directions_run

ร่วมมือร่วมใจสร้างระบบอาหารปลอดภัยบ้านหนองเพ็ง

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ร่วมมือร่วมใจสร้างระบบอาหารปลอดภัยบ้านหนองเพ็ง
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03996
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559
งบประมาณ 158,295.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย สรชัย หมวดมณี
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0872906707,0872906707
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายถาวร คงศรี
พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองเพ็ง หมู่ที่4 ตำบลท่าแค อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.5040888426389,100.107421875place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2558 15 ก.พ. 2559 15 ก.ย. 2558 21 ก.พ. 2559 63,320.00
2 16 ก.พ. 2559 15 ส.ค. 2559 22 ก.พ. 2559 15 ต.ค. 2559 79,155.00
3 16 ส.ค. 2559 15 ต.ค. 2558 15,820.00
รวมงบประมาณ 158,295.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 มีสภาผู้นำชุมชนเข้มแข็ง

1 มีสภาผู้นำชุมชนอย่างน้อย 23 คน

2 มีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ1 ครั้ง

3 แต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ80

4 การประชุมแต่ละครั้งมีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการร่วมมือร่วมใจสร้างระบบอาหารปลอดภัยและเรื่องอื่นๆของชุมชนด้วย

2 เพื่อให้คนในชุมชนเรียนรู้กระบวนการผลิตอาหารปลอดภัยในชุมชนบ้านหนองเพ็ง

1.มีครัวเรือนเรียนรู้ผลิตอาหารปลอดภัยเป็นต้นแบบของชุมชนอย่างน้อย 70 คน/ครัวเรือน

2.ครัวเรือนต้นแบบมีความรู้การผลิตอาหารปลอดภัยจากการอบรม 2 หลักสูตรของ สสส. คือ หลักสูตรการผลิตเกษตรอินทรีย์ และหลักสูตรมาตรฐานอาหารปลอดภัย

3.ชุมชนมีการเรียนรู้ทบทวนแผนชุมชนบ้านหนองเพ็ง เพื่อกำหนดแผนการผลิตอาหารปลอดภัยของชุมชนอย่างน้อย 1 ครั้ง

3 1.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมเรียนรู้การจัดการข้อมูลระบบอาหารปลอดภัยของชุมชน

1.1มีชุดข้อมูลการสำรวจชุมชนอาหารปลอดภัยบ้านหนองเพ็ง จำนวน 1 ชุด

1.2 ผู้แทนครัวเรือนอย่างน้อยร้อยละ 80 รับรู้ข้อมูลจากการสำรวจเรื่องอาหารปลอดภัย

1.3 ครัวเรือนต้นแบบ70 ครัวเรือนได้รับการอบรมเรื่องการผลิตเกษตรอินทรีย์และมาตรฐานอาหารปลอดภัย

1.4 มีมาตรฐานอาหารปลอดภัย 3กลุ่มย่อย ได้แก่ กลุ่มผลิตปุ๋ย กลุ่มปลูกผัก และกลุ่มเลี้ยงสัตว์อินทรีย์

1.5 ชุดความรู้ที่ได้จากการถอดบทเรียนชุมชนบ้านหนองเพ็ง1 ชุดไว้เผยแพร่

4 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
5 2.เพื่อหนุนเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดระบบจัดการการผลิต อาหารปลอดภัยให้เพียงพอกับบ้านหนองเพ็ง

2.1. มีสถานที่จำหน่ายอาหารที่ได้รับการรับรองความปลอดภัยจากมาตรฐานของชุมชนอย่างน้อย 1 ครั้งต่ออาทิตย์

2.2 พัฒนาโรงเรียนบ้านท่าแคเป็นศูนย์เรียนรู์เพื่อผลิตอาหารปลอดภัยเป็นอาหารกลางวันเด็กในโรงเรียน

2.3.มีสื่อมโนราห์เด็กและเยาวชนเพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องอาหารปลอดภัยเป็นสื่อเฝ้าระวังขยายผล งานด้านสุขภาพของชุมชน อย่างน้อย 1 ชุด

2.4. มีการสุ่มตรวจความสะอาด สารปนเปื้อนในร้านค้า ในตลาด อย่างต่อเนื่องทุก 4 เดือน 3 ครั้ง

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 พ.ค. 2558 14:38 น.