แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญ/ตระหนักในผลกระทบจากขยะ และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : 1.ครัวเรือนในชุมชน ร้อยละ 70 มีการคัดแยกขยะได้ถูกต้อง 2. ขยะในชุมชนลดลงร้อยละ 60 3. มีกฎกติการ่วมกันในการจัดการขยะโดยชุมชน 4. มีครัวเรือนนำร่องการจัดการขยะ จำนวน 70 ครัวเรือน 5. มีธนาคารขยะ

 

 

  • เกิดครัวเรือนต้นแบบในการคัดแยกขยะจำนวน 70 ครัวเรือนในหมู่บ้าน
  • มีมาตรการในการลดขยะของหมู่บ้าน 1.ขอความร่วมมือให้ลูกค้าในหมู่บ้านนำตะกร้าหรือกระเป๋าเวลาไปซื้อของที่ร้านค้าในหมู่บ้าน 2.ทุกหลังคาเรือนต้องมีการคัดแยกขยะ 3.ไม่ทิ้งขยะหรือสร้างความสกปรกบริเวณถนน คู หรือสถานที่สาธารณะในหมู่บ้าน 4.ไม่กองหรือเผาขยะบริเวณหน้าบ้าน
2 มีสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง จำนวน 45 คน
ตัวชี้วัด : 1.มีการประชุมต่อเนื่องทุกเดือน 2.คณะกรรมการสภาผู้นำชุมชนเข้าร่วมประชุมแต่ละครั้งไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.มีการติดตามงาน เก็บข้อมูล แก้ไขปัญหา ประเมินผล และคุยปัญหาอย่างหลากหลาย

 

 

มีการประชุมขับเคลื่อนสภาผู้นำชุมชนทุกเดือน มีสมาชิกจำนวน 45 คน ประชุมหารือ เรื่อง

  • กำหนดแผนการเฝ้าระวังในชุมชนในการจัดการขยะของชุมชน
  • จัดทำแผนเพื่อขยายผลเพื่อขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบล
  • นำเสนอแผนงานเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากท้องถิ่น
  • มีกระบวนการติดตามประเมินผลโครงการโดยชุมชน มีการประเมินผลระหว่างโครงการ มีการประเมินผลหลังการทำโครงการ
3
ตัวชี้วัด :

 

 

 

4
ตัวชี้วัด :

 

 

 

5 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

 

 

  • เข้าร่วมประชุมกับพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.ทุกครั้งร้อยละ 100
  • มีป้ายปลอดบุหรี่ในชุมชนจำนวน 1 ป้าย
  • มีรายงานฉบับสมบูรณ์ 1 เล่มพร้อมรูปภาพ และสามารภส่งรายงานให้ สสส.ได้ทันในเวลา