directions_run

เยาวชนบางกล้วยนอกนักจัดการทรัพยากรธรรมชาติบนฐานทรัพยากร 3 วงล้อ

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อสร้างสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็งจากการมีส่วนร่วมของชุมชนและเยาวชนในการทำหน้าที่เป็นกลไกสำคัญในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - เกิดแกนนำเยาวชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ อย่างน้อย จำนวน 20 คน - เกิดสภาผู้นำชุมชนที่เยาวชนสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน - มีกิจกรรมเพื่อเพิ่มพูนทรัพยากรธรรมชาติให้มีความอุดมสมบูรณ์ขึ้น อย่างน้อย 5 กิจกรรม ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - เยาวชนมีจิตสำนึกที่ดีในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน - เยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนร่วมกับคนในชุมชน - ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนมีความอุดมสมบูรณ์ขึ้น - สภาผู้นำชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถขับเคลือน ติดตาม ประเมินผลโครงการได้

 

 

  • เกิดแกนนำเยาวชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ จำนวน 20 คน
  • เกิดสภาผู้นำชุมชนที่เยาวชนสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน
  • มีกิจกรรมเพื่อเพิ่มพูนทรัพยากรธรรมชาติให้มีความอุดมสมบูรณ์ขึ้น ได้แก่ กิจกรรมปลูกป่า 2 ครั้ง ปล่อยพันธ์ุสัตว์น้ำ 2 ครั้ง และเพาะกล้าไม้ 1 ครั้ง
  • เยาวชนมีจิตสำนึกที่ดีในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน
  • เยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนร่วมกับคนในชุมชน
  • ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนมีความอุดมสมบูรณ์ขึ้น
  • สภาผู้นำชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถขับเคลือน ติดตาม ประเมินผลโครงการได้
2 เพื่อศึกษาการฟื้นฟูและการอนุรักษ์ทรัพยากร 3 วงล้อของชุมชนบางกล้วยนอก
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - เกิดชุดความรู้ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 3 วงล้อ - เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการทรัพยากรระหว่างเยาวชนและแกนนำในการทำงาน ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - เยาวชนและชุมชนมีความรู้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มขึ้น - เยาวชนสามารถบริหารจัดการการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนแบบพึ่งตนเอง - ความสัมพันธ์ฺที่ดีระหว่างเยาวชนและคนในชุมชน

 

 

  • เกิดชุดความรู้โดยการทำหนังสือ และแผ่นพับ เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการทรัพยากร เพื่อประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนได้ทราบ
  • มีการประชุม จัดเวที และถอดบทเรียนร่วมกัน เป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการทรัพยากรระหว่างเยาวชนและแกนนำในการทำงาน
  • เยาวชนและชุมชนมีความรู้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มขึ้น
  • เยาวชนสามารถบริหารจัดการการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนแบบพึ่งตนเอง
  • เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเยาวชนและคนในชุมชน
3 เพื่อติดตามและสนับสนุนโครงการ
ตัวชี้วัด : - รายงานผลการดำเนินงานโครงการ - รายงานการเงิน

 

 

  • ประเมินจากการดำเนินกิจกรรม
  • ประเมินจากการใช้จ่ายตามแผนงานโครงการ