให้เกิดแนวคิดในการพึ่งพาตัวเองบนพื้นฐานของความเป็นจริง โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาสร้างคุณค่าให้เกิดประโยชน์สูงสุด
    • เกิดบทเรียน นำไปสู่การพัฒนา แบบบูรณาการโดยประชาชน นำราชการ และสนองตามบริบท และความเหมาะสม
    • เยาวชนคนรุ่นใหม่เกิดแรงบันดาลใจ ในการเข้าร่วมกิจกรรม

     

    55 48

    5. อบรมสาธิตวิธีเชิงปฏิบัติ รุ่นที่ 1

    วันที่ 29 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • สาธิตวิธีเชิงปฏิบัติการ การผลิตปุ๋ยและการทำอาหารสัตว์และอาหารปลา อาหารสัตว์ มีการสาธิตวิธีเชิงปฏิบัติการ การผลิตปุ๋ยและการทำอาหารสัตว์และอาหารปลา อาหารสัตว์ คือ ทำอาหารแพะและโคขุน

    • วัตถุดิบที่ใช้

    1. ทางใบปาล์มน้ำมันบด
    2. กากเม็ดในปาล์มน้ำมัน
    3. เปลือกหอยบดละเอียด
    4. รำละเอียด
    5. ปลาป่น
    6. น้ำมันพืช
    7. กากน้ำตาล
    8. จุลินทรีย์หมักจากน้ำใส่เดือน
    9. น้ำมะพร้าว
    • วิธีการทำ
    1. ผสมเข้ากัน
    2. หมักด้วยระบบสุญญากาศ 15 วัน สามารถให้สัตว์กินได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คุณค่าทางอาหารสอดคลองกับวัตถุดิบแต่ละชนิดที่ใช้และเหมาะแก่การเจริญเติบโตของสัตว์  ใช้วิทยากรจากศูนย์วิจัยพันธ์สัตว์ ปศุสัตว์อำเภอ และศูนย์ทดสอบคุณภาพอาหารสัตว์ร่วมเป็นวิทยากร และนำตัวอย่างอาหารไปตรวจสอบเพื่อหาค่า คุณค่าของอาหาร และความปลอดภัยต่อสัตว์และผู้บริโภคเนื้อสัตว์ เพื่อความชัดเจนอีกครั้งและนำอาหารที่ฝึกปฏิบัติ ฝึกในเชิงปฏิการแจกให้เกษตรกรได้ลองใช้และรายงานผลทั้งกระบวนการ

    • ความชอบของสัตว์ ปริมาณการกิน ผลข้างเคียง อาหารปลา เน้นอาหารปลากินพืชและปลาดุกวัตถุดิบที่ใช้ 1.ทางปาล์มน้ำมันบดละเอียด 2.ปลาป่น 3.รำละเอียด 4.กากเม็ดในปาล์ม 5.แป้งข้าวเจ้า  ผสมเข้ากันและนำมาอัดเม็ดผึ่งแดดแจกจ่ายให้กับกลุ่มเป้าหมายนำไปทดลองใช้ ใช้วิทยากรจาก ศูนย์ประมงชายฝั่งจังหวัดกระบี่ ประมงอำเภออ่าวลึก หน่วยตอบสอบวัตถุดิบกรรมประมง

    • เรียนรู้การปฏิบัติโดยอาศัยวิชาการที่ถูกต้อง โดยใช้วัสดุเหลือใช้ในครัวเรือนให้เกิดประโยชน์ สร้างจิตสำนึกร่วมโดยเลงเห็นคุณค่าของชีวิตที่ปลอดภัย

     

    53 53

    6. อบรมสาธิตวิธีเชิงปฏิบัติ รุ่นที่ 1

    วันที่ 30 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สาธิตวิธีเชิงปฏิบัติการ การผลิตปุ๋ยและการทำอาหารสัตว์และอาหารปลา อาหารสัตว์ คือ ทำอาหารแพะและโคขุน โดยใช้วัตถุดิบ
    1. ทางใบปาล์มน้ำมันบด 2.กากเม็ดในปาล์มน้ำมัน 3.เปลือกหอยบดละเอียด 4.รำละเอียด 5.ปลาป่น 6.น้ำมันพืช 7.กากน้ำตาล 8.จุลินทรีย์หมักจากน้ำใส่เดือน 9.น้ำมะพร้าว ผสมเข้ากัน หมักด้วยระบบสุญญากาศ 15 วัน สามารถให้สัตว์กินได้ คุณค่าทางอาหารสอดคลองกับวัตถุดิบแต่ละชนิดที่ใช้และเหมาะแก่การเจริญเติบโตของสัตว์  ใช้วิทยากรจากศูนย์วิจัยพันธ์สัตว์ ปศุสัตว์อำเภอ และศูนย์ทดสอบคุณภาพอาหารสัตว์ร่วมเป็นวิทยากร และนำตัวอย่างอาห่รไปตรวจสอบเพื่อหาค่า คุณค่าขออาหารน และความปลอดภัยต่อสัตว์และผู้บริโภคเนื้อสัตว์ เพื่อความชัดเจนอีกครั้งและนำอาหารที่ฝึกปฏิบัติ ฝึกในเชิงปฏิการแจกให้เกษตรกรได้ลองใช้และรายงานผลทั้งกระบวนการ - ความชอบของสัตว์ ปริมาณการกิน ผลข้างเคียง อาหารปลา เน้นอาหารปลากินพืชและปลาดุกวัตถุดิบที่ใช้ 1.ทางปาล์มน้ำมันบดละเอียด 2.ปลาป่น 3.รำละเอียด 4.กากเม็ดในปาล์ม 5.แป้งข้าวเจ้า  ผสมเข้ากันและนำมาอัดเม็ดผึ่งแดดแจกจ่ายให้กับกลุ่มเป้าหมายนำไปทดลองใช้ ใช้วิทยากรจาก ศูนย์ประมงชายฝั่งจังหวัดกระบี่ ประมงอำเภออ่าวลึก หน่วยตอบสอบวัตถุดิบกรรมประมง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -เรียนรู้การปฏิบัติการทำปุ๋ยและอาหารสัตว์โดยอาศัยหลักวิชาการที่ถูกต้อง ใช้วัสดุเหลือใช้ในครัวเรือนให้เกิดประโยชน์ สร้างจิตสำนึกร่วมโดยเล็งเห็นคุณค่าของการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย

     

    53 53

    7. อบรมสาธิตวิธีเชิงปฏิการ รุ่นที่ 2

    วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เกิ่นนำในเรื่องของกระบวนการการนำวัสดุเหลือใช้ มาใช้ประโยชน์ โดยวิดีทัศน์จากการปฏิบัติงานของโครงการเมื่องปีที่แล้ว ในเรื่องของการเลี้ยงใส้เดือนดิน ในรูปกระบวนการของการได้มาซึ่งปุ๋ย และ เปรียบเทียบให้เห็นโดย นำวัสดุเหลือใช้ภาคประมง เช่น เปลือกหอย สามารสนำมาผสมกับทางปาล์ม และเศษอาหารมาทำเป็นอาหารสัตว์ได้ สอนให้ได้รู้ถึงขั้นตอน วิธีการ การเลือกวัสดุ มาผสมกันโดยคำนึงถึง คุณค่ะของอาหารที่มีประโยชน์ ในวัสดุแต่ละชนิดเป็นที่ตั้ง โดยใช้หลักวิชาการ และนักวิชาการ จากศูนย์วิจัยพันธ์สัตว์มาเป็นวิทยากร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำวัสดุเหลือใช้ มาใช้ประโยชน์ โดยวิดีทัศน์จากการปฏิบัติงานของโครงการเมื่องปีที่แล้ว ในเรื่องของการเลี้ยงใส้เดือนดิน ในรูปกระบวนการของการได้มาซึ่งปุ๋ย และ เปรียบเทียบให้เห็นโดย นำวัสดุเหลือใช้ภาคประมง เช่น เปลือกหอย สามารถนำมาผสมกับทางปาล์ม และเศษอาหารมาทำเป็นอาหารสัตว์ได้ สอนให้ได้รู้ถึงขั้นตอน วิธีการ การเลือกวัสดุ มาผสมกันโดยคำนึงถึง คุณค่ะของอาหารที่มีประโยชน์ ในวัสดุแต่ละชนิดเป็นที่ตั้ง

     

    50 50

    8. อบรมสาธิตวิธีเชิงปฏิการ รุ่นที่ 3

    วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เกิ่นนำในเรื่องของกระบวนการการนำวัสดุเหลือใช้ มาใช้ประโยชน์ โดยวิดีทัศน์จากการปฏิบัติงานของโครงการเมื่องปีที่แล้ว ในเรื่องของการเลี้ยงใส้เดือนดิน ในรูปกระบวนการของการได้มาซึ่งปุ๋ย และ เปรียบเทียบให้เห็นโดย นำวัสดุเหลือใช้ภาคประมง เช่น เปลือกหอย สามารสนำมาผสมกับทางปาล์ม และเศษอาหารมาทำเป็นอาหารสัตว์ได้ สอนให้ได้รู้ถึงขั้นตอน วิธีการ การเลือกวัสดุ มาผสมกันโดยคำนึงถึง คุณค่ะของอาหารที่มีประโยชน์ ในวัสดุแต่ละชนิดเป็นที่ตั้ง โดยใช้หลักวิชาการ และนักวิชาการ จากศูนย์วิจัยพันธ์สัตว์มาเป็นวิทยากร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำวัสดุเหลือใช้ มาใช้ประโยชน์ โดยวิดีทัศน์จากการปฏิบัติงานของโครงการเมื่อปีที่แล้ว ในเรื่องของการเลี้ยงใส้เดือนดิน ในรูปกระบวนการของการได้มาซึ่งปุ๋ย และ เปรียบเทียบให้เห็นโดย นำวัสดุเหลือใช้ภาคประมง เช่น เปลือกหอย สามารสนำมาผสมกับทางปาล์ม และเศษอาหารมาทำเป็นอาหารสัตว์ได้ สอนให้ได้รู้ถึงขั้นตอน วิธีการ การเลือกวัสดุ มาผสมกันโดยคำนึงถึง คุณค่ะของอาหารที่มีประโยชน์ ในวัสดุแต่ละชนิดเป็นที่ตั้ง

     

    53 53

    9. รวมกลุ่มกันจัดตั้งสภาผู้นำชุมชนและผลิตอาหารสัตว์ ครั้งที่ 1

    วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • วิธีการจัดตั้งสภาผู้นำโดยคัดเลือกจากผู้นำที่เป็นทางการ คือ ผู้ใหญ่บ้าน อบต.รพสต. เกษตรตำบล และหน่วยงานราชการในพื้นที่ทั้งหมด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผูู้นำตามธรรมชาติ  คือ ปราชญ์ชาวบ้าน กลุ่มเยาวชน    ผูู้นำกลุ่มอาชีพ  กลุ่มแม่บ้าน  ผู้นำมัสยิด  โดยการคัดเลือกผู้นำแต่ละส่วนในชุมชนเข้ามาร่วมเป็น คณะกรรมการสภาผู้นำชุมชน ประกอบด้วย ประธาน รองประธานคนที่ 1 รองประธานคนที่ 2 เลขา  รองเลขา  เหรัญญิก  ประชาสัมพันธ์    มีคณะกรรมทั้งหมด 16 คน ประธาน1คน รองประธาน2 คน  เลขาและรองเลขารวม2 คน  เหรัญญิก 1คน ประชาสัมพันธ์ 1 คน และ 9 คน ที่เหลือคือกรรมการ และที่ปรึกษา 2 คน โดยใช้วิธีการเสนอชื่อโหวด และรับรองผู้ที่ถูกเสนอชื่อ ให้นั้งในตำแหน่งต่าง ๆ มีนาย ประเสริฐ ชาตวิทยบุตร ได้รับเลือกเป็นประธาน
    • มีสภาผู้นำชุมชน ประธานชี้แจงหน้าที่ตามตำแหน่งแต่ละตำแหน่ง วางกฏ ระเบียบ กติกา หรือที่เรียกว่ารัฐธรรมนูญชุมชนโนใช้หลักนิติศาสตร์อิสลามเป็นแม่แบบตามอัตลักณ์ชุมชน เพื่อการขับเคลื่อนชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ มีความเป็นธรรม ในการใช้ธรรมชาติร่วม การแบ่งปันผลประโยชน์ที่เกิดจาก สินทรัพทางธรรมชาติของชุมชน โดยเน้นคน คุณภาพชีวิตคนเป็นสำคัญ
    • กิจกรรมปฏิบัติการผลิตอาหารสัตว์ คือ ทำอาหารแพะและโคขุน โดยใช้วัตถุดิบ
    1. ทางใบปาล์มน้ำมันบด
    2. กากเม็ดในปาล์มน้ำมัน
    3. เปลือกหอยบดละเอียด
    4. รำละเอียด
    5. ปลาป่น
    6. น้ำมันพืช
    7. กากน้ำตาล
    8. จุลินทรีย์หมักจากน้ำใส่เดือน
    9. น้ำมะพร้าว
    • ผสมเข้ากัน หมักด้วยระบบสุญญากาศ 15 วัน สามารถให้สัตว์กินได้ คุณค่าทางอาหารสอดคลองกับวัตถุดิบแต่ละชนิดที่ใช้และเหมาะแก่การเจริญเติบโตของสัตว์  ใช้วิทยากรจากศูนย์วิจัยพันธ์สัตว์ ปศุสัตว์อำเภอ และศูนย์ทดสอบคุณภาพอาหารสัตว์ร่วมเป็นวิทยากร และนำตัวอย่างอาห่รไปตรวจสอบเพื่อหาค่า คุณค่าขออาหารน และความปลอดภัยต่อสัตว์และผู้บริโภคเนื้อสัตว์ เพื่อความชัดเจนอีกครั้งและนำอาหารที่ฝึกปฏิบัติ ฝึกในเชิงปฏิการแจกให้เกษตรกรได้ลองใช้และรายงานผลทั้งกระบวนการ - ความชอบของสัตว์ ปริมาณการกิน ผลข้างเคียง อาหารปลา เน้นอาหารปลากินพืชและปลาดุก

    วัตถุดิบที่ใช้

    1. ทางปาล์มน้ำมันบดละเอียด
    2. ปลาป่น
    3. รำละเอียด
    4. กากเม็ดในปาล์ม
    5. แป้งข้าวเจ้า
    • ผสมเข้ากันและนำมาอัดเม็ดผึ่งแดดแจกจ่ายให้กับกลุ่มเป้าหมายนำไปทดลองใช้ ใช้วิทยากรจาก ศูนย์ประมงชายฝั่งจังหวัดกระบี่ ประมงอำเภออ่าวลึก หน่วยตอบสอบวัตถุดิบกรรมประมง

     

    53 53

    10. รวมกลุ่มกันจัดตั้งสภาผู้นำชุมชนและผลิตอาหารสัตว์ ครั้งที่ 1

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • รวมกลุ่มกันจัดตั้งสภาผู้นำชุมชนและผลิตใช้สำนักงานชีวินทร์เพื่อสุขภาวะชุมชนตั้งอยู่ ณ.ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี ประจำตำบลอ่าวลึกน้อยซึ่งมีเครื่องมือและอุปกรณ์พร้อมอยู่แล้ว เป็นที่ปฎิบัติกิจกรรม เพื่อผลิตอาหารสัตว์นำไปใช้ประโยชน์กับปศุสัตว์และประมง ไปใช้ในครัวเรือน เริ่มต้นการผลิตคนละ 30 กิโลกรัม ต้นทุนกิโลละ 12 บาท จากราตลาด กิโลกรัมละ 30 บาท  โดยการผลิตจากน้อยไปหามากและขยายไปยังกลุ่มอื่นๆ และชุมชนอื่นและดำเนินกิจกรรมไปได้ต่อเนื่องด้วยตนเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมปฏิบัติการผลิตอาหารสัตว์ คือ ทำอาหารแพะและโคขุน โดยใช้วัตถุดิบ 1.ทางใบปาล์มน้ำมันบด 2.กากเม็ดในปาล์มน้ำมัน 3.เปลือกหอยบดละเอียด 4.รำละเอียด 5.ปลาป่น 6.น้ำมันพืช 7.กากน้ำตาล 8.จุลินทรีย์หมักจากน้ำใส่เดือน 9.น้ำมะพร้าว ผสมเข้ากัน หมักด้วยระบบสุญญากาศ 15 วัน สามารถให้สัตว์กินได้ คุณค่าทางอาหารสอดคลองกับวัตถุดิบแต่ละชนิดที่ใช้และเหมาะแก่การเจริญเติบโตของสัตว์  ใช้วิทยากรจากศูนย์วิจัยพันธ์สัตว์ ปศุสัตว์อำเภอ และศูนย์ทดสอบคุณภาพอาหารสัตว์ร่วมเป็นวิทยากร และนำตัวอย่างอาห่รไปตรวจสอบเพื่อหาค่า คุณค่าขออาหารน และความปลอดภัยต่อสัตว์และผู้บริโภคเนื้อสัตว์ เพื่อความชัดเจนอีกครั้งและนำอาหารที่ฝึกปฏิบัติ ฝึกในเชิงปฏิการแจกให้เกษตรกรได้ลองใช้และรายงานผลทั้งกระบวนการ - ความชอบของสัตว์ ปริมาณการกิน ผลข้างเคียง อาหารปลา เน้นอาหารปลากินพืชและปลาดุกวัตถุดิบที่ใช้ 1.ทางปาล์มน้ำมันบดละเอียด 2.ปลาป่น 3.รำละเอียด 4.กากเม็ดในปาล์ม 5.แป้งข้าวเจ้า  ผสมเข้ากันและนำมาอัดเม็ดผึ่งแดดแจกจ่ายให้กับกลุ่มเป้าหมายนำไปทดลองใช้ ใช้วิทยากรจาก ศูนย์ประมงชายฝั่งจังหวัดกระบี่ ประมงอำเภออ่าวลึก หน่วยตอบสอบวัตถุดิบกรรมประมง

     

    55 53

    11. รวมกลุ่มกันจัดตั้งสภาผู้นำชุมชนและผลิตอาหารสัตว์ ครั้งที่ 2

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เชิญวิทยากรมาให้ความรูเ้ และฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • กิจกรรมปฏิบัติการผลิตอาหารสัตว์ คือ ทำอาหารแพะและโคขุน โดยใช้วัตถุดิบ
    1. ทางใบปาล์มน้ำมันบด
    2. กากเม็ดในปาล์มน้ำมัน
    3. เปลือกหอยบดละเอียด
    4. รำละเอียด
    5. ปลาป่น
    6. น้ำมันพืช
    7. กากน้ำตาล
    8. จุลินทรีย์หมักจากน้ำใส่เดือน
    9. น้ำมะพร้าว
    • ผสมเข้ากัน หมักด้วยระบบสุญญากาศ 15 วัน สามารถให้สัตว์กินได้ คุณค่าทางอาหารสอดคลองกับวัตถุดิบแต่ละชนิดที่ใช้และเหมาะแก่การเจริญเติบโตของสัตว์  ใช้วิทยากรจากศูนย์วิจัยพันธ์สัตว์ ปศุสัตว์อำเภอ และศูนย์ทดสอบคุณภาพอาหารสัตว์ร่วมเป็นวิทยากร และนำตัวอย่างอาหารไปตรวจสอบเพื่อหาค่า คุณค่าของอาหาร และความปลอดภัยต่อสัตว์และผู้บริโภคเนื้อสัตว์ เพื่อความชัดเจนอีกครั้ง และนำอาหารที่ฝึกปฏิบัติ
    • ฝึกในเชิงปฏิการแจกให้เกษตรกรได้ลองใช้และรายงานผลทั้งกระบวนการ ความชอบของสัตว์ ปริมาณการกิน ผลข้างเคียง อาหารปลา เน้นอาหารปลากินพืชและปลาดุก วัตถุดิบที่ใช้
    1. ทางปาล์มน้ำมันบดละเอียด
    2. ปลาป่น
    3. รำละเอียด
    4. กากเม็ดในปาล์ม
    5. แป้งข้าวเจ้า
    • ผสมเข้ากันและนำมาอัดเม็ดผึ่งแดดแจกจ่ายให้กับกลุ่มเป้าหมายนำไปทดลองใช้ ใช้วิทยากรจาก ศูนย์ประมงชายฝั่งจังหวัดกระบี่ ประมงอำเภออ่าวลึก หน่วยตอบสอบวัตถุดิบกรรมประมง

     

    53 50

    12. รวมกลุ่มกันจัดตั้งสภาผู้นำชุมชนและผลิตอาหารสัตว์ ครั้งที่ 2

    วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • รวมกลุ่มกันจัดตั้งสภาผู้นำชุมชนและผลิตใช้สำนักงานชีวินทร์เพื่อสุขภาวะชุมชนตั้งอยู่ ณ.ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี ประจำตำบลอ่าวลึกน้อยซึ่งมีเครื่องมือและอุปกรณ์พร้อมอยู่แล้ว เป็นที่ปฎิบัติกิจกรรม เพื่อผลิตอาหารสัตว์นำไปใช้ประโยชน์กับปศุสัตว์และประมง ไปใช้ในครัวเรือน เริ่มต้นการผลิตคนละ 30 กิโลกรัม ต้นทุนกิโลละ12บาท จากราตลาด กิโลกรัมละ30 บาท  โดยการผลิตจากน้อยไปหามากและขยายไปยังกลุ่มอื่นๆ และชุมชนอื่นและดำเนินกิจกรรมไปได้ต่อเนื่องด้วยตนเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • กิจกรรมปฏิบัติการผลิตอาหารสัตว์ คือ ทำอาหารแพะและโคขุน โดยใช้วัตถุดิบ
    1. ทางใบปาล์มน้ำมันบด
    2. กากเม็ดในปาล์มน้ำมัน
    3. เปลือกหอยบดละเอียด
    4. รำละเอียด
    5. ปลาป่น
    6. น้ำมันพืช
    7. กากน้ำตาล
    8. จุลินทรีย์หมักจากน้ำใส่เดือน
    9. น้ำมะพร้าว
    • ผสมเข้ากัน หมักด้วยระบบสุญญากาศ 15 วัน สามารถให้สัตว์กินได้ คุณค่าทางอาหารสอดคลองกับวัตถุดิบแต่ละชนิดที่ใช้และเหมาะแก่การเจริญเติบโตของสัตว์
    • ใช้วิทยากรจากศูนย์วิจัยพันธ์สัตว์ ปศุสัตว์อำเภอ และศูนย์ทดสอบคุณภาพอาหารสัตว์ร่วมเป็นวิทยากร และนำตัวอย่างอาห่รไปตรวจสอบเพื่อหาค่า คุณค่าขออาหารน และความปลอดภัยต่อสัตว์และผู้บริโภคเนื้อสัตว์ เพื่อความชัดเจนอีกครั้งและนำอาหารที่ฝึกปฏิบัติ
    • ฝึกในเชิงปฏิการแจกให้เกษตรกรได้ลองใช้และรายงานผลทั้งกระบวนการ ความชอบของสัตว์ ปริมาณการกิน ผลข้างเคียง อาหารปลา เน้นอาหารปลากินพืชและปลาดุก วัตถุดิบที่ใช้
    1. ทางปาล์มน้ำมันบดละเอียด
    2. ปลาป่น
    3. รำละเอียด
    4. กากเม็ดในปาล์ม
    5. แป้งข้าวเจ้า
    • ผสมเข้ากันและนำมาอัดเม็ดผึ่งแดดแจกจ่ายให้กับกลุ่มเป้าหมายนำไปทดลองใช้ ใช้วิทยากรจาก ศูนย์ประมงชายฝั่งจังหวัดกระบี่ ประมงอำเภออ่าวลึก หน่วยตอบสอบวัตถุดิบกรรมประมง

     

    50 53

    13. ทำความเข้าใจการเตรียมเอกสารกิจกรรมโครงการงวด 1 เพื่อรายงาน สจรส.

    วันที่ 15 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานโครงการ รายงานการเงิน ปิดงวด 1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำรายงานโครงการ รายงานการเงิน ปิดงวด 1

     

    2 2

    14. ค่าไวนิล สถานที่ปลอดบุหรี่

    วันที่ 4 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายติดตั้งป้ายปลอดบุหรี่ ในพื้นที่ชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำป้ายติดตั้งป้ายปลอดบุหรี่ ในพื้นที่ชุมชน ในพื้นที่ดังกล่าวได้สร้างความตระหนักไม่สูบบุหรี่ ชุมชนมีการปฏิบัติตามในพื้นที่ปลอดบุหรี่

     

    100 100

    15. อบรมให้ความรู้ เรื่องการเลี้ยงสัตว์ แพะ,ไก่พื้นเมือง การเลี้ยงปลากินพืช,กินเนื้อ การแปรรูปสัตว์น้ำ รุ่นที่ 1

    วันที่ 13 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมให้ความรู้เรื่อง - การเลี้ยงสัตว์ แพะ ไก่พื้นเมือง - การเลี้ยงปลากินพืช กินเนื้อ - การแปรรูปสัตว์น้ำ

    • แนะนำ ศึกษาขั้นตอนอย่างเป็นระบบเปิดโอกาศซักถามปัญหาและอธิบายนำวัสดุฎิบัติอย่างมีขั้นตอนซึ้งเป็นระบบที่เกื้แกูลกัน ระหว่างกิจกรรม กิจกรรมในครัวเรือน ชุมชนอย่างง่าย โดยกลุ่มเป้าหมายนำวัสดุเหลือใช้ในชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ได้เชิญวิทยากรจากศูนย์วิจัยพันธ์สัตว์ และอดีตผู้อำนวยการวิทยาลัยเกษตรเทคโนโลยีกระบี่มาให้ความรู้เรื่องกระบวนการการเลี้ยงสัตว์ และการสุขขาภิบาลที่มีผลต่อสุขภาพทั้งคนและสัตว์ จากการที่ได้ดำเนินการฝึกอบรม สลายวิถีคิดของผู้เข้าอบรมว่าสัตว์คือสิ่งมีชีวิตที่มีความต้องการสุขภาพที่ดีและผู้เลี้ยงจะต้องปฎิบัติอย่างไรเพื่อให้เกิดสุขภาวะทั้งระบบกับผู้เลี้ยงไม่ได้มองที่ราคาของตัวเงินที่จะได้รับ เพียงอย่างเดียว

    • ประการแรก ให้ความรู้เรื่องวิธีการเลี้ยง แพะ เลี้ยงโค และไก่พื้นเมืองโดยลักษณะให้คำถาม ให้ตอบว่าที่ผ่านมาเลี้ยงอย่างไรเกือบ 70% ตอบเลี้ยงให้กินอิ่มเพื่อขายแบบสืบทอดกันมา โดยไม่คำนึงถึงต้นทุน กำไรเมื่อประกอบกับระยะเวลา และไม่ได้คำนึงถึงอาหารที่ให้สัตว์กิน จะเกิดประโยชน์กับสัตว์และโทษกับผู้เลี้ยงอย่างไร

    • หลักการสุขาภิบาลที่ดีไม่ได่อยู่ในจิตสำนึก ว่าจะเกิดประโยชน์หรือเกิดโทษกับสังคมอย่างไร และการใช้ประโยชน์จากมูลสัตว์ เพื่อมาใช้ประโยชน์ให้ได้ดีเท่าที่ควรนอกเสียจากกลุ่มคนที่เข้าร่วมโครงการในปีที่แล้วคอกโคแลคอกแพะต้องมีอากาศถ่ายเทอย่างเหมาะสมและห่างจากที่อยู่อาศัยประมาณ 50 เมตร

    • วิทยากรได้บรรยายในเรื่องโรคติดต่อ ที่มีการแพร่จากสัตว์มาสู่คนรวมทั้งพาหะนำโรค เช่น เหลือบยุง ลิ้น เห็บ ให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้เข้าใจ ในเรื่องการเก็บมูลสัตว์ที่เหมาะสมก่อนนำไปใช้ประโยชน์ในการปลูกพืชอื่นๆและ พูดถึงมูลค่าของมูลสัตว์ โดยเฉพาะ โค 1 ตัวสามารถให้มูลได้ 3 ตันต่อปี (น้ำหนักสด) มูลไก่ มีธาติอาหารจำพวกในโตรเจนสูงมาก แต่ข้อเสีย ถ้านำไปใช้สด จะเกิดการหมัก และเกิดแก๊ซแอมโมเนียม แบบรุนแรง มีกลิ่นเหม็นและทำลายระบบของรากพืชได้เกิดความเสียหาย

    • ได้อบรมเรื่องการทำคลอดโค การฟักใข่ การอนุบาลสัตว์ไวอ่อนไก่พื้นเมืองเมื่ออายุได้ 1-3 สัปดาห์ ให้ฉีดวัคซีนนิวคาส เซ้น ด้วยการแทงปีก อาทิตย์ถัดไปให้ ฝีดาษให้ไก่กินยาเพราะไก่พื้นเมืองจะขาดหญ้าไม่ได้ เป็นเทคนิคผู้เข้าอบรมมีความสนใจสูงมีความกระตือรือร้นเพราะมองเห็นช่องทางในการปฎิบัติที่ง่าย ต้นทุนถูกขยายพันธ์ุเร็ว สร้างความสนใจให้คนรุ่นใหม่ที่มีพื้นที่อยู่น้อยนิด มาสร้างอาชีพเสริม ใช้เทคโนโลยีในการสร้างและพัฒนางาน ไม่มีใจหมกมุ่นที่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดมีความคิดที่จะพัฒนาสายพันธ์ไก่ชนให้เป็นกีฬา เพื่องสร้างมูลค่าเพิ่ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 63 คน มีความสนใจตั้งใจเรียนรู้ มีการแลกเปลี่ยนคำถามที่มีข้อสงสัย และผู้เข้าร่วมจะนำไปปฏิัติใช้ในครัวเรือนต่อไป

    • เกิดแรงกระตุ้นในการสร้างอาชีพ คิดเทคโนโลยีใหม่จากภูมิปัญญา ในการพัฒนาสายพันธ์ไก่ แพะ โค ประยุกต์การเลี้ยงให้ทันกับความต้องการใช้จ่ายซึ่งมีผลทางด้านเศรษฐการ เช่น โค ผู้เข้าอบรมจะคิดถึงการเลี้ยงโคขุน เพราะเป็นการเลี้ยงระยะสั้น ใช้เวลาเพียง 3 เดือนก็สามารถมีเงินหมุนและเพิ่มทุนได้การเลี้ยงแพะ ผู้เข้าอบรมบาง มีแนวคิดที่จะยกระดับเป็นพันธ์ุแพะพื้นเมือง เพราะสามารถเลี้ยงง่ายกว่า มีรสชาติดีกว่า ซึ้งไม่ต่างจากไก่พื้นเมือง

     

    63 63

    16. อบรมให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงสัตว์ แพะ ไก่พื้นเมือง การเลี้ยงปลากินพืช กินเนื้อ การแปรรูปสัตว์น้ำ รุ่นที่ 2

    วันที่ 14 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การอบรมจะมีลักษณะเดียวกันกับครั้งที่ 1
    อบรมให้ความรู้เรื่อง - การเลี้ยงสัตว์ แพะ ไก่พื้นเมือง - การเลี้ยงปลากินพืช กินเนื้อ -การแปรรูปสัตว์น้ำ - แนะนำ ศึกษาขั้นตอนอย่างเป็นระบบเปิดโอกาศซักถามปัญหาและอธิบายนำวัสดุฎิบัติอย่างมีขั้นตอนซึ้งเป็นระบบที่เกื้แกูลกัน ระหว่างกิจกรรม กิจกรรมในครัวเรือน ชุมชนอย่างง่าย โดยกลุ่มเป้าหมายนำวัสดุเหลือใช้ในชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ได้เชิญวิทยากรจากศูนย์วิจัยพันธ์สัตว์มาให้ความรู้เรื่องกระบวนการการเลี้ยงสัตว์ และการสุขขาภิบาลที่มีผลต่อสุขภาพทั้งคนและสัตว์ จากการที่ได้ดำเนินการฝึกอบรม สลายวิถีคิดของผู้เข้าอบรมว่าสัตว์คือสิ่งมีชีวิตที่มีความต้องการสุขภาพที่ดีและผู้เลี้ยงจะต้องปฎิบัติอย่างไรเพื่อให้เกิดสุขภาวะทั้งระบบกับผู้เลี้ยงไม่ได้มองที่ราคาของตัวเงินที่จะได้รับ เพียงอย่างเดียว
    ประการแรก ให้ความรู้เรื่องวิธีการเลี้ยง แพะ เลี้ยงโค และไก่พื้นเมืองโดยลักษณะให้คำถาม ให้ตอบว่าที่ผ่านมาเลี้ยงอย่างไรเกือบ 70% ตอบเลี้ยงให้กินอิ่มเพื่อขายแบบสืบทอดกันมา โดยไม่คำนึงถึงต้นทุน กำไรเมื่อประกอบกับระยะเวลา และไม่ได้คำนึงถึงอาหารที่ให้สัตว์กิน จะเกิดประโยชน์กับสัตว์และโทษกับผู้เลี้ยงอย่างไร หลักการสุขขาภิบาลที่ดีไม่ได่อยู่ในจิตสำนึก ว่าจะเกิดประโยชน์หรือเกิดโทษกับสังคมอย่างไร และการใช้ประโยชน์จากมูลสัตว์ เพื่อมาใช้ประโยชน์ให้ได้ดีเท่าที่ควรนอกเสียจากกลุ่มคนที่เข้าร่วมโครงการในปีที่แล้วคอกโคแลคอกแพะต้องมีอากาศถ่ายเทอย่างเหมาะสมและห่างจากที่อยู่อาศัยประมาณ 50 เมตร และวิทยากรได้บรรยายในเรื่องโรคติดต่อ ที่มีการแพร่จากสัตว์มาสู่คนรวมทั้งพาหะนำโรค เช่น เหลือบยุง ลิ้น เห็บ ให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้เข้าใจ ในเรื่อองการเก็บมูลสัตว์ที่เหมาะสมก่อนนำไปใช้ประโยชน์ในการปลูกพืชอื่นๆและ พูดถึงมูลค่าของมูลสัตว์ โดดยเฉพาะ โค 1 ตัวสามารถให้มูลได้ 3 ตันต่อปี (น้ำหนักสด)มูลไก่มีธาติอาหารจำพวกในโตรเจนสูงมาก แต่ข้อเสีย ถ้านำไปใช้สด จะเกิดการหมัก และเกิดแก๊ซแอมโมเนียม แบบรุนแรง มีกลิ่นเหม็นและทำลายระบบของรากพืชได้เกิดความเสียหาย และได้อบรมเรื่องการทำคลอดโค การฟักใข่ การอนุบาลสัตว์ไวอ่อนไก่พื้นเมืองเมื่ออายุได้ 1-3 สัปดาห์ ให้ฉีดวัคซีนนิวคาสเซ้น ด้วยการแทงปีก อาทิตย์ถัดไปให้ ฝีดาษให้ไก่กินยาเพราะไก่พื้นเมืองจะขาดหญ้าไม่ได้ เป็นเเทคนิคผู้เข้าอบรมมีความสนใจสูงมีความกระตือรือร้นเพราะมองเห็นช่องทางในการปฎิบัติที่ง่าย ต้นทุนถูกขยายพันธ์เร็ว สร้างความสนใจให้คนรุ่นใหม่ที่มีพื้นที่อยู่น้อยนิด มาสร้างอาชีพเสริม ใช้เทคโนโลยีในการสร้างและพัฒนางาน ไม่มีใจหมกมุ่นที่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดมีความคิดที่จะพัฒนาสายพันธ์ไก่ชนให้เป็นกีฬา เพื่องสร้างมูลค่าเพิ่ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 59 คน มีความรู้ ความเข้าใจ การเลี้ยงสัตว์ แพะ ไก่พื้นเมือง การเลี้ยงปลากินพืช กินเนื้อ การแปรรูปสัตว์น้ำ
    • เกิดแรงกระตุ้นในการสร้างอาชีพ คิดเทคโนโลยีใหม่จากภูมิปัญญา ในการพัฒนาสายพันธ์ไก่ แพะ โค ประยุกต์การเลี้ยงให้ทันกับความต้องการใช้จ่ายซึ่งมีผลทางด้านเศรษฐการ เช่น โค ผู้เข้าอบรมจะคิดถึงการเลี้ยงโคขุน เพราะเป็นการเลี้ยงระยะสั้น ใช้เวลาเพียง 3 เดือน ก็สามารถมีเงินหมุนและเพิ่มทุนได้
      การเลี้ยงแพะ ผู้เข้าอบรมบาง มีแนวคิดที่จะยกระดับเป็นพันธ์แพะพื้นเมือง เพราะสามารถเลี้ยงง่ายกว่า มีรสชาติดีกว่า ซึ้งไม่ต่างจากไก่พื้นเมือง

     

    65 59

    17. อบรมให้ความรู้ เรื่องการเลี้ยงสัตว์ แพะ,ไก่พื้นเมือง การเลี้ยงปลากินพืช,กินเนื้อ การแปรรูปสัตว์น้ำ รุ่นที่ 3

    วันที่ 15 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การอบรมจะมีลักษณะเดียวกันกับครั้งที่ 1
    อบรมให้ความรู้เรื่อง - การเลี้ยงปลากินพืช กินเนื้อ -การแปรรูปสัตว์น้ำ - ปศุสัตว์ ไก่พื้นเมือง โค
    - แนะนำ ศึกษาขั้นตอนอย่างเป็นระบบเปิดโอกาศซักถามปัญหาและอธิบายนำวัสดุฎิบัติอย่างมีขั้นตอนซึ้งเป็นระบบที่เกื้แกูลกัน ระหว่างกิจกรรม กิจกรรมในครัวเรือน ชุมชนอย่างง่าย โดยกลุ่มเป้าหมายนำวัสดุเหลือใช้ในชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ได้เชิญวิทยากรจากศูนย์วิจัยพันธ์สัตว์และเจ้าหน้าที่กรมประมงมาให้ความรู้เรื่องกระบวนการการเลี้ยงปลากินพืชและปลากินเนื้อกับกลุ่มผู้เพาะเลี้ยงประมงและปศุสัตว์ เน้นเรื่องการเลี้ยงปลานิลและปลาดุก ปลานิลเป็นปลาที่โตเร็ว รสชาติดี และสามารถขยายพันธ์ได้ง่ายและประกอบอาหารได้หลากหลายชนิด ต้นทุนในการเลี้ยงต่ำ และสามสารถนำเศษอหารในครัวเรือนมาเป็นอาหารปลาได้ และสอนวิธิการทำปลานิลแดดเดียว และปลาดุกเป็นปลาที่กินอาหารได้หลากหลาย แม้กระทั้งมูลสัตว์เศษอาหารในครัวเรือน และแนะนำเทคนิคการเลี้ยง การให้อาหารจากประสบการณ์ที่ผู้เข้าอบรมเคยเลี้ยง โตช้า ต้นทุนอาหารสูง สืบเนื่องมาจากปลาดุกเป็นปลาที่มีลำไส้สั้น กินอาหารเป็นเวลา ส่วนมากจะเน้นมื้อค่ำ ไม่ควรให้อาหารมากเกินไป ดูเหมือนว่าปลากินอาหารเยอะ อาจมีความต้องการอาหารสูงแต่หาใช่ไม่ สักพักก็จะคลายอาหารทิ้ง วิทยากรสอนวิธีการแปรรูปการทำปลาดุกร้า ใช้ปลาดุกอายุประมาณ 3-4 เดือน สอนเทคนิคการตัดหัวปลา การล้าง และตั้งพักปลาไว้ให้พอง ประมาณ 2-3ชั่วโมง นำเกลือ ผสมน้ำตาลและน้ำปลาหมักเก็บไว้ 1 คืน ประมาณ 10 โมงเช้าของวันรุ่งขึ้นให้นำไปผึ่งแดดเ แล้วนำมาเก็บไว้ให้มิดชิด ไว้ต่อมาก็นำไปตากอีกเป็นเวลา 3 ชั่วโมง หลังจากนั้นก็นำมาตั้งให้เย็นเพื่อบรรจุถุง สามารสเก็บไว้ได้นานและสามารถจำหน่ายได้ราคาดีหลักจากที่ฝึกอบรมเส็จได้มอบลูกพันธ์ปลาดุกคนละ 150 ตัวเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายนำไปเลี้ยง ทดสอบสูตรอาหารปลาที่ได้ฝึกอบรมไปก่อนหน้านี้ เพื่อเก็บข้อมูลตามกรอบของการประเมินและติดตามผล การสุขขาภิบาลที่มีผลต่อสุขภาพทั้งคนและสัตว์ จากการที่ได้ดำเนินการฝึกอบรม สลายวิถีคิดของผู้เข้าอบรมว่าสัตว์คือสิ่งมีชีวิตที่มีความต้องการสุขภาพที่ดีและผู้เลี้ยงจะต้องปฎิบัติอย่างไรเพื่อให้เกิดสุขภาวะทั้งระบบกับผู้เลี้ยงไม่ได้มองที่ราคาของตัวเงินที่จะได้รับ เพียงอย่างเดียว


    ประการแรก ให้ความรู้เรื่องวิธีการเลี้ยง แพะ เลี้ยงโค และไก่พื้นเมืองโดยลักษณะให้คำถาม ให้ตอบว่าที่ผ่านมาเลี้ยงอย่างไรเกือบ 70% ตอบเลี้ยงให้กินอิ่มเพื่อขายแบบสืบทอดกันมา โดยไม่คำนึงถึงต้นทุน กำไรเมื่อประกอบกับระยะเวลา และไม่ได้คำนึงถึงอาหารที่ให้สัตว์กิน จะเกิดประโยชน์กับสัตว์และโทษกับผู้เลี้ยงอย่างไร หลักการสุขขาภิบาลที่ดีไม่ได่อยู่ในจิตสำนึก ว่าจะเกิดประโยชน์หรือเกิดโทษกับสังคมอย่างไร และการใช้ประโยชน์จากมูลสัตว์ เพื่อมาใช้ประโยชน์ให้ได้ดีเท่าที่ควรนอกเสียจากกลุ่มคนที่เข้าร่วมโครงการในปีที่แล้วคอกโคแลคอกแพะต้องมีอากาศถ่ายเทอย่างเหมาะสมและห่างจากที่อยู่อาศัยประมาณ 50 เมตร และวิทยากรได้บรรยายในเรื่องโรคติดต่อ ที่มีการแพร่จากสัตว์มาสู่คนรวมทั้งพาหะนำโรค เช่น เหลือบยุง ลิ้น เห็บ ให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้เข้าใจ ในเรื่อองการเก็บมูลสัตว์ที่เหมาะสมก่อนนำไปใช้ประโยชน์ในการปลูกพืชอื่นๆและ พูดถึงมูลค่าของมูลสัตว์ โดยเฉพาะ โค 1 ตัวสามารถให้มูลได้ 3 ตันต่อปี (น้ำหนักสด)มูลไก่มีธาติอาหารจำพวกในโตรเจนสูงมาก แต่ข้อเสีย ถ้านำไปใช้สด จะเกิดการหมัก และเกิดแก๊ซแอมโมเนียม แบบรุนแรง มีกลิ่นเหม็นและทำลายระบบของรากพืชได้เกิดความเสียหาย และได้อบรมเรื่องการทำคลอดโค การฟักใข่ การอนุบาลสัตว์ไวอ่อนไก่พื้นเมืองเมื่ออายุได้ 1-3 สัปดาห์ ให้ฉีดวัคซีนนิวคาสเซ้น ด้วยการแทงปีก อาทิตย์ถัดไปให้ ฝีดาษให้ไก่กินยาเพราะไก่พื้นเมืองจะขาดหญ้าไม่ได้ เป็นเเทคนิคผู้เข้าอบรมมีความสนใจสูงมีความกระตือรือร้นเพราะมองเห็นช่องทางในการปฎิบัติที่ง่าย ต้นทุนถูกขยายพันธ์เร็ว สร้างความสนใจให้คนรุ่นใหม่ที่มีพื้นที่อยู่น้อยนิด มาสร้างอาชีพเสริม ใช้เทคโนโลยีในการสร้างและพัฒนางาน ไม่มีใจหมกมุ่นที่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดมีความคิดที่จะพัฒนาสายพันธ์ไก่ชนให้เป็นกีฬา เพื่องสร้างมูลค่าเพิ่ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้เข้าร่วม 64 คน มีความสนใจในกิจกรรม มีการเรียรู็อย่างตั้งใจทุกกระบวนการ และจะนำไปปฏิบัติในครัวเรือนต่อไป
    • ผู้เข้าร่วมอบรมสนใจการเลี้ยงและแปรรูปปลาดุก เป็นพิเศษเพราะเป็นปลาที่ทนต่อสภาพน้ำได้ดี กินอาหารได้หลากหลาย และมีบ่อดินเป็นของตัวเอง ชาวบ้านเลี้ยงสามารถและเป็นรายได้ในครอบครัวอย่างพอเพียง
    • ได้เรียนรู้การทำอาหารสัตว์ ซึ่งเป็นต้นทุนที่สำคัญในการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งชุมชนสามารถทำอาหารโดยประยุกต์ใช้วัสดุที่เหลือใช้ในชุมชนด้วย ซึ่งเป็นการใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า และลดต้นทุนการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งจะทำให้ครัวเรือนมีกำไรเพิ่มมากขึ้น นำไปสู่ความอยู่ดีมีสุขโดยมีหลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางจัดกิจกรรมที่สำคัญในครั้งนี้

     

    64 64

    18. เข้าร่วมจัดนิทรรศการ เวทีสานงานเสริมพลัง ร่วมสร้างประเทศไทยให้น่าอยู่ "ความมั่นคงทางสุขภาวะ วาระสร้างสุขของคนใต้ ปี 2558"

    วันที่ 4 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โครงการชีวินทรีเพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย เข้าร่วมจัดนิทรรศการ เวทีสานงานเสริมพลัง ร่วมสร้างประเทศไทยให้น่าอยู่ "ความมั่นคงทางสุขภาวะ วาระสร้างสุขของคนใต้ ปี 2558" ณ. หอประชุมนานาชาติ ม.อ หาดใหญ่ในวันที่ 4-6 เดือนกันยายน 2558ผลิตภัณฑ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โครงการชีวินทรีเพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย เข้าร่วมจัดนิทรรศการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากโครงการอื่นๆที่ร่วมโครงการ

     

    7 7

    19. ติดตามผลการดำเนินกิจกรรมปฏิบัติการหลังฝึกจากอบรม ครั้งที่ 1 ชีวินทรีย์เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย

    วันที่ 10 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ครั้งที่ 1
    แต่งตั้งคณะกรรมการคณะทำงานโครงการชีวินทรีย์เพื่อสุขภาวะชุมชนติดตามประเมินผล 5 คนเพื่อเก็บข้อมูลกลุ่มเป้าหมายทั้ง 5 กลุ่ม 1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกแาล์มน้ำมัน และยางพารา จำนวน 45 ครัวเรือน 2. กลุ่มเลี้ยงปศุสัตว์ แพะ ไก่พื้นเมืองเพาะเลี้ยงประมงจำนวน 40 ครัวเรือน 3. กลุ่มอาชีพรับจ้าง 4. กลุ่มผู้สูงอายุจำนวน 35 คน 5. ยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อยและเยาวชนกลุ่ม จำนวน 50 คน

    ตามเกณฑ์การประเมินดังนี้

    1. สามารถนำวัสดุเหลือใช้ภาคเกษตร ปศุสัตว์ ประมง เศษอาหารที่เหลือใช้ในครัวเรือน ในชุมชน มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
    2. การนำเทคโนโลยี ภูมิปัญญามาใช้ให้เกิดเป็นนวัตกรรมใหม่
    3. ความสะอาด และจัดระบบมีระเบียบตามหลักสุขาภิบาล ถูกต้องตามหลักสุขบัญญัติว่าด้วยอนามัยชุมชน
    4. ระบบผลิตที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค ไม่ใช้สารเคมี และสารตกค้างใดๆ จากการสังเกตและส่งตัวอย่างตรวจสอบ ในกรณีที่สงสัย
    5. สามารถแนะนำให้ผู้อื่นปฎิบัติตาม มีภูมิรู้ มีกลยุทธ์ในการชักนำ
    6. มีการจัดการทำบัญชีครัวเรือน และแสดงรายรับ รายจ่ายกิจกรรมชัดเจน
    7. ครอบครัวมีรายได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมจริง
    8. ครัวเรือนแสดงให้เห็นถึง การอยู่ร่วมกันด้วยความรัก มีความสุขตามหลักสุขภาวะ 4 มิติ
    9. ความสม่ำเสมอของผู้ที่ได้รับมอบหมายในการติดตามแนะนำ ให้ความช่วยเหลือจากสภาผู้นำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ครั้งที่ 1 ติดตามกลุ่มเป้าหมาย 63 ราย
    • จากการติดตามสามารถ ชุมชนได้นำผลผลิตมานำเสนอ และร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติของตนเอง ว่าเจอปัญหาอะไร มีข้อดีๆ อย่างไร นำมาคุยเล่าสู่กันฟังบางครั้งมีการกลุ่มแลกเปลี่ยนวัสดุเหลือใช้กัน เกิดการแบ่งปันผลผลิตทำให้เกิดความสัมพันธ์ในชุนชุมชน ทั้งนี้มีกลุ่มยุวเกษตรกรและยุวชนกลุ่มเสี่ยงมาร่วมเรียนรู้ ทำให้กลุ่มเยาวชนเกิดพื้นที่กิจกรรมทำสิ่งดีๆ ลดปัจจัยเสี่ยงด้านอื่นๆ
      และผู้สูงอายุได้ถ่ายทอดภูมิปัญญา จากรุ่นสู่รุ่นได้โดยถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่ โดยมีความสุขในครัวเรือนตามสุขภาวะ เกิดความสัมพันธ์ระหว่างผู้อายุ เยาวชน ทำให้ผู้รู้สึกภาคภูมิใจในคุณค่าความรู้ สู่ความสุขทางจิตใจ

     

    64 63

    20. ติดตามผลการดำเนินกิจกรรมปฏิบัติการหลังฝึกจากอบรม ครั้งที่ 2 ชีวินทรีย์เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย

    วันที่ 30 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามกลุ่มเป้าหมาย 190 ราย ครั้งที่ 2
    แต่งตั้งคณะกรรมการคณะทำงานโครงการชีวินทรีย์เพื่อสุขภาวะชุมชนติดตามประเมินผล 5 คนเพื่อเก็บข้อมูลกลุ่มเป้าหมายทั้ง 5 กลุ่ม 1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกแาล์มน้ำมัน และยางพารา จำนวน 45 ครัวเรือน 2.กลุ่มเลี้ยงปศุสัตว์ แพะ ไก่พื้นเมืองเพาะเลี้ยงประมงจำนวน 40 ครัวเรือน 3. กลุ่มอาชีพรับจ้าง 4. กลุ่มผู้สูงอายุจำนวน 35 คน 5. ยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อยและเยาวชนกลุ่ม จำนวน 50 คน

    ตามเกณฑ์การประเมินดังนี้

    1. สามารถนำวัสดุเหลือใช้ภาคเกษตร ปศุสัตว์ ประมง เศษอาหารที่เหลือใช้ในครัวเรือน ในชุมชน มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
    2. การนำเทคโนโลยี ภูมิปัญญามาใช้ให้เกิดเป็นนวัตกรรมใหม่
    3. ความสะอาด และจัดระบบมีระเบียบตามหลักสุขาภิบาล ถูกต้องตามหลักสุขบัญญัติว่าด้วยอนามัยชุมชน
    4. ระบบผลิตที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค ไม่ใช้สารเคมี และสารตกค้างใดๆ จากการสังเกตและส่งตัวอย่างตรวจสอบ ในกรณีที่สงสัย
    5. สามารถแนะนำให้ผู้อื่นปฎิบัติตาม มีภูมิรู้ มีกลยุทธ์ในการชักนำ
    6. มีการจัดการทำบัญชีครัวเรือน และแสดงรายรับ รายจ่ายกิจกรรมชัดเจน
    7. ครอบครัวมีรายได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมจริง
    8. ครัวเรือนแสดงให้เห็นถึง การอยู่ร่วมกันด้วยความรัก มีความสุขตามหลักสุขภาวะ 4 มิติ
    9. ความสม่ำเสมอของผู้ที่ได้รับมอบหมายในการติดตามแนะนำ ให้ความช่วยเหลือจากสภาผู้นำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ครั้งที่ 2 ติดตามกลุ่มเป้าหมาย 63 รายจากการติดตาม ชุมชนเห็นคุณค่าของการใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่าและรับผิดชอบ เกิดกระบวนงานทุกขั้นตอนเกิดขึ้น การทำงานเป็นทีมเป็นกลุ่ม อย่างแท้จริง แลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างเป็นระบบ เริ่มจากตัวเอง ราชการ ใช้พื้นที่ถือครองอย่างมีคุณค่า ถอดบทเรียน เพื่อการสืบทอดในครัวเรือน ชุมชนปฏิบัติได้โดยเฉพาะยุวเกษตรกรและยุวชนกลุ่มเสี่ยงตลอดจนผู้ด้อยโอกาศ ภูมิปัญญา ได้รับการถ่ายทอด จากรุ่นสู่รุ่นได้โดยถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่ โดยมีความสุขในครัวเรือนตามสุขภาวะ คุณค่าของผู้เข้าร่วมโครงการ เกิดขึ้นโดยตนเอง เกิดขวัญและกำลังใจ

     

    65 63

    21. ติดตามผลการดำเนินกิจกรรมปฏิบัติการหลังฝึกจากอบรม ครั้งที่ 3

    วันที่ 6 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามกลุ่มเป้าหมาย 63 ราย ครั้งที่ 3
    แต่งตั้งคณะกรรมการคณะทำงานโครงการชีวินทรีย์เพื่อสุขภาวะชุมชนติดตามประเมินผล 5 คนเพื่อเก็บข้อมูลกลุ่มเป้าหมายทั้ง 5 กลุ่ม 1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกแาล์มน้ำมัน และยางพารา จำนวน 45 ครัวเรือน 2. กลุ่มเลี้ยงปศุสัตว์ แพะ ไก่พื้นเมืองเพาะเลี้ยงประมงจำนวน 40 ครัวเรือน 3. กลุ่มอาชีพรับจ้าง 4. กลุ่มผู้สูงอายุจำนวน 35 คน 5. กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย และเยาวชนกลุ่มเสี่ยง จำนวน 50 คน

    ตามเกณฑ์การประเมินดังนี้

    1. สามารถนำวัสดุเหลือใช้ภาคเกษตร ปศุสัตว์ ประมง เศษอาหารที่เหลือใช้ในครัวเรือน ในชุมชน มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
    2. การนำเทคโนโลยี ภูมิปัญญามาใช้ให้เกิดเป็นนวัตกรรมใหม่
    3. ความสะอาด และจัดระบบมีระเบียบตามหลักสุขาภิบาล ถูกต้องตามหลักสุขบัญญัติว่าด้วยอนามัยชุมชน
    4. ระบบผลิตที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค ไม่ใช้สารเคมี และสารตกค้างใดๆ จากการสังเกตและส่งตัวอย่างตรวจสอบ ในกรณีที่สงสัย
    5. สามารถแนะนำให้ผู้อื่นปฎิบัติตาม มีภูมิรู้ มีกลยุทธ์ในการชักนำ
    6. มีการจัดการทำบัญชีครัวเรือน และแสดงรายรับ รายจ่ายกิจกรรมชัดเจน
    7. ครอบครัวมีรายได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมจริง
    8. ครัวเรือนแสดงให้เห็นถึง การอยู่ร่วมกันด้วยความรัก มีความสุขตามหลักสุขภาวะ 4 มิติ
    9. ความสม่ำเสมอของผู้ที่ได้รับมอบหมายในการติดตามแนะนำ ให้ความช่วยเหลือจากสภาผู้นำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ครั้งที่ 3 ติดตามกลุ่มเป้าหมาย 64 ราย

    จากการติดตามทั้งหมด สามารถสรุปภาพรวมได้ว่า

    • ครัวเรือนเห็นคุณค่าของการใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่าและรับผิดชอบ มีการนำวัสดุเหลือใช้มาใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า
    • กระบวนงานทุกขั้นตอนเกิดขึ้น โดยตระหนักรู้ เข้าร่วมกระบวนการเรียนรู้กับโครงการแล้วไปปฏิบัติที่ครัวเรือนต่อไป
    • การทำงานเป็นทีมเป็นกลุ่ม โดยการมี่สวนร่วมของคนในชุมชน เกิดสภาผู้นำในการขับเคลื่อนกิจกรรมชุมชน
    • แลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างเป็นระบบ เริ่มจากตัวเอง ราชการ เปิดรับแนวคิดใหม่ นำสิ่งที่ดีของการแลกเปลี่ยนมาปรับใช้ในครัวเรือน เมื่อเจอปัญหาสามารถเป็นข้อพึงระวังในการตระหนักรู้
    • ใช้พื้นที่ถือครองอย่างมีคุณค่า ซึ่งครัวเรือนเมื่อเข้าร่วมกิจกรรมมีความสนใจในโครงการ และนำมาปรับใช้ในครัวเรือน
    • ถอดบทเรียน เพื่อการสืบทอดในครัวเรือน ชุมชนปฏิบัติได้โดยเฉพาะยุวเกษตรกรและยุวชนกลุ่มเสี่ยงตลอดจนผู้ด้อยโอกาศ
    • ภูมิปัญญา ได้รับการถ่ายทอด จากรุ่นสู่รุ่นได้โดยถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่ โดยมีความสุขในครัวเรือนตามสุขภาวะ
    • คุณค่าของผู้เข้าร่วมโครงการ เกิดขึ้นโดยตนเอง เกิดขวัญและกำลังใจ

     

    64 64

    22. สรุปผลการดำเนินโครงการ

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สรุปผลการดำเนินโครงการและมอบเกียรติบัติแก่ครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย และเชิญประชาชนในชุมชนและชุมชนใกล้เคียงเข้าร่วมงานและ ตลอดจนส่วนงานราชการในพื้นที่เข้าร่วมงานกับประชนและสภาผู้นำ/องค์กรชุมชนในชุมชนให้เห็นความสำคัญการทำงานของสภาผู้นำเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนสร้างสุขในระดับชุมชน ตำบล  ต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มอบเกียรติบัติให้แกกลุ่มเป้าหมาย และรวมรับประทานอาหาร
    • ตอบโจทย์การใช้ชีวิตโดยใช้ภูมิปัญญาสร้างนวัตกรรมเป็นภูมิคุ้มกันให้ห่างไกลยาเสพติด
    • คนในชุมชนมีแนวทางในการดำเนินชีวิตที่ดี มีความตระหนักรู้ว่าสุขภาพสำคัญที่สุด ปัญญา สังคม เริ่มจากตนเองเป็นสำคัญ และครอบครัว สู่ชุมชน
    • ตอบโจทย์การใช้ชีวิตบนความเป็นจริง โดยใช้ภูมิปัญญาสร้างนวัตกรรมและภูมิคุ้มกันห่างไกลยาเสพติด
    • ชีวิตทุกชีวิตมีคุณค่าหาก นำวิชาปรัชญามาพัฒนาชีวิต
    • ทรัพยากรมีคุณค่า หากรู้ว่าเมื่อมีสิ่งหนึ่งและจะนำไปสู่อีกสิ่งหนึ่งเสมอ
    • ตระหนักรู้ว่าสุขภาพสำคัญที่สุด ด้วยจิตปัญญา สังคม โดยเริ่มจากตน เป็นสำคัญ ชุมชนสำคัญ ทุกชีวิตสำคัญ
    • มีสภาผู้นำ/องค์กรชุมชนที่เข้มแข็ง

     

    190 150

    23. จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    วันที่ 20 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเพื่อจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รายงานฉบับสมบูรณ์ เอกสารได้รับการตรวจสอบ มีความถูกต้อง

     

    2 4

    24. ค่าภาพถ่ายกิจกรรม

    วันที่ 20 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรูปภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รูปภาพสามารถนำไปเผยแพร่ให้กับชุมชน และผู้สนใจเรียนรู้กิจกรรม

     

    3 3

    25. ค่าจัดทำรายงาน

    วันที่ 20 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้รายงานฉบับสมบูรณ์จำนวน 1 เล่ม ส่งให้ สสส.

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 การใชัประโยชน์จากทรัพยากร (วัสดุเหลือใช้ภาคเกษตรในชุมชน) และเพื่อสร้างการขับเคลื่อนโครงการด้วยสภาผู้นำชุมชน
    ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. นำวัสดุเหลือใช้ภาคเกษตร มาสู่ปัจจัยการผลิตได้ 105 คน 2. สร้างกลไก ที่มีรูปแบบต่อเนื่อง ในกระบวนการผลิต ของกิจกรรมได้ 85 คน 3. ตระหนักในคุณค่าและประโยชน์ของวัสดุเหลือใช้สู่สุขภาวะและสังคมน่าอยู่ 190 คน 4. ลดการใช้สารเคมี ได้ 40% ในการผลิต เชิงคุณภาพ - เกิดนวัตกรรม เศษอาหาร - เห็นประโยชน์จากทรัพยากร วัสดุเหลีอใช้ในชุมชนมากขึ้น - คนในชุมชนมีความสุขมากขึ้นจากการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย - คนในชุมชนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม-คนในชุมชน เชื่อว่ามีอย่างหนึ่งแล้วสามารถพัฒนาไปเป็นอย่างหนึ่งได้ - คนในชุมชนตระหนักถึงพิษภัยของสารเคมีที่ปนเปื้อน ในอาหาร ที่ส่งผลต่อสุขภาพ
    1. ผู้เข้าร่วม 190 คน ได้นำวัสดุเหลือใช้ภาคเกษตร มาสู่ปัจจัยการผลิต เช่น อาหารสัตว์ ปุ๋ยหมักชีวภาพ เป็นต้น

    2. สร้างกลไก ที่มีรูปแบบต่อเนื่อง ในกระบวนการผลิต 190 คน

    3. ตระหนักในคุณค่าและประโยชน์ของวัสดุเหลือใช้สู่สุขภาวะและสังคมน่าอยู่ 190 คน

    4. ลดการใช้สารเคมี ได้ 100% ในการผลิต

    5. ชุมชนเกิดการการใช้วัสดุเหลือใช้อย่างคุ้มค่า คนในชุมชนมีแนวทางในการดำเนินชีวิตที่ดี มีความตระหนักรู้ว่าสุขภาพสำคัญที่สุด ปัญญา สังคม เริ่มจากตนเองเป็นสำคัญ และครอบครัว สู่ชุมชน ตอบโจทย์การใช้ชีวิตบนความเป็นจริง โดยใช้ภูมิปัญญาสร้างนวัตกรรมและภูมิคุ้มกันห่างไกลยาเสพติด ตระหนักรู้ว่าสุขภาพสำคัญที่สุด ด้วยจิตปัญญา สังคม โดยเริ่มจากตน เป็นสำคัญ ชุมชนสำคัญ ทุกชีวิตสำคัญ มีสภาผู้นำ/องค์กรชุมชนที่เข้มแข็ง

    2 หนุนเสริมเศรษฐกิจฐานล่าง สร้างสิ่งแวดล้อมดี มีสุขภาวะ ห่างไกลยาเสพติด
    ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. กระตุ้นการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายโดยใช้ศาสตร์แห่งพระราชา ครู คลัง ช่าง หมอ150 คน 2. มีความเข้าใจในการใช้ทรัพยากรร่วม และตระหนักในปัญหา มีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการแก้ปัญหา 85 คน เชิงคุณภาพ - ทุกอย่างใก้ลตัวมีคุณค่า - คนดี ขยัน เนรมิตทุกอย่างได้หากมีความเพียร - มีภูมิคุ้มกัน ครัวเรือนและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด - คิดเป็นทำเป็น รู้จักเปรียบเทียบเพื่อข้อมูล ที่ดี ถูกต้อง ในการพัฒนากิจกรรม - มีความเข้าใจในกันและกัน
    1. การเพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายโดยใช้ศาสตร์แห่งพระราชา ครู คลัง ช่าง หมอ 190 คน

    2. มีความเข้าใจในการใช้ทรัพยากรร่วม และตระหนักในปัญหา มีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการแก้ปัญหา 190 คน

    3 เพื่อติดตาม สนับสนุนการดำเนินงานโครงการ
    ตัวชี้วัด : - รายงานผลการดำเนินงานโครงการ - รายงานการเงิน

    เอกสารมีรายงานฉบับสมบูรณ์ เอกสารทางการเงินถูกต้อง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) การใชัประโยชน์จากทรัพยากร (วัสดุเหลือใช้ภาคเกษตรในชุมชน) และเพื่อสร้างการขับเคลื่อนโครงการด้วยสภาผู้นำชุมชน (2) หนุนเสริมเศรษฐกิจฐานล่าง สร้างสิ่งแวดล้อมดี มีสุขภาวะ ห่างไกลยาเสพติด (3) เพื่อติดตาม สนับสนุนการดำเนินงานโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ชีวินทรีย์เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย

    รหัสโครงการ 57-02584 รหัสสัญญา 58-00-0078 ระยะเวลาโครงการ 20 ตุลาคม 2557 - 20 พฤศจิกายน 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    แหล่งเรียนรู้การผลิตอาหารสัตว์

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

    เกิดรัฐธรรมนูญชุมชนโนใช้หลักนิติศาสตร์อิสลามเป็นแม่แบบตามอัตลักณ์ชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    เกิดความภาคภูมิใจในการมี่สวนร่วมทำกิจกรรมโครงการ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    ชีวินทรีย์เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย จังหวัด กระบี่

    รหัสโครงการ 57-02584

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเหม บุตรหลำ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด