stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ สร้างหลาด(ตลาด)ในห้วยที่บ้านห้วยไม้ไผ่
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-04005
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559
งบประมาณ 185,530.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาง สุมณฑา ทองนาคขาว
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 086-2995751,091-8472308
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ Churee
พื้นที่ดำเนินการ บ้านห้วยไม้ไผ่ หมู่ 12 ต.เกาะเต่า อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.821266404109,99.867230057747place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2558 15 ก.พ. 2559 15 ก.ย. 2558 21 ก.พ. 2559 74,210.00
2 16 ก.พ. 2559 15 ส.ค. 2559 22 ก.พ. 2559 15 ต.ค. 2559 92,770.00
3 16 ส.ค. 2559 15 ต.ค. 2559 18,550.00
รวมงบประมาณ 185,530.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาสภาผู้นำชุมชนในการบริหารจัดการชุมชน
  1. มีสภาผู้นำชุมชนในการบริหารจัดการชุมชน จำนวน 30 คน ประกอบด้วย ผู้นำชุมชน แกนนำกลุ่มบ้าน กรรมการหมู่บ้าน ประธานชมรม อสม. แกนนำกลุ่มสตรี แกนนำกลุ่มผู้สูงอายุ แกนนำกลุ่มอาชีพ แกนนำกลุ่มเครื่องแกง กลุ่มสวัสดิการ เป็นต้น
  2. สภาหมู่บ้านมีการประชุมทุกเดือน
  3. ในการประชุมแต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบ
  4. ในการประชุมแต่ละครั้ง มีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน
2 เพื่อให้คนในชุมชนผลิตอาหารปลอดภัยกินเอง
  1. มีครัวเรือนต้นแบบในการผลิตอาหารปลอดภัยกินเอง จำนวน 80 ครัวเรือน
3 เพื่อให้คนในชุมชนได้เรียนรู้ด้านการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัยและนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการกิน

1.1 ตัวแทนจำนวนครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรมรับรู้การดำเนินโครงการร้อยละ 80 ของครัวเรือนทั้งหมด 250 ครัวเรือน

1.2 ประชาชนร้อยละ 80 รับรู้ข้อมูลด้านสถานการณ์แล้วเกิดความตระหนักในด้านความปลอดภัยของการบริโภคอาหาร 1.3 มีการกำหนดกฎ กติกา มาตรการของชุมชน หรือข้อตกลงเพื่อถือปฏิบัติร่วมกันของหมู่บ้าน จำนวน 1ชุด

4 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
5 เพื่อปรับสภาพพื้นที่ของครัวเรือนในชุมชนให้เป็นครัวเรือนต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ

1.1 มีครัวเรือนต้นแบบในการผลิตอาหารอาหารปลอดภัยอย่างน้อย 80 ครัวเรือน แบ่งการผลิตเป็น 3 ฐานได้แก่ครัวเรือนผลิตพืชผักปลอดภัย 60 ครัวเรือน ครัวเรือนเลี้ยงไก่พื้นเมือง 10 ครัวเรือน และครัวเรือนเลี้ยงปลา 10 ครัวเรือน

1.2 มีศูนย์เรียนรู้ธนาคารพันธุ์ผักพื้นบ้านและสมุนไพรอาหาร จำนวน 1 แปลงโดยมีผักและสมุนไพรอย่างน้อย 25 ชนิด

1.3 มีแปลงผักร่วมสวนยางพารา(สวนสมรม) จำนวน 2 แปลง

1.4 มีคณะกรรมการตรวจสอบอาหารปลอดภัย จำนวน 1 ชุด

6 เพื่อพัฒนาศักยภาพกลไกในบริหารจัดการโครงการ

1.1 มีคณะทำงานโครงการ 15 คน

1.2 มีการประชุมคณะทำงานทุกเดือน

1.3 มีการติดตามผลการดำเนินโครงการเป็นระยะอย่างน้อย 3 เดือน / ครั้ง

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 พ.ค. 2558 16:46 น.