แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมพัฒนาการเกษตรอินทรีย์ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด : - ครัวเรือนอย่างน้อยร้อยละ 50 เกิดการเรียนรู้การทำการเกษตรปลอดสารพิษ - แหล่งน้ำในชุมชนได้รับการดูแล เฝ้าระวัง ในกิจกรรมอย่างน้อย 1 กิจกรรม - ผัก/ผลิตผลทางการเกษตรได้รับการตรวจรับรองจากชุมชน ร้อยละ 100 - ครัวเรือนอย่างน้อย ร้อยละ 50 มีการจัดทำบัญชีต้นทุนอาชีพ

 

 

  • ครัวเรือน เกิดการเรียนรู้การทำเกษตรปลอดสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 70 ของจำนวนครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย (จำนวน 85 ครัวเรือน จาก 120 ครัวเรือน)
  • มีการจัดกิจกรรมพัฒนาแหล่งน้ำธรรมชาติและทำพิธีสืบทอดชะตาสายน้ำ
  • ผัก/ผลิตผลทางการเกษตรได้รับการตรวจรับรองจากชุมชน ร้อยละ 100
  • มีการจัดทำบัญชีต้นทุนอาชีพจากการจัดกิจกรรมครัวเรือนร้อยละ70 (จำนวน 85 ครัวเรือน)
2 เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีทั้ง กาย จิต สังคม และปัญญา
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 70 ของประชากรวัยทำงาน 25-55 ปีพบสารเคมีตกค้างในระดับปกติ - ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันเพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 2 ของผู้ป่วย(รายใหม่) - ผู้สูงอายุและคนสามวัย ร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมกลองยาว

 

 

  • ประชากรวัยทำงาน 25-55 ปีพบสารเคมีตกค้างในระดับปกติ ร้อยละ10 (จำนวน 10 คน)และระดับปลอดภัยร้อยละ70 (จำนวน 70 คน) รวม 80 คน
  • ไม่มีผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันรายใหม่เพิ่ม
  • ผู้สูงอายุและคนสามวัย ร้อยละ 90 เข้าร่วมกิจกรรมกลองยาว
3 เพื่อการบริหารจัดการโครงการและติดตามผลการดำเนินโครงการ
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส หรือ สจรส มอ

 

 

  • เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส และ สจรส.ม.อ.ทุกครั้ง
4 เพื่อดำเนินงานสภาผู้นำที่ต่อเนื่องและเข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : มีเครือข่ายและจำนวนสมาชิกสภาผู้นำเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 ของจำนวนสภาผู้นำเดิม

 

 

  • มีเครือข่ายและจำนวนสมาชิกสภาผู้นำเพิ่มขึ้นร้อยละ 100 (จำนวน 8คน) ของจำนวนสภาผู้นำเดิม