directions_run

ชุมชนน่าอยู่ฟื้นฟูทรัพยากร สิ่งแวดล้อมดี ที่บ้านพังสาย หมู่ 7 ต.กะดังงา อ.สทิงพระ จ.สงขลา

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ชุมชนน่าอยู่ฟื้นฟูทรัพยากร สิ่งแวดล้อมดี ที่บ้านพังสาย หมู่ 7 ต.กะดังงา อ.สทิงพระ จ.สงขลา
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03836
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016
งบประมาณ 195,125.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย หม๊าด มรรคโช
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 087-3945281
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ wangmanee
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนบ้านพังสาย หมู่ที่ 7 ตำบลกระดังงา อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.1461073774837,100.4341558367place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2015 15 ก.พ. 2016 15 ก.ย. 2015 21 ก.พ. 2016 78,050.00
2 16 ก.พ. 2016 15 ส.ค. 2016 22 ก.พ. 2016 15 ต.ค. 2016 97,570.00
3 16 ส.ค. 2016 15 ต.ค. 2016 19,505.00
รวมงบประมาณ 195,125.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนประมงพื้นบ้านในการอนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำ และสิ่งแวดล้อมในชุมชน
  1. เกิดการประชาสัมพันธ์โครงการคณะทำงานและคนในชุมชนได้เรียนรู้และตระหนักในการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการ ไม่น้อยกว่า 100 คน
  2. เกิดเวทีกระบวนการจัดเก็บข้อมูลทรัพยากรและข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องในการดำเนินโครงการ
  3. เกิดการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นแผนการดำเนินงานโครงการที่ชัดเจน
  4. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำ และการสร้างกลุ่มเด็กและเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมไม่น้อยกว่า 40 คน
2 เพื่อสร้างความสมบูรณ์ของทรัพยากรสัตว์น้ำ และ ระบบนิเวศที่ดีของชุมชน
  1. มีแผนการจัดการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยกรสัตว์น้ำร่วมกันของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  2. มีกฏกติกาการจัดการเขตอนุรักษ์ และกิจกรรมฟื้นฟูสัตว์น้ำ เช่น
    • ปฏิบัติการทำกิจกรรมอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรการวางซั้งกอ จำนวน 25 กอ
    • การเพาะเลี้ยงพันธุ์สัตว์น้ำ
    • การทำธนาคารปูม้า
3 เพื่อสร้างพัฒนากลไกชุมชนบริหารจัดการทรัพยากรร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หน่วยงานเครือข่ายเกี่ยวข้องอย่างมีส่วนร่วม
  1. ข้อมูลองค์ความรู้ชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณชนทั่วไป
  2. เกิดเครือข่ายกลุ่มเยาวชนไม่น้อยกว่า50คนที่เกิดความรู้ความเข้าใจและเข้ามาร่วมอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรอย่างต่อเนื่อง
  3. มีคณะทำงานในชุมชนจำนวน 15 คน มีการประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงานทุกๆเดือน ในการสรุปทบทวนข้อมูล ปัญหาอุสรรค การติดตามประเมินผล
  4. เกิดกลุ่มอาสาสมัคร และกลุ่มวิทยุเฝ้าระวัง การปกป้องทรัพยากร จำนวน 30 คน
4 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 พ.ค. 2015 15:46 น.