directions_run

ชุมชนน่าอยู่ฟื้นฟูทรัพยากร สิ่งแวดล้อมดี ที่บ้านพังสาย หมู่ 7 ต.กะดังงา อ.สทิงพระ จ.สงขลา

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนประมงพื้นบ้านในการอนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำ และสิ่งแวดล้อมในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. เกิดการประชาสัมพันธ์โครงการคณะทำงานและคนในชุมชนได้เรียนรู้และตระหนักในการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการ ไม่น้อยกว่า 100 คน 2. เกิดเวทีกระบวนการจัดเก็บข้อมูลทรัพยากรและข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องในการดำเนินโครงการ 3. เกิดการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นแผนการดำเนินงานโครงการที่ชัดเจน 4. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำ และการสร้างกลุ่มเด็กและเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมไม่น้อยกว่า 40 คน
  • เกิดการประชาสัมพันธ์โครงการคณะทำงานและคนในชุมชนได้เรียนรู้และตระหนักในการเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการ 120 คน
  • มีกระบวนการจัดเก็บข้อมูลทรัพยากร วิเคราะห์ข้อมูล เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำ และการสร้างกลุ่มเด็กและเยาวชน จำนวน 150 คน
2 เพื่อสร้างความสมบูรณ์ของทรัพยากรสัตว์น้ำ และ ระบบนิเวศที่ดีของชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. มีแผนการจัดการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยกรสัตว์น้ำร่วมกันของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. มีกฏกติกาการจัดการเขตอนุรักษ์ และกิจกรรมฟื้นฟูสัตว์น้ำ เช่น - ปฏิบัติการทำกิจกรรมอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรการวางซั้งกอ จำนวน 25 กอ - การเพาะเลี้ยงพันธุ์สัตว์น้ำ - การทำธนาคารปูม้า
  • มีแผนการจัดการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยกรสัตว์น้ำร่วมกันของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีกฏกติกาการจัดการเขตอนุรักษ์ และกิจกรรมฟื้นฟูสัตว์น้ำ
3 เพื่อสร้างพัฒนากลไกชุมชนบริหารจัดการทรัพยากรร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หน่วยงานเครือข่ายเกี่ยวข้องอย่างมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : 1. ข้อมูลองค์ความรู้ชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณชนทั่วไป 2. เกิดเครือข่ายกลุ่มเยาวชนไม่น้อยกว่า50คนที่เกิดความรู้ความเข้าใจและเข้ามาร่วมอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรอย่างต่อเนื่อง 3. มีคณะทำงานในชุมชนจำนวน 15 คน มีการประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงานทุกๆเดือน ในการสรุปทบทวนข้อมูล ปัญหาอุสรรค การติดตามประเมินผล 4. เกิดกลุ่มอาสาสมัคร และกลุ่มวิทยุเฝ้าระวัง การปกป้องทรัพยากร จำนวน 30 คน
  • ข้อมูลองค์ความรู้ชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณชนทั่วไป
  • เกิดเครือข่ายกลุ่มเยาวชนไม่น้อยกว่า50คนที่เกิดความรู้ความเข้าใจและเข้ามาร่วมอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรอย่างต่อเนื่อง
  • มีคณะทำงานในชุมชนจำนวน 15 คน มีการประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงานทุกๆเดือน ในการสรุปทบทวนข้อมูล ปัญหาอุสรรค การติดตามประเมินผล
  • เกิดกลุ่มอาสาสมัคร และกลุ่มวิทยุเฝ้าระวัง การปกป้องทรัพยากร จำนวน 30 คน
4 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนประมงพื้นบ้านในการอนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำ และสิ่งแวดล้อมในชุมชน (2) เพื่อสร้างความสมบูรณ์ของทรัพยากรสัตว์น้ำ และ ระบบนิเวศที่ดีของชุมชน (3) เพื่อสร้างพัฒนากลไกชุมชนบริหารจัดการทรัพยากรร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หน่วยงานเครือข่ายเกี่ยวข้องอย่างมีส่วนร่วม (4) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh