directions_run

ศูนย์เรียนรู้วิถีอิสลามยั่งยืนบ้านน้ำเค็ม (ชุมชนเรียนรู้ ชุมชนเข้มแข็ง)

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ศูนย์เรียนรู้วิถีอิสลามยั่งยืนบ้านน้ำเค็ม (ชุมชนเรียนรู้ ชุมชนเข้มแข็ง)
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-02595
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 ตุลาคม 2557 - 15 พฤศจิกายน 2558
งบประมาณ 208,470.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย อิบนีคอลดูน ยีหวังกอง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นาย อานัติ หวังกุหลำ
พื้นที่ดำเนินการ บ้านน้ำเค็ม ต.บ้านนา อ.จะนะ จ.สงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.9057643567488,100.74656009674place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ต.ค. 2557 15 มี.ค. 2558 15 ต.ค. 2557 16 มี.ค. 2558 83,388.00
2 16 มี.ค. 2558 15 ก.ย. 2558 17 มี.ค. 2558 19 พ.ย. 2558 104,235.00
3 16 ก.ย. 2558 15 พ.ย. 2558 20,847.00
รวมงบประมาณ 208,470.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาผู้นำองค์กรและกลุ่มต่างๆในชุมชนในรูปแบบสภาชูรอบ้านน้ำเค็ม(สภาผู้นำในชุมชน)ในการส่งเสริมและขับเคลื่อนสร้างกระบวนการเรียนรู้ในการจัดทำแผนชุมชนแบบมีส่วนร่วมที่มีคุณภาพ

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. คณะกรรมการชุมชนและชาวบ้านมีความรู้/ความเข้าใจ กระบวนการจัดทำแผนชุมชน
  2. เกิดสภาชูรอบ้านน้ำเค็ม(สภาผู้นำในชุมชน)ในการขับเคลื่อนงาน จำนวน 15 คน
  3. มีข้อมูลครัวเรือนจำนวน 70 ครัวเรือนต้นแบบที่เข้าร่วมโครงการ
  4. มีแผนชุมชนบ้านน้ำเค็ม 1 ฉบับ

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. สภาชูรอบ้านน้ำเค็มสามารถขับเคลื่อนแผนพัฒนาชุมชนอย่างมีส่วนร่วมและต่อเนื่อง
  2. ได้แผนพัฒนาชุมชนที่เกิดจากการมีส่วนร่วมและฐานข้อมูลจากครัวเรือน
2 เพื่อขับเคลื่อนแผนชุมชน โดยมีเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทางวิถีอิสลามให้เกิดรูปธรรม

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  • ครัวเรือนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง 70 ครัวเรือนเข้าร่วมโดยสมัครใจ รู้และเข้าใจแผนชุมชน

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

1.ครัวเรือนต้นแบบเรียนรู้แนวคิดและการดำเนินแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงนำมาใช้แก้ปัญหาในชุมชน

2.ดำเนินกิจกรรมเป็นครัวเรือนต้นแบบ โดยใช้กิจกรรมตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางวิถีอิสลามโดยผลักดัน 9 กิจกรรม

  • ปลูกผัก มากกว่า 15 ชนิด เพื่อลดรายจ่ายได้อาหารที่ปลอดภัย
  • ทำแผนการเงิน ทำบัญชีครัวเรือน เพื่อรู้จักตนเอง
  • ปลูกผักไว้กินเองโดยส่งเสริมการปลูกผักพื้นบ้านปลอดสารพิษตามลักษณะท้องถิ่นและมีอาหารปลอดภัยบริโภค
  • การทำเกษตรอินทรีย์ เกษตรวิถีฮาลาล ในการปลูกข้าวเลี้ยงสัตว์เน้นความสะอาดปลอดสารพิษปลอดโรคกินเอง กรณี 1 ไร่ได้แสน
  • ทำปุ๋ยใช้เองจากวัสดุในชุมชนและจากการคัดแยกขยะในครัวเรือนแยกขยะอินทรีย์ เพื่อลดรายจ่ายลดต้นทุนครัวเรือน
  • สวัสดิการออมทรัพย์สัจจะวันละบาท เพื่อสร้างวินัยสร้างสวัสดิการให้สมาชิกในครัวเรือนสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตขึ้นอีก
  • รวมกลุ่มทำเครื่องแกง เพื่อแก้ปัญหาสินค้าราคาสูง แปรรูปผลผลิตที่ปลูกเพื่อลดรายจ่ายครัวเรือน
  • ดำเนินกิจกรรมผู้ประกอบการทางการตลาด วางแผนผลิตสินค้าเกษตรทำสินค้าทดแทน เพื่อลดรายจ่ายครัวเรือนจากผลผลิตที่มีในชุมชน
  • ตลาดสินค้าเพื่อสุขภาพ จากสมาชิกเพื่อเป็นสื่อรณรงค์ขยายผลให้ชุมชนตระหนัก

หมายเหตุ (สภาชูรอ คือ สภาผู้นำในชุมชน )       กิจกรรมทั้งหมดต้องมาจากแผนชุมชนสู่การเป็นครัวเรือนต้นแบบตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นรูปธรรม

3.ครัวเรือนต้นแบบที่ดูแลและจัดการตนเองด้านเศรษกิจด้านสุขภาพโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทางวิถีอิสลาม

3 เพื่อพัฒนากลไกในการขับเคลื่อนแผนชุมชนอย่างยังยืนโดย สภาชูรอบ้านน้ำเค็ม (หมายเหตุคือสภาผู้นำในชุมชน)

เชิงปริมาณ

  • มีโครงสร้างบทบาทหน้าที่ของ กมสภาชูรอ 15 คนที่สอดคล้องกับแนวทางพัฒนา 6 ด้าน
  • มีกิจกรรมรณรงค์/การสื่อสารกิจกรรม ผ่านหอกระจายข่าวหรือเสียงตามสายทุกกิจกรรม
  • มีตลาดสินค้าฮาลาล สินค้าเกษตรอินทรีย์ ปลอดภัยในชุมชน จัดทำองค์ความรู้ชุมชนบ้านน้ำเค็มน่าอยู่ 1 ชุดนำเสนอสู่นโยบายท้องถิ่น

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. กำหนดกติกาชุมชนให้มีการประชุมหมู่บ้านประจำเดือนละ 1 ครั้ง
  2. ร่วมกำหนดบทบาทหน้าที่ของกรรมการสภาชูรอแนวทางพัฒนา 6 ด้าน
  • ด้านอำนวยการ
  • ด้านแผนพัฒนาหมู่บ้าน
  • ด้านศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม
  • ด้านสังคมสิ่งแวดล้อมและสาธารณสุข
  • ด้านการปกครองและความสงบเรียบร้อย
  • ด้านส่งเสริมเศรษฐกิจ


    3.กรรมการสภาชูรอ และเกิดคณะทำงานจิตอาสาในกลุ่มเด็ก เยาวชน และประชาชนในชุมชน ขับเคลื่อนในแต่ละด้านใช้ข้อมูลสื่อสารผ่านหอกระจายข่าวอย่างต่อเนื่อง โดยการสร้างนักประชาสัมพันธ์ชุมชนจากกรรมการและเด็กวันละ 5 นาที/อาทิตย์

4.ใช้รูปธรรมโครงการ พัฒนาผู้ประกอบการตลาดชุมชน จัดนิทรรศการสื่อสาร,นำเสนอผลิตภัณฑ์สุขภาพจากกลุ่ม ในตลาดบ้านน้ำเค็ม และตลาดชุมชน ตลาดผักพื้นบ้านปลอดสารพิษ งานในชุมชน อย่างต่อเนี่อง

5.ชุมชนบ้านน้ำเค็มมีชุดความรู้ให้คนอื่นได้ศึกษาและสื่อสาร

4 การบริหารจัดการโครงการ

สามารถบริหารจัดการโครงการได้ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ตามระบบ pdca โดยมีการทำ ARR อยู่เป็นระยะเพื่อพัฒนาการบริหารโครงการอย่างต่อเนื่อง

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2557 18:36 น.