directions_run

ตามรอยวิถีชีวิตมุสลิม นำมาสู่ความพอเพียง ชุมชนบ้านสนี ปี 3 : ชุมชนท้องถิ่่นจัดการตนเอง

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ตามรอยวิถีชีวิตมุสลิม นำมาสู่ความพอเพียง ชุมชนบ้านสนี ปี 3 : ชุมชนท้องถิ่่นจัดการตนเอง
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-02626
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 ตุลาคม 2557 - 15 พฤศจิกายน 2558
งบประมาณ 213,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางพอตีเม๊าะ ล่อเต๊ะ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวอารีย์ สุวรรณชาตรี
พื้นที่ดำเนินการ บ้านสนี หมู่ที่ 2 ตำบล ทุ่งพอ อำเภอสะบ้าย้อย
ละติจูด-ลองจิจูด 7.0492139334612,100.37889428437place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ต.ค. 2557 15 มี.ค. 2558 15 ต.ค. 2557 23 มี.ค. 2558 85,200.00
2 16 มี.ค. 2558 15 ก.ย. 2558 24 มี.ค. 2558 21 ม.ค. 2559 106,500.00
3 16 ก.ย. 2558 15 พ.ย. 2558 21,300.00
รวมงบประมาณ 213,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้มีสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง เป็นกลไกขับเคลื่อนติดตามและประเมินผลโครงการ อย่างมีส่วนร่วม

1.1 เกิดสภาผู้นำชุมชน จำนวน 30 คน ที่มาจากกลุ่มองค์กร และกลุ่มต่างๆในชุมชน

1.2 สภาผู้นำชุมชน มีการติดตามและประเมินผลโครงการและมีการประชุมทุกเดือน จำนวน 10 ครั้ง

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - สภาผู้นำชุมชนมีความเข้มแข็ง เป็นองค์กรที่ขับเคลื่อนการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม

2 เพื่อลดปัญหายาเสพติดในชุมชน

2.1.มีเครื่อข่ายอาสาในการเฝ้าระวังยาเสพติดอย่างน้อย 1 เครือข่าย

2.2.มีชุดข้อมูลเรื่องยาเสพติด และจุดเสี่ยงภัย จัดเป็นนิทรรศการเผยแพร่ความรู้ในพื้นที่ของชุมชน จำนวน 4 จุด

2.3.มีหลักสูตรเกี่ยวกับยาเสพติด บรรจุไว้ในการจัดการเรียน การสอนของชุมชน จำนวน 1 หลักสูตร

2.4.เด็กและเยาวชนที่ติดสารเสพติดในชุมชนร้อยละ 80 ได้รับการบำบัดและดูแล

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - -เกิดคณะทำงานจิตอาสาในกลุ่มเด็ก เยาวชน และประชาชนในชุมชน ในการเฝ้าระวังภัย และร่วมแก้ปัญหายาเสพติดโดยชุมชน

-มีนิทรรศการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดในพื้นที่ศูนย์กลางของชุมชน ในพื้นที่ มัสยิด , ศูนย์การศึกษาจริยธรรม ตาดีกานัฮฎอตุ้ลอัฏฟาล (สนีล่าง),ตาดีกาดารุลนาอีม(สนีบน) และ โรงเรียนบ้านฉลุง

3 เพื่อสร้างทักษะให้เยาวชนในทางสร้างสรรค์ เยาวชนสามารถเบี่ยงเบนพฤติกรรมเสี่ยงทางด้านลบ เป็นพฤติกรรมด้านบวก สามารถดำเนินชีวิตตามศีลธรรม จริยธรรม วิถีมุสลิม และนำเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการดำรงชีวิต

3.1.เด็กและเยาวชน ร้อยละ 80 ได้เรียนรู้วิถีชุมชน วัฒนธรรมภูมิปัญญา ,ทรัพยากรและสภาพแวดล้อมของชุมชน สามารถนำมาปรับใช้ในการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อยาเสพติด

3.2.ร้อยละ 40 ของเยาวชนกลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนแนวคิดด้วยการนำเอาหลักศาสนาอิสลาม และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางดำเนินชีวิต

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - -เกิดจิตอาสาในกลุ่มเด็ก เยาวชน และประชาชนในชุมชน ในการเฝ้าระวังภัย และร่วมแก้ปัญหายาเสพติดโดยชุมชน

-เกิดศิลปินน้อยพื้นบ้านด้านวัมนธรรมด้านดนตรีบทเพลงอนาซีส และลิเกฮูลู เป็นแกนนำส่งต่อรุ่นน้อง

4 การสนับสนุนติดตามโครงการโดยทีม สสส.,สจรส.มอ.

4.1. การเข้าร่วมประชุมติดตามการดำเนินงานจากทีม สสส.,สจรส.มอ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
4.2. การจัดทำรายงานโครงการ (ส.1 ,ส.2 ,ง.1 ,ง.2 ,ส.3)

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2557 18:36 น.